ข้อ ใด คือ ลักษณะ ของสัญญาณ ดิจิทัล

1.การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมาย ถึง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.การสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบใดบ้าง……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3.เกตเวย์ (Gateway) หมายถึงอะไร……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. เป็นการส่งสัญญาณด้วยใยแก้ว และส่งสัญญาณด้วยแสงมีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูล ได้ด้วยเร็วเท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก ลักษณะที่กล่าวมานี้เป็นสายส่งเเบบใด…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5.ยกตัวอย่างประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เคยได้ยินกันใช่หรือไม่ ทั้งคำว่า “ Analog” และคำว่า “Digital”  ทั้ง 2 คำนี้นับเป็นพื้นฐานสำคัญของการก่อเกิดเทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสัญญาณหรือ โทรคมนาคม  แล้วทราบกันหรือไม่ว่าทั้ง 2 คำนี้มีความแตกต่างกันอย่างไร

สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสารแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ สัญญาณอนาลอกและสัญญาณดิจิตอล

สัญญาณอนาลอก (Analog Signal) หมายถึงสัญญาณข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuouse Data) มีขนาดของสัญญาณไม่คงที่ มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณแบบค่อยเป็นค่อยไป มีลักษณะเป็นเส้นโค้งต่อเนื่องกันไป โดยการส่งสัญญาณแบบอนาล็อกจะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น

สัญญาณดิจิตอล(Digital Signal) หมายถึง สัญญาณที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง(Discrete Data) ที่มีขนาดแน่นอนซึ่งขนาดดังกล่าวอาจกระโดดไปมาระหว่างค่าสองค่า คือ สัญญาณระดับสูงสุดและสัญญาณระดับต่ำสุด ซึ่งสัญญาณดิจิตอลนี้เป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำงานและติดต่อสื่อสารกันเป็นค่าของเลขลงตัว โดยปกติมักแทนด้วย ระดับแรงดันที่แสดงสถานะเป็น "0" และ "1" หรืออาจจะมีหลายสถานะ ซึ่งจะกล่าวถึงในเรื่องระบบสื่อสารดิจิตอล มีค่าที่ตั้งไว้ (threshold) เป็นค่าบอกสถานะ ถ้าสูงเกินค่าที่ตั้งไว้สถานะเป็น "1" ถ้าต่ำกว่าค่าที่ตั้งไว้ สถานะเป็น "0" ซึ่งมีข้อดีในการท่าให้เกิดความผิดพลาดน้อยลง

ข้อ ใด คือ ลักษณะ ของสัญญาณ ดิจิทัล

กระแสไฟฟ้าแบ่งออกได้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ หลาย ๆ คนอาจจะคิดว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบสื่อสารโทรคมนาคม เมื่อกล่าวถึงสัญญาณในเชิงประยุกต์ก็ อาจจะจำแนกในหมวดหมู่นี้ได้ การไหลของไฟฟ้ากระแสตรงในวงจรอย่างสม่ำเสมอไม่สามารถส่งข่าวสารได้ แต่เมื่อไร ที่ทำการควบคุมกระแสให้เป็นพัลส์โดยการเปิดสวิตซ์ กระแสจะลดลงสู่ศูนย์และปิดสวิตซ์ กระแสก็จะมีค่าค่าหนึ่ง พัลส์ของกระแสถูกผลิตตามรหัสที่ใช้แทนแต่ละตัวอักษรหรือตัวเลย โดยการรวมของพัลส์ การทำงานของสวิตซ์สามารถส่งข้อความใด ๆ ได้ ตัวอย่างที่เห็นได้เสมอได้แก่ รหัสมอร์ส เป็นต้น ส่วนไฟฟ้ากระแสสลับในรูปของคลื่นอยู่ในจำพวกคลื่นวิทยุมีการใช้งานอย่าง กว้างขวางอันเป็นที่รู้จักกันดี

การส่งสัญญาณ Analog และสัญญาณแบบ Digital

1. สัญญาณแบบ Analog จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่องที่ทุกๆ ค่าเปลี่ยนแปลงไปของระดับสัญญาณจะมีความหมาย การส่งสัญญาณแบบ Analog จะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่ายกว่า เนื่องจาก ค่าทุกค่าถูกนำมาใช้งานนั้นเอง ซึ่งสัญญาณแบบอนาล็อกนี้จะเป็นสัญญาณที่สื่อกลาง ในการสื่อสาร ส่วนมากใช้อยู่ เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น

2.  สัญญาณแบบ Digital จะประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสูงสุดและสัญญาระดับต่ำสุด ดังนั้นจะมีประสิทธิภาพและ ความน่าเชื่อถือสูงกว่าแบบ Analog เนื่องจากมีการใช้งานเพียง 2 ค่าเพื่อน่ามาตีความหมายเป็น On/Off หรือ 1/0 เท่านั้นซึ่งสัญญาณดิจิตอลนี้ จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำงานและติดต่อสื่อสารกันในทางปฏิบัติ จะสามารถใช้เครื่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณ ทั้งสองแบบได้ เพื่อช่วยให้สามารถส่งสัญญาณดิจิตอลผ่านสัญญาณพาหะที่เป็นอนาล็อก เช่น สายโทรศัพท์หรือคลื่นวิทยุ การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก จะเรียกว่า โมดูเลชั่น (Modulation) เช่น การแปลงสัญญาณแบบ Amplitude modulation (AM) และ Frequency Modulation (FM) เป็นต้น ส่วนการแปลงสัญญาณ แบบอนาล็อกเป็นดิจิตอล จะเรียกว่า ดีโมดูเลชั่น (Demodulation) ตัวอย่างของเครื่องมือการแปลง เช่น MODEM(MOdulation DEModulation) นั้นเอง

จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้อ่านคงพอจะได้เห็นภาพคร่าวๆแล้ว ว่าความหมายของคำว่า Analog และ Digital ต่างกันอย่างไร ซึ่งนี้ถือเป็นพื้นฐานสำคัญในความรู้ทั้งเชิง ฟิสิกส์ และคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว


�Ԫ� ෤�����1 (��������Ԫ� �21102) �дѺ����Ѹ���֡�һշ�� 1
Ẻ���ͺ ����ͧ ��Դ ������ ����ػ�ó�ͧ�к����͢��¤��������� �ӹǹ 5 ���
�� �س����ѧ��� �ͧ��͹ �ç���¹�աѹ(�Ѳ�ҹѹ���ػ�����)
����� ���ѡ���¹��ԡ���͡�ӵͺ���١��ͧ����ش��§�������
��ͷ�� 1)
����������㹡��������к��Թ�����絼�ҹ���Ѿ���˹�ҷ������
   ���������ѭ�ҳ
   ����ͧ�Ѻ���Ѿ��
   ���ػ�ó��ŧ�ѭ�ҳ
    �������������ͤ���������

��ͷ�� 2)
�ѭ�ҳ�͹���͡�����ҧ��
   ���ѭ�ҳẺ��������ͧ
   ���ѡɳ����ٻ��ҿ����䫹�
   ��ͧ�ŧ������������ѭ�ҳ�ԨԷ��
   �ѭ�ҳ�ա������¹�ŧẺ���еԴ�е��

��ͷ�� 3)
�������ѡɳ��Ӥѭ�ͧ�ѭ�ҳ�ԨԷ��
   ��ͧ�ŧ���������������ٻ�Ţ�ҹ�ͧ
   ��ͧ�Ѵ�ӹǹ�ͺ�������ͧ����� 1 �Թҷ�
   �ػ�ó�ǹ�ѭ�ҳ�������ö��ͧ�ѭ�ҳú�ǹ
   �դ�������ö㹡�ü�Ե�����ѭ�ҳ�ҡ���� 100 ��ҹ�ͺ

��ͷ�� 4)
"�թ�ǹ�������������ª�� ������ͧ�ѹ�ѭ�ҳú�ǹ��" �繤س���ѵԢͧ��ǡ�ҧ�������
   ��¤��Դ�����
   ���俿���ç�٧
   �����͡����
   �������ǹ��ʧ

��ͷ�� 5)
���͹Ӣ�����Ẻ����·������ǹ��Сͺ�繷ͧᴧ �繤س���ѵԢͧ��ǡ�ҧ�������
   ��¤��Դ�����
   ���俿���ç�٧
   �����͡����
   �������ǹ��ʧ


ข้อใดคือลักษณะของสัญญาณแอนะล็อก

1 สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์(sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถีและ ความเข้มของสัญญาณที่แตกต่างกัน เมื่อนาสัญญาณ ข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปรง สัญญาณ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการได้ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อกคือ การส่ง ข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์

สัญญาณ Digital ประกอบไปด้วยสิ่งใดบ้าง

สื่อดิจิทัล (Digital Media).
องค์ประกอบของสื่อดิจิตอล.
องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้นจึงน่าจะเป็นอย่างเดียวกันกับองค์ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดียด้วย ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิดได้แก่ 1. ข้อความ (Text) 2. เสียง (Audio) 3. ภาพนิ่ง (Still Image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) 5. ภาพวีดีโอ (Video).

ประเภทของสัญญาณมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสารแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือสัญญาณอะนาลอกและสัญญาณดิจิตอล สัญญาณอะนาลอกเป็นสัญญาณ ที่มีขนาดเป็นค่าต่อเนื่องส่วนสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณ ที่มีขนาดเปลี่ยนแปลง เป็นค่าของเลขลงตัว โดยปกติมักแทนด้วย ระดับแรงดันที่แสดงสถานะเป็น "0" และ "1" หรืออาจจะมีหลายสถานะ ซึ่งจะกล่าวถึงในเรื่องระบบสื่อสารดิจิตอล มี ...

ข้อใดหมายถึงทำหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปแบบดิจิตอลให้เป็นสัญญาณเสียง

การ์ดเสียง หรือ ซาวน์การ์ด (อังกฤษ: sound card) คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลที่เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับเสียงต่าง ๆ แปลงเป็นสัญญาณเสียงในรูปแบบสัญญาณทางไฟฟ้า