สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด เช่น ได้เอาช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ออก โดยเปลี่ยนมาเป็นก่ออิฐถือปูนและใช้ลวดลายดินเผาเคลือบประดับหน้าแทนการใช้ไม้สลักแบบเดิม นิยมใช้เสาเป็นสี่เหลี่ยมทึบ ไม่มีบัวเสา

วัดที่มีการผสมผสานสถาปัตยกรรมตะวันตกเช่น วัดนิเวศธรรมประวัติ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นศิลปะแบบกอธิค

วัง

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทและพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท สถาปัตยกรรมในรัตนโกสินทร์ตอนต้น
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังตามแบบกรุงศรีอยุธยา 3 แห่ง คือพระบรมมหาราชวัง พระราชวังบวรสถานมงคล พระราชวังบวรสถานพิมุข โดยทั้งตำแหน่งที่ตั้งนั้นยึดหลักยุทธศาสตร์เป็นสำคัญ ตามตำราพิชัยสงคราม คือ “มีแม่น้ำโอบล้อมภูเขาหรือหากหาภูเขาไม่ได้ มีแม่น้ำเพียงอย่างเดียวก็ได้ เรียกว่า นาคนาม”

ที่อยู่อาศัยของพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ และขุนนางไทยผู้สูงศักดิ์ในสมัยนั้น เรียกขานตามแต่บรรดาศักดิ์ ให้เห็นถึงยศที่ชัดเจน อาทิ พระตำหนัก พระที่นั่ง พระวิมาน หรือพระมหาปราสาท โดยเฉพาะพระวิมานและพระมหาปราสาท ใช้เฉพาะเรือนที่มีเจ้าของเป็นพระมหากษัตริย์เท่านั้น ส่วนที่ประทับของพระมหากษัตริย์หรือแม้จะเป็นพระมหาอุปราช เรียกว่า พระราชวัง เว้นแต่พระราชวังประทับถาวรของพระมหากษัตริย์เท่านั้นที่เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง

วังหลายแห่งเป็นจุดเริ่มต้นของศิลปะไทยแขนงต่าง ๆ อันเนื่อง วังมักเป็นโรงงานช่างหรือโรงฝึกงานช่าง อย่างช่างสิบหมู่

ลักษณะของ ปราสาท พระราชวัง พระบรมมหาราชวัง ของพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และขุนนาง แบ่งได้เป็น 3 สมัย คือ สมัยต้น (ร.1-3) เป็นยุคสืบทอดสถาปัตยกรรมแบบกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยกลาง (ร.4-6) ซึ่งประเทศไทยได้รับอิทธิสถาปัตยกรรมตะวันตก และสมัยหลัง (ร.7-ปัจจุบัน) เป็นยุคแห่งสถาปัตยกรรมร่วมสมัย

การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด เช่น ได้เอาช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ออก โดยเปลี่ยนมาเป็นก่ออิฐถือปูนและใช้ลวดลายดินเผาเคลือบประดับหน้าแทนการใช้ไม้สลักแบบเดิม นิยมใช้เสาเป็นสี่เหลี่ยมทึบ ไม่มีบัวเสา

สารบัญ Show

  • สถาปัสถาปัตยกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
  • สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีสถาปัตยกรรมที่สำคัญอะไรบ้าง
  • ลักษณะสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นอย่างไร
  • งานสถาปัตยกรรมไทยเริ่มรูปแบบศิลปะตะวันตกตั้งแต่สมัยใด

วัดที่มีการผสมผสานสถาปัตยกรรมตะวันตกเช่น วัดนิเวศธรรมประวัติ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นศิลปะแบบกอธิค

วัง

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทและพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท สถาปัตยกรรมในรัตนโกสินทร์ตอนต้น
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังตามแบบกรุงศรีอยุธยา 3 แห่ง คือพระบรมมหาราชวัง พระราชวังบวรสถานมงคล พระราชวังบวรสถานพิมุข โดยทั้งตำแหน่งที่ตั้งนั้นยึดหลักยุทธศาสตร์เป็นสำคัญ ตามตำราพิชัยสงคราม คือ “มีแม่น้ำโอบล้อมภูเขาหรือหากหาภูเขาไม่ได้ มีแม่น้ำเพียงอย่างเดียวก็ได้ เรียกว่า นาคนาม”

ที่อยู่อาศัยของพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ และขุนนางไทยผู้สูงศักดิ์ในสมัยนั้น เรียกขานตามแต่บรรดาศักดิ์ ให้เห็นถึงยศที่ชัดเจน อาทิ พระตำหนัก พระที่นั่ง พระวิมาน หรือพระมหาปราสาท โดยเฉพาะพระวิมานและพระมหาปราสาท ใช้เฉพาะเรือนที่มีเจ้าของเป็นพระมหากษัตริย์เท่านั้น ส่วนที่ประทับของพระมหากษัตริย์หรือแม้จะเป็นพระมหาอุปราช เรียกว่า พระราชวัง เว้นแต่พระราชวังประทับถาวรของพระมหากษัตริย์เท่านั้นที่เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง

วังหลายแห่งเป็นจุดเริ่มต้นของศิลปะไทยแขนงต่าง ๆ อันเนื่อง วังมักเป็นโรงงานช่างหรือโรงฝึกงานช่าง อย่างช่างสิบหมู่

ลักษณะของ ปราสาท พระราชวัง พระบรมมหาราชวัง ของพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และขุนนาง แบ่งได้เป็น 3 สมัย คือ สมัยต้น (ร.1-3) เป็นยุคสืบทอดสถาปัตยกรรมแบบกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยกลาง (ร.4-6) ซึ่งประเทศไทยได้รับอิทธิสถาปัตยกรรมตะวันตก และสมัยหลัง (ร.7-ปัจจุบัน) เป็นยุคแห่งสถาปัตยกรรมร่วมสมัย

หลังจากย้ายราชธานีมายังเกาะรัตนโกสินทร์ ส่วนประกอบสำคัญต่างๆ ของบ้านเมืองได้รับการสร้างขึ้นใหม่ อิทธิพลจากประเทศอื่นๆ และยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงก็ส่งผลต่อการเกิดใหม่ของหลายสรรพสิ่งในสยาม โดยเฉพาะในเกาะรัตนโกสินทร์ หัวใจของกรุงเทพมหานคร 

ในเมืองเก่าอายุมากกว่า 200 ปี สิ่งก่อสร้างแรกที่เกิดขึ้นในไทยหลายแห่งยังยืนหยัดผ่านยุคสมัย บ้างทรุดโทรมไปหรืออาจเคยถูกทุบทำลาย แต่ได้รับการบูรณะซ่อมแซมหรือจำลองขึ้นใหม่ ให้ไปชมร่องรอยความหลังและความเก๋ากันได้ถึงทุกวันนี้

โรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์ 

สถาบันแพทย์แผนไทยรุ่นบุกเบิก

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

ย้อนกลับไปยุคแรกเริ่มของกรุงรัตนโกสินทร์เมื่อ พ.ศ. 2331 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยเอาไว้ ตั้งแต่ตำรายาสมุนไพร ตำราเกี่ยวกับการนวด เพื่อนำไปจารึกลงบนแผ่นศิลา และปั้นรูปฤๅษีดัดตนประดิษฐานไว้ที่วัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 การแพทย์ทางตะวันตกแพร่เข้ามามากขึ้นจึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิต เพื่อค้นคว้า รวบรวม ตรวจสอบตำราวิชาการให้ถูกต้อง และทรงจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ์เป็นโรงเรียนแพทย์แผนไทยแห่งแรก ทำให้ภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนานไม่เลือนหายไปตามกาลเวลา 

นอกจากนี้วัดโพธิ์ยังเป็นแหล่งเรียนรู้สรรพวิชาต่างๆ อีกมาก จนได้รับการยกย่องว่าเป็น ‘มหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกของไทย’ อ่านเรื่องราวของวัดโพธิ์แบบเต็มๆ ได้ที่นี่

ที่อยู่ : 2 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง

เวลาทำการ : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 18.00 น.

มัสยิดจักรพงษ์

มัสยิดแห่งแรกในเขตพระนคร

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

มัสยิดจักรพงษ์ มัสยิดแห่งแรกในเขตพระนคร สร้างขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ซึ่งทรงพระราชทานที่ดินให้กับพี่น้องมุสลิมในเขตพระนครชั้นในทางทิศเหนือ จึงมีการลงหลักปักฐานของชุมชนที่ถูกกวาดต้อนมาจากสงครามปัตตานี-สยามยุทธ พ.ศ. 2329 ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาชาวมุสลิม (แขกตานี) บริเวณนี้ได้รวมตัวกันก่อสร้างอาคารเพื่อประกอบศาสนกิจ รวมถึงเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงโครงสร้างเรื่อยมา ส่วนที่มาของชื่อมาจากการที่มัสยิดอยู่ติดกับ ถนนจักรพงษ์ ซึ่งตั้งชื่อตามสมเด็จพระเชษฐาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 จึงได้ตั้งชื่อมัสยิดนี้ว่า มัสยิดจักรพงษ์

ที่อยู่ : แขวงตลาดยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

โลหะปราสาท 

ปราสาทโลหะองค์แรก องค์เดียว องค์สุดท้าย

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

โลหะปราสาทองค์แรก องค์เดียว ในประเทศไทยที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นโลหะปราสาทแห่งที่ 3 ของโลก และเป็นองค์สุดท้ายที่หลงเหลืออยู่จากทั้งหมด 3 องค์ แห่งแรกอยู่ในประเทศอินเดีย แห่งที่ 2 อยู่ในประเทศศรีลังกา ซึ่งทั้งสองแห่งได้ถูกทำลายไปแล้ว ปราสาทนี้สร้างโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้จำลองแผนผังปราสาทรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสมาจากประเทศศรีลังกา ส่วนลักษณะสถาปัตยกรรมสร้างตามแบบศิลปกรรมไทย มีลักษณะเป็นปราสาท 3 ชั้น มียอด 37 ยอด ลดหลั่นกันอย่างสวยงาม ส่วนวิธีการขึ้นสู่ปราสาทแต่ละชั้นนั้น มีบันไดวนตั้งอยู่ตรงกลางโลหะปราสาท โดยใช้ซุงขนาดใหญ่ยึดเป็นแม่บันไดตั้งแต่พื้นล่างตลอดจนถึงชั้นบน หากนับแต่ขั้นบันไดจนรอบต้นซุงนับได้ 67 ขั้น โดยชั้นบนสุดเป็นยอดปราสาทจตุรมุขสำหรับประดิษฐานพระบรมธาตุ แถมยังมีจุดชมวิวชั้นดี มองเห็นทัศนียภาพของกรุงเทพฯ ได้อย่างกว้างไกลอีกด้วย 

ที่อยู่ : 2 ถนนมหาไชย แขวงวัดบวรนิเวศ                                                                                                           

เวลาทำการ : ทุกวัน เวลา 09.00 – 17.00 น. ติดต่อ : 0 2224 8807

ศาลาสหทัยสมาคม

พิพิธภัณฑสถานแห่งแรกในสยาม

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

รู้หรือไม่ว่า อาคารหน้าตาฝรั่งที่อยู่ทางซ้ายมือของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมหาราชวัง คือมิวเซียมแห่งแรกของไทย เดิมชื่อ ‘หอคองคอเดีย’ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นสโมสรสำหรับทหารมหาดเล็กและการประชุมงานต่างๆ เมื่อ พ.ศ. 2417

หอคองคอเดียกลายเป็นมิวเซียมจัดแสดงสิ่งของต่างๆ ที่เป็นฝีมือจากช่างชั้นดีของชาวสยาม ทั้งสิ่งของหลวง ของพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และราษฎร ให้ประชาชนได้เชยชมในวโรกาสงานเฉลิมพระชนมพรรษา 21 พรรษา เรียกว่างานเอกซฮิบิเชน ต่อมามีปัญหาด้านโครงสร้างอาคาร จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายไปยังพระราชวังบวรสถานมงคลแทน ปัจจุบันศาลาสหทัยสมาคมเป็นสถานที่รับรองพระราชอาคันตุกะที่เสด็จฯ หรือเดินทางมาเยือนประเทศไทย 

ที่อยู่ : 2 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง

เวลาทำการ : ทุกวัน เวลา 08.30 น. – 15.30 น.

ไปรษณียาคาร

ที่ทำการไปรษณีย์แห่งแรกของประเทศไทย

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

ใกล้สะพานพระปกเกล้ามีอาคารนีโอคลาสสิกที่เป็นจุดเริ่มต้นแรกของยุคส่งจดหมาย ‘ไปรษณียาคาร’ (เดิมใช้ชื่อว่า ไปรสะนียาคาร) เป็นที่ทำการไปรษณีย์แห่งแรกของประเทศไทย อดีตเคยเป็นบ้านของพระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล) อดีตเจ้าเมืองปราจีนบุรี สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2414 และตกเป็นทรัพย์สมบัติของแผ่นดินในภายหลัง 12 ปีต่อมา ที่นี่จึงได้รับการจัดตั้งกิจการไปรษณีย์ และเป็นสถานที่แห่งแรกที่คณะราษฎรบุกยึดเพื่อตัดการสื่อสารทั้งทางโทรเลขและโทรศัพท์ใน พ.ศ. 2475 

อาคารเดิมได้ถูกทุบทิ้งเพื่อเปิดทางให้สร้างสะพานพระปกเกล้า และต่อมาสร้างใหม่โดยคัดลอกรูปแบบเดิมเพื่อใช้เป็นพิพิธภัณฑ์กิจการไปรษณีย์ไทย แม้ปัจจุบันที่ทำการไปรษณีย์กลางย้ายไปที่เขตบางรักแล้ว แต่เรายังคงชื่นชมความงดงามของสถาปัตยกรรมและประวัติศาสตร์อาคารริมน้ำนี้ได้เสมอ

ที่อยู่ : ถนนสะพานพุทธ แขวงวังบูรพาภิรมย์

เวลาทำการ : ปิดทำการ สามารถดูสถาปัตยกรรมภายนอกได้

คุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา 

ศาสนสถานแห่งแรกของชาวซิกข์ในประเทศไทย 

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

ศาสนสถานอันวิจิตรนี้เกิดขึ้นเพราะชาวซิกข์รวบรวมเงินซื้อที่ดินผืนหนึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ เพื่อก่อสร้างเป็นศาสนสถานถาวร และอัญเชิญพระมหาคัมภีร์ศรีคุรุครันถ์ซาฮิบมาประดิษฐาน เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาวซิกข์ และเปิดประตูต้อนรับคนทุกศาสนา แต่ก่อนจะเดินชมในแต่ละชั้นต้องแต่งกายให้มิดชิด คลุมศีรษะด้วยผ้าที่ทางวัดจัดเตรียมให้เรียบร้อย และห้ามถ่ายรูปโดยเด็ดขาด หากมาถูกจังหวะอาจจะได้เห็นบรรยากาศของงานมงคลกลิ่นอายภารตะที่คลาคล่ำไปด้วยผู้คนในชุดกูรตะ ส่าหรี ที่ไม่ได้พบเห็นง่ายๆ

ที่อยู่ : 571 ถนนจักรเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์

เวลาทำการ : 05.00 – 19.00 น.

โรงละครแห่งชาติ

โรงมหรสพระดับชาติแห่งแรกของยุครัตนโกสินทร์

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

แต่เดิมที่นี่คือโรงแสดงของกรมศิลปากร ถือเป็นโรงละครแห่งชาติชั่วคราว ซึ่งเกิดจากแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ที่ว่า ศิลปินโขน ละคร ฟ้อนรำ และนักดนตรี จะต้องแสดงออกซึ่งศิลปะให้เข้าถึงผู้ดูและผู้ฟัง ศิลปินจึงจำเป็นต้องมีสถานที่แสดงหรือโรงมหรสพ ใน พ.ศ.2504 จึงได้รับการปรับปรุงก่อสร้างให้เป็นโรงละครถาวร และมีการบริหารงานแบบไม่หวังผลกำไร เพราะต้องการให้คนทั่วไปเข้าถึงศิลปะการแสดง การเข้าชมส่วนมากจึงไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือเสียเพียงเล็กน้อยเท่านั้น เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการซ่อมแซมทำนุบำรุงโรงละคร ปัจจุบันกลายเป็นแหล่งชมนาฏศิลป์และศิลปะการแสดงต่างๆ ที่หาชมได้ยาก

ที่อยู่ : 4 ซอยราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง

Facebook : โรงละครแห่งชาติ กรุงเทพ Nationaltheatre

ติดต่อ : 0 2221 0171

หอกลอง

หอส่งสัญญาณหอแรกของกรุงรัตนโกสินทร์

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

ก่อนจะมีหอนาฬิกา คนรัตนโกสินทร์รู้เวลาได้อย่างไร คำตอบคือหอกลองสูง 3 ชั้นที่ตั้งอยู่ตรงข้ามวัดพระเชตุพนฯ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างหอกลองขึ้นตอนสถาปนากรุง ภายในหอคอยเคยตั้งกลองไว้ 3 ใบ กลองชั้นล่างหรือกลองย่ำพระสุริย์ศรี ใช้ตีเพื่อบอกเวลาให้ราษฎรทราบเวลา กลองชั้นกลางหรือกลองอัคคีพินาศ ใช้ตีเป็นสัญญาณเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้

กองชั้นบนหรือกลองพิฆาตไพรี ใช้ตีเมื่อข้าศึกมาประชิดพระนคร ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีระบบส่งสัญญาณที่ดีกว่า หอกลองจึงถูกรื้อ และสร้างใหม่เพื่อเป็นอนุสรณ์ในโอกาสการจัดงานเฉลิมฉลองสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี ส่วนกลองเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ที่อยู่ : ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง

เวลาทำการ : ทุกวัน

หอนาฬิกาหลวงจำลอง 

ตัวแทนหอนาฬิกาแห่งแรก

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

หอนาฬิกาแห่งแรกของไทยสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นนาฬิกาหลวงบอกเวลาแก่สาธารณชนและผู้คนที่ล่องเรือผ่านแม่น้ำเจ้าพระยาให้ได้รู้โมงยามกันถ้วนหน้า ก่อนจะถูกรื้อถอนทั้งหมดในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยตัวนาฬิกาถูกนำไปเก็บรักษาไว้ที่กระทรวงกลาโหม ต่อมาในวาระสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี จึงได้มีการนำนาฬิกาเดิมมาสร้างเป็นหอนาฬิกาประวัติศาสตร์ให้ได้รำลึกหวนคืนอดีตอีกครั้ง

ที่อยู่ : ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง

เวลาทำการ : ทุกวัน 


อ่านเรื่องราวของ 200 ที่เที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์เพิ่มเติมได้ที่นี่

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

Museum Siam ท่องเที่ยว

Home /Travel/Take Me Out

9 ธันวาคม 2565

Share on

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

สุดสัปดาห์นี้ Take Me Out จูงมือทุกท่านไปร่วมงาน ‘CHIM FEST by Worldgas’ สุดยอดเทศกาลอาหารแห่งปี คัดสรรวัตถุดิบท้องถิ่นหายากจากเครือข่ายเชฟชุมชนกว่า 30 แห่งทั่วไทยมาปะทะกับสตรีทฟู้ดร้านเด็ดรางวัล The World’s Best Street Food Award by Worldgas และเชฟระดับเวิลด์คลาส พร้อมคิดค้นเมนูซิกเนเจอร์ใหม่ที่มีขายแค่เฉพาะในงานเท่านั้น อาทิ ‘ผัดไทยไฟทะลุโคตรชีส’ การโคจรมาเจอกันของร้านผัดไทยไฟทะลุ เจ้าของรางวัลระดับมิชลินบิบกูร์มองต์ กับชีสไทย Jartisann ‘หมูปิ้งลุงอ้วน-มะแขว่นซ่าหม่าล่าไทย’ จากร้านหมูปิ้งลุงอ้วนชื่อดังย่านสีลม กล่าวขานกันว่าต่อคิวยาวถึงบางซื่อ มารวมตัวกับแจ่วมะแขว่นซ่าหม่าล่าไทยจากน่าน ให้ความแปลกใหม่แต่ลงตัวทางรสชาติอย่างไม่น่าเชื่อ โดยโซนอาหารแบ่งออกเป็น 2 โซน มีทั้ง Eat Street Thai Zone และ Dining Zone เรียกได้ว่าจัดเต็มแบบสุด ๆ

Eat Street Thai Zone

01ผัดไทยไฟทะลุ

ผัดไทย Feat. ชีสยืด และสับปะรดปัตตาเวีย

หากเสน่ห์ของประเทศไทยคืออาหาร คงหนีไม่พ้นกับเมนูที่ต่างชาติชอบ คนไทยยกนิ้ว อย่างเมนูผัดไทย! แต่ผัดไทยจานนี้ไม่ใช่ผัดไทยธรรมดา เพราะเป็น ‘โคตรผัดไทยฮาวาเอี้ยนชีสไทย’ โดย เชฟแอนดี้ ยัง เชฟดาวมิชลินจากร้านอาหารไทยชื่อดังของ New York ด้วยคอนเซ็ปต์สไตล์สตรีทฟู้ด การันตีรางวัลมิชลินบิบกูร์มองต์ 5 ปีซ้อน และได้ The World’s Best Street Food Thailand 2019 อีกด้วย

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

โดยความอร่อยที่มากขึ้นกว่าเดิม ครั้งนี้เชฟแอนดี้พกชีสไทย Saltara Machima จากร้านจาร์ทิชานน์ อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ มาเป็นไฮไลต์วัตถุดิบของจาน คลุกเคล้าความหอมของกลิ่นกระทะ และความยืดหยดของชีส เกิดเป็นรสชาติใหม่ไม่เคยมีที่ไหนมาก่อน

ผสมผสานกับสับปะรด ปัตตาเวีย จากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่มีความหวานอมเปรี้ยว ทานคู่กันแล้วอร่อยจนหยุดไม่ได้ ทั้งยังต้องอุทานว่าโคตรผัดไทยฮาวาเอี้ยนชีสไทยเลย! เพราะเมนูนี้มันอย่างสุด จนฉุดไม่อยู่ อยากรู้ว่าโคตรผัดไทยขนาดไหนต้องไปลอง

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

02ร้านสว่างบะหมี่ก้ามปู

บะหมี่ปูก้ามยักษ์ Feat. ปูก้ามยักษ์จากมหาชัย

สว่างบะหมี่ก้ามปูตำนานร้านบะหมี่ชื่อดังจากย่านหัวลำโพงที่ครองใจนักชิมมามากกว่า 60 ปี ส่งเมนูสุดคลาสสิกของร้านอย่าง บะหมี่ปูก้ามยักษ์ และ บะหมี่ปูหมูแดงอบน้ำผึ้ง เข้ามาประชันในงาน

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

โดยซิกเนเจอร์ของร้านก็ยังหนีไม่พ้นความโฮมเมดที่ทางร้านพิถีพิถันทุกขั้นตอนด้วยตนเอง ตั้งแต่การทำเส้นสดบะหมี่ไข่ที่หอม หนึบ มีรสชาติกลมกล่อม หมูแดงอบน้ำผึ้งย่างถ่านที่นุ่มละมุน ติดหวานที่ปลายลิ้น เนื้อปูที่สั่งได้ดั่งใจว่าจะรับเป็นก้ามปูยักษ์ หรือเป็นเนื้อปูขนาดย่อม

ทีเด็ดครั้งนี้ทางร้านคัดสรรก้ามปูยักษ์อย่างดีจากมหาชัยมาเพื่อมัดใจสาวกบะหมี่ปูให้อยู่หมัด เต็มอิ่มทั้งเส้น ทั้งเนื้อ หากทานเป็นเมนูแห้งเคล็ดลับที่ไม่ลับจากสาวกสว่างบะหมี่ก้ามปู คืออย่าลืมขอน้ำซุปเพราะทางร้านได้การันตีคุณภาพของซุปด้วยการเคี่ยวอย่างยาวนาน จนได้รสชาติความเข้มข้นจากไขกระดูกหมู เรียกได้ว่าคุณภาพคับจาน

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

03หมูปิ้งลุงอ้วนสีลม

หมูปิ้ง Feat. มะแขว่น

ข้าวมื้อเช้า มื้อสาย หรือมื้อไหน ก็ต้องยกให้ข้าวเหนียวหมูปิ้ง เมนูสุดฮิตคู่คนไทยมาตั้งแต่เล็กจนโต ทานเล่นหรือทานจริงจังก็ได้ ชิมเฟสไม่มีพลาด พาร้านหมูปิ้งในตำนานมาไว้ในที่นี้เช่นเดียวกัน ‘หมูปิ้งลุงอ้วนสีลม’ โดย เฮียอ้วน-พงศ์ธนัส วรรณอิทธิวิชญ์ เจ้าดังปากซอยคอนแวนต์ย่านถนนสีลมที่เปิดมายาวนานกว่า 35 ปี การันตีรางวัลความอร่อยจาก The World’s Best Street Food Thailand 2019

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

สัมผัสรสชาติของหมูย่างเตาถ่าน กลิ่นหอม หมูนุ่ม มาคู่น้ำจิ้มรสเข้มข้นของลุงอ้วน และเพิ่มความพิเศษ 2 เท่าด้วยเมนู ‘หมูปิ้งมะแข่วนซ่าหม่าล่าไทย’ ที่นำมะแขว่นจากจังหวัดน่านมาดัดแปลงให้กลายเป็นน้ำจิ้มรสเด็ดแบบใหม่แบบสับ แบบที่ไม่เคยสัมผัสรสชาตินี้จากที่ไหนมาก่อน

รสชาติเฉพาะของมะแขว่นหวาน ๆ ผสมผสานความเผ็ดร้อนและมีความซ่าแบบหม่าล่าปิดท้าย จุ่มน้ำจิ้มคำ หมูคำ ข้าวเหนียวคำ อบอวลไปด้วยความอร่อยจากมื้ออาหารวัยเด็กในวันวานอย่างข้าวเหนียวหมูปิ้ง งานนี้มีเหมาหมดเตา

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

0419° องศาเหนือ by พระนคร คอฟฟี่ โรสเตอร์

ลาเต้ Feat. น้ำผึ้งป่าหินลาดใน

กองทัพเดินด้วยอาหารมามากพอแล้ว ต้องแวะร้านเครื่องดื่มสักหน่อย ‘19° องศาเหนือ’ ร้านกาแฟไทยที่ใช้ละติจูดของจังหวัดเชียงรายมาตั้งเป็นชื่อร้าน ครานี้ภูมิใจนำเสนอเมนูใหม่ล่าสุด ‘ลาเต้น้ำผึ้ง’ (Iced Honey Latte) ใช้น้ำผึ้งคัดพิเศษจากป่าหินลาดใน ส่งตรงจากจังหวัดเชียงรายให้คอกาแฟได้ลองชิมกันที่แรกที่เดียวในงานนี้

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

นอกจากน้ำผึ้งแล้ว ทางร้านยังพกทีเด็ดคือ 3 เมล็ดกาแฟอาราบิก้าจากเกษตรกรไทยที่ผ่านการคัดสรรและคั่วอย่างพิถีพิถันมาให้ได้ลิ้มลองกัน เริ่มที่ ‘เจ้าจอม’ เมล็ดพันธุ์อาราบิก้า 100% ส่งตรงจากดอยช้าง จังหวัดเชียงราย เหมาะกับเมนูเย็น อาทิ อเมริกาโน่ ‘บ้านป่า’ กาแฟเบลนด์ที่มีส่วนผสมของเมล็ดพันธุ์อาราบิก้า 70% และโรบัสต้า 30% เหมาะกับเมนูร้อนและเย็นแบบใส่นม รับประกันเรื่องความหอมกรุ่นและรสชาติละมุนลงตัว ปิดท้ายกันที่ ‘เนินเขา’ กาแฟเบลนด์อาราบิก้า 40% และโรบัสต้า 60% ที่เหมาะกับการทำ Moka Pot เป็นที่สุด

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

05ร้านข้าวเหนียวมะม่วง เช็งซิมอี๊

มะม่วงอกร่อง Feat. ข้าวเหนียวงาขี้ม่อน

หากใครมองหาของหวานดับคาวหลังแวะตามร้านรวงที่เราแนะนำไปข้างต้นแล้ว นี่อาจเป็นตัวเลือกที่ดีก่อนจบมื้ออาหารของทุกท่านในวันนี้ ‘เซ็งซิมอี๊’ ร้านน้ำแข็งไสโบราณที่ครองใจคนรักของหวานมายาวนานกว่า 60 ปี นอกจากน้ำแข็งไสที่เราคุ้นตา เซ็งซิมอี๊ขอส่งมอบอีกเมนูชื่อดังของร้านอันได้แก่ ‘ข้าวเหนียวมะม่วงงาขี้ม่อน’ ซึ่งเป็นเมนูคลาสสิกที่ถูกปากคนไทยมาหลายยุคหลายสมัย

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

ทีเด็ดของเมนูนี้คือทางร้านใช้มะม่วงอกร่องสุกที่การันตีความหวานฉ่ำชื่นใจ 1 ลูกเต็มแบบไม่หวงของ เสิร์ฟพร้อมกับข้าวเหนียวมูนหุงหนึบกำลังพอดีโรยหน้าด้วยถั่วทองคั่วและงาขี้ม่อนซึ่งเป็นงาที่อุดมด้วยคุณประโยชน์ต่อร่างกายส่งตรงจากอำเภอบ่อสวก จังหวัดน่าน ราดด้วยกะทิเพื่อให้เกิดความเค็มนิด ๆ ตัดหวานของมะม่วง ถือเป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการจัดจานและลงมือรับประทานได้

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

Dining Zone

01ร้านบ้าน 

ข้าวซอยเนื้อ Feat. น้ำพริกเผาลำไยสีชมพู

ข้าวซอยเนื้อไทยวากิวและข้าวซอยไก่รสชาติกลมกล่อมละมุนลิ้น เนื้อวากิวนุ่มละลายในปาก สะโพกไก่นุ่มละมุนจากวัตถุดิบไทยระดับพรีเมียม เสิร์ฟพร้อมเส้นข้าวซอยหนึบกำลังพอดีที่เมื่อได้ทานแล้วต้องร้องว่าลำแต้ ๆ เจ้า จากร้านบ้าน โดยเชฟชื่อดัง ต้น-ธิติฏฐ์ ทัศนาขจร เชฟมิชลินสตาร์จากร้าน Le-Du 

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

ครานี้ได้มาจับคู่กับน้ำพริกเผาลำไยสีชมพูของชมชุนบ้านสวนนมสด อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน มีรสชาติเผ็ดนำ หวานตาม จากลำไยแบบธรรมชาติ ไม่ได้เติมน้ำตาล เคล้ากลิ่นหอมพริกกะเหรี่ยง กระเทียม หอมแดง รวมถึงเครื่องสมุนไพรท้องถิ่น ผสมผสานกันแล้วช่วยเสริมรสเข้มข้น รับกับความหอมของเครื่องแกงจนซดหมดเกลี้ยง

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

02ร้านบ้านสุริยาศัย

ขนมโสมนัส Feat. มะพร้าวคั่ว

 ทานคาวแล้วไม่ทานหวานจะเป็นไปได้อย่างไร เดินมาอีกนิดจะเจอร้านบ้านสุริยาศัย ร้านอาหารไทยแท้แบบชาววัง พร้อมมอบรสชาติอาหารไทยที่สืบทอดต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น โดยดัดแปลงให้ทันสมัยขึ้นกว่าเดิม

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

เชฟใหม่-พีระโรจน์ ศิริปัญจนะ มาเสิร์ฟเมนูพิเศษจาก ‘ขนมโสมนัส’ ขนมอบที่มีลักษณะคล้ายเมอแร็งก์ของฝรั่ง แต่เพิ่มความไทยด้วยการใส่มะพร้าวคั่วหอม ๆ ลงไปเป็นวัตถุดิบชูโรง เพื่อชูรสชาติหวานกำลังดี อร่อยกลมกล่อมตามสไตล์ Home Taste ที่รังสรรค์รสชาติมาเฉพาะเหมือนทำให้คนในครอบครัวทาน

และอีกหนึ่งเมนูไม่ควรพลาดสำหรับคนชอบทานผัดพริกขิง ‘คุกกี้ผัดพริกตามเสด็จแปลง’ เพราะดัดแปลงจากผัดพริกขิงแบบเก่าให้รับประทานง่ายขึ้นในรูปแบบคุกกี้ อร่อยสมใจคนชอบทานคาวและหวานในคำเดียว แปลกใหม่แต่ลงตัวต้องยกให้เมนูนี้

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

03ร้านเมธาวลัย ศรแดง

เขียวหวานปลากราย Feat. ขนมจีนประโดก

‘ร้านเมธาวลัย ศรแดง’ ร้านอาหารไทยในตํานานอายุเกือบ 30 ปีย่านราชดำเนิน การันตีความอร่อยด้วยรางวัลมิชลินสตาร์ 1 ดาว 4 ปีซ้อน ออกงานครั้งนี้เมธาวลัยส่งแกงเขียวหวานปลากรายเมนูยอดฮิต รสชาติหวานนิดเผ็ดหน่อยของพริกแกงที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว เสริมด้วยกะทิเข้มข้นและกลิ่นกระชายมาสร้างประสบการณ์ใหม่ พร้อมกับพระเอกของจาน ‘ขนมจีนประโดก’ ส่งตรงจาก บ้านประโดก ในตัวเมืองโคราช ขนมจีนบ้านประโดกขึ้นชื่อเรื่อง เส้นเหนียว เนื้อนุ่ม ไม่มีกลิ่น เมื่อคลุกเคล้าเข้ากันให้เข้าน้ำเข้าเนื้อแล้ว เป็นส่วนผสมสุดลงตัว เข้าปากแล้วไม่รู้ลืมอรรถรสจากจานนี้

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

04ร้านชิม

แกงหน่อกระทือ ดอกขี้เหล็กคอหมูย่าง

ร้านชิม โดยสยามวิสด้อม (Chim by Siam Wisdom) ร้านอาหารไทยโบราณที่การันตีคุณภาพด้วยฝีมือของเชฟมิชลินสตาร์ 6 ปีซ้อนอย่าง หนุ่ม-ธนินธร จันทรวรรณ มีของพิเศษมาฝากสำหรับงานนี้คือเมนู ‘แกงหน่อกระทือ ดอกขี้เหล็กคอหมูย่าง’ เป็นการผสมผสานเมนูอาหารไทยโบราณจากปักษ์ใต้ที่หาทานได้เฉพาะในงานนี้เท่าน้ัน ทีเด็ดของจานนี้คือเชฟหนุ่มใช้ ‘หน่อกระทือ’ วัตถุดิบท้องถิ่นจากจังหวัดจันทบุรีส่วนหนึ่งมาเป็นส่วนผสมเครื่องแกง และอีกส่วนซอยลงในแกงดอกขี้เหล็ก ทานคู่กับคอหมูย่างรมควันด้วยมะพร้าวคั่วที่ทาน้ำกะทิในระหว่างย่างอีกครั้งเพื่อเค้นความหอม เคี้ยวนุ่มลิ้น ให้อาหารจานนี้ออกมาสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้นสมเป็นเมนูจากร้าน Fine Dining

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

กิจกรรมพิเศษที่ไม่ควรพลาดในวันที่ 9 ธันวาคมนี้ เชฟหนุ่ม จะมาสร้างสีสันด้วยการโชว์การทำอาหารแบบสด ๆ ในกิจกรรม Chim Cooking Show ด้วยเมนูจากวัตถุดิบท้องถิ่นหายากอย่างหน่อกระทือ ในเวลา 18.00 – 18.30 น.

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

05PP Pastries

พานาคอตต้า Feat. ลูกตาล

เหนื่อยไหมกับการเดินชิมอาหารทั่วงานตลอดทั้งวัน พักเหนื่อย เพิ่มความสดชื่นด้วยเมนู ‘Toddy Palm Panna Cotta’ หรือพานาคอตต้าลูกตาลถ้ำรงค์ดงตาลกันหน่อย โดย เชฟพลอย-ฐาติกานต์ ตัณฑจินนะ ผู้รังสรรค์เมนูนี้ มีดีกรีถึง Top Chef Thailand Season 2 จะเดินผ่านไปเฉย ๆ คงเหมือนพลาดอะไรไป

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

พร้อมเสิร์ฟความอร่อยจากพานาคอตต้าสีม่วงแสนสวยของดอกอัญชัน เนื้อสัมผัสเนียนแน่น เข้มข้น และนำมาดัดแปลงใหม่ให้เข้ากับลูกตาลที่ส่งตรงมาจากชุมชนถ้ำรงค์ จังหวัดเพชรบุรี ถือว่าเป็นเมนูเบา ๆ ทานได้เรื่อย ๆ ทั้งวัน เพิ่มความสดชื่นจนติดใจ ทานถ้วยเดียวไม่พอ ถ้วยสองยังไม่หายอยาก ต้องมีต่อถ้วยสาม สี่ ห้า

เชิญมาสัมผัสความละมุนนุ่มลิ้นจากพานาคอตต้าลูกตาล แวะเติมความเฟรชจากฝีมือเชฟพลอย ต้องปักหมุดมาร้านนี้เลย!

สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร
สถาปัตยกรรมที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์คืออะไร

CHIM FEST by Worldgas สุดยอดเทศกาลอาหารแห่งปี นำโดยแม่ทัพใหญ่ บริษัท ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) ร่วมกับพันธมิตร รังสรรค์เทศกาลชิมพร้อมเมนูซิกเนเจอร์ที่เสริมรสชาติด้วยวัตถุดิบหายากจากทั่วไทย มุ่งเน้นการพัฒนาเคียงข้างธุรกิจอาหารในการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืน จะจัดขึ้นในวันที่ 9 – 11 ธันวาคม 2565 เวลา 15.00 – 22.00 น. ณ ลานริเวอร์ พาร์ค ไอคอนสยาม