เกณฑ์การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ประถม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

ขอบเขตการประเมิน

การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรู้เกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้อ่านนำไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าที่ได้ นำไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชิงสร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หนังสือเรียน บทความ สุนทรพจน์ คำแนะนำ คำเตือน แผนภูมิ ตาราง แผนที่

ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

1.  สามารถคัดสรรสื่อ ที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจและประยุกต์ใช้ความรู้จากการอ่าน

2. สามารถจับประเด็นสำคัญและประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง

3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลำดับความและ ความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน

4. สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน

5. สามารถสรุป อภิปราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าวโดยการเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เป็นต้น

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6

ขอบเขตการประเมิน

การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์ แนวคิดทฤษฎี รวมทั้งความงดงามทางภาษาที่เอื้อให้ผู้อ่านวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งหรือสนับสนุน ทำนาย คาดการณ์ ตลอดจนประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดเป็นข้อเขียน เชิงสร้างสรรค์ รายงาน บทความทางวิชาการอย่างถูกต้องตามหลักวิชา เช่น อ่านบทความวิชาการ วรรณกรรมประเภทต่าง ๆ

ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

1. สามารถอ่านเพื่อการศึกษา ค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้  ในชีวิตประจำวัน

2. สามารถจับประเด็นสำคัญลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความซับซ้อน

3. สามารถวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะในแง่มุมต่าง ๆ

4. สามารถประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย

5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและสมเหตุสมผล

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเพื่อเลื่อนชั้น/จบการศึกษา

การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียนเพื่อเลื่อนชั้น   และจบการศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และสถานศึกษากำหนด การตัดสินผลการประเมินเพื่อเลื่อนชั้นใช้ผลการประเมินปลายปี ส่วนการตัดสินการจบระดับการศึกษา ใช้ผลการประเมินปลายปีสุดท้ายของระดับการศึกษา

การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็น 4 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน

ดีเยี่ยมหมายถึง        มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ                                  

ดีหมายถึง        มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

และเขียนที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ                  

ผ่านหมายถึง        มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

และเขียนที่มีข้อบกพร่องบางประการ                                             

ไม่ผ่าน หมายถึง        ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

และเขียนหรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้อง

ได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ                                            

นำผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนส่งนายทะเบียนวัดผลเพื่อประกาศให้นักเรียนและรายงานผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบ

แนวทางการแก้ไขผู้เรียนกรณีไม่ผ่านเกณฑ์

ในกรณีที่ผู้เรียนมีผลการประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน อยู่ในระดับไม่ผ่านครูผู้สอนและคณะกรรมการประเมินควรเร่งดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในตัวชี้วัดที่มีจุดบกพร่อง สมควรได้รับการแก้ไขในระยะเวลาพอสมควรที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้และสร้างผลงานที่สะท้อนความสามารถในตัวชี้วัดที่ต้องปรับปรุงแก้ไขได้อย่างแท้จริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้อ่าน ได้คิดวิเคราะห์จากเรื่องที่อ่าน และสามารถสื่อสารสาระสำคัญจากเรื่องที่อ่านโดยการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ แล้วนำผลงานไปเทียบกับแนวการให้คะแนนและเกณฑ์ การตัดสินที่โรงเรียนกำหนดตั้งแต่ระดับ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน  

คำนำ

เอกสารคู่มือคู่มือประเมินการอาน คิดวิเคราะห์ ของโรงเรียน 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์)ได้จัดทำขึ้น


เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางในการประเมินการอาน คิดวิเคราะห์ เป็นสิ่งที่สำคัญประการหนึ่งที่นักเรียน


จะต้องผ่านการประเมินการอาน จึงจะได้รับการตัดสินให้ผ่าน เป็นการประเมินที่จะช่วยให้นักเรียนทุกคนได้รับ
การฝึกฝน ให้มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในทุกด้านๆ

ปัจจุบันนี้เรื่องของการอาน คิดวิเคราะห์ ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญมากในชีวิตประจำวัน แต่ทุกวันนี้กลับเป็น

ปัญหาที่สำคัญมาก เช่นกัน เพราะทุกวันนี้เด็กอาน คิดวิเคราะห์ ไม่เป็น และไม่สามารถแสดงความคิดเห็นใน

เรื่องต่างๆเหล่ำนั้นด้วยการเขียนที่สะท้อน สติปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ แก้ปัญหา และสร้างสรรค์จิตนการอย่างเหมาะสมและมีคุณค่ำ พร้อมด้วยประสบการณ์และทักษะ

ในการเขียนที่มีสำนวนที่ถูกต้อง มีเหตุผล และลำดับขั้นตอนในกรนำเสนอ ที่สามารถสร้างความเข้าใจให้แก่
ผู้อานได้อย่างชัดเจนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าครูผู้สอนทุกท่าน จะได้ใช้เอกสารฉบับนี้เป็นแนวทางในการประเมิน

การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผู้เรียนให้เกิดประโยชน์ต่อไป

ตูแวซูไรดา โต๊ะโซ๊ะ

ผู้วิจัย

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).

สารบัญ

หน้า


การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห 1
ขั้นตอนการพัฒนาและประเมินการอ่านคิดวิเคราะห ์ 2

ขอบเขตการประเมินและตัวชี้วัด (ตามช่วงชั้น) 3

แนวทางการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห ์ 4


แนวทางการแก้ไขผู้เรียนกรณีไม่ผ่านเกณฑ 5
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric) ตามช่วงชั้น 6

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 1

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์

ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่านการฟัง การดูและการรับรู้ จาก
หนังสือ เอกสารและสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แล้วนำมาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่นำไปสู่การแสดงความคิดเห็น การ

สังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนซึ่งสะท้อนถึงสติปัญญา ความรู้ ความเข้าใจ

ความสามารถในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาและสร้างสรรค์จินตนาการอย่างเหมาะสมและมีคุณค่ำแก่ตนเอง สังคมและ
ประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์ และทักษะในการเขียนที่มีสำนวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลำดับขั้นตอนในการ

นำเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแต่ละระดับชั้นการประเมินการอ่าน คิด

วิเคราะห์ สรุปผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษาระดับ

ต่าง ๆ
ให้ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการประเมินให้ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด จึงจะได้รับการตัดสินการศึกษาแต่ละ

ช่วงชั้น ทั้งนี้เพราะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถพื้นฐานของการเรียนรู้
ในทุก ๆ ด้านอย่างจริงจัง อันเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในส่วนของ

ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) พุทธศักราช

๒๕๕๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดขั้นตอนในดำเนินการประเมินดังนี้

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

หนังสือ เอกสาร วิทยุ โทรทัศน์ สื่อต่างๆ ฯลฯ
อ่าน
(รับสาร) แล้วสรุปเป็นความรู้ ความเข้าใจของตนเอง

คิดวิเคราะห์
วิเคราะห์ สังเคราะห์ หาเหตุผล แก้ปัญหา และ
สร้างสรรค์

เขียน
ู้
ถ่ายทอดความร ความคิด สื่อสารให้ผู้อื่น
(สื่อสาร)
เข้าใจ

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 2

1. ขั้นตอนการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของสถานศึกษา

ประชุมชี้แจงแนวการส่งเสริม/พัฒนา กำหนดเกณฑ์
คณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน

เคร
วิ
คิด

การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ะห์และเขียน



ดำเนินการส่งเสริม/พฒนาควบคูกบการจัดกิจกรรม ครูผู้สอน
การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ

ั้
วัดและประ เมินผล บันทึกผล (สรุปผล) ครูประจำชน

คณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน
ประมวลผล สรุปผล
คิด วิเคราะห์และเขียน

ไม่ผ่าน ผ่าน

ดี

ดีเยี่ยม

ซ่อมเสริม ผ่าน

- ครูประจำชั้น

บันทกผล
- ครูวัดผล

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 3

2.ขอบเขตการประเมินและตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

2.1ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3

ขอบเขตการประเมิน


การอานจากสื่อสิ่งพิมพ์ และหรือสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ความเพลิดเพลิน ความรู้ประสบการณ์และมี
ประเด็นให้คิดและเขียนบรรยายถ่ายทอดประเด็นที่คิดด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น อานนิยาย เรื่องสั้น

นิทาน นิยายปรัมปรา

ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

1. สามารถอานและหำประสบการณ์จากสื่อที่หลากหลาย

2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นเรื่องที่อาน

3. สามารถเปรียบเทียบแง่มุมต่าง ๆ เช่น ข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสมไม่เหมาะสม


4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อาน โดยมีเหตุผลประกอบ
5. สามารถถ่ายทอดความคิดเห็นความรู้สึกจากเรื่องที่อานโดยการเขียน

2.2 ชั้นประถมศึกษาปีท4-6
ี่
ขอบเขตการประเมิน

การอานจากสื่อสิ่งพิมพ์ และหรือสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ประสบการณ์ที่เอื้อให้


ผู้อานนำไปคิดวิเคราะห์แสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดโดยการเขียนเป็นความเรียงเชิง

สร้างสรรค์ด้วยถ้อยคำภาษาที่ถกต้องชัดเจน เช่น อานหนังสือพมพ์ วารสารหนังสือเรียน บทความ สุนทรพจน์


คำแนะนำ คำเตือน
ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์


1. สามารถอานเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศเสริมประสบการณ์จากสื่อประเภทต่าง ๆ
2. สามารถจับประเด็นสำคัญ เปรียบเทียบ เชื่อมโยงความเป็นเหตุเป็นผลจากเรื่องที่อ่าน

3. สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเรื่องราว เหตุการณ์ของเรื่องที่อาน


4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่อานโดยมีเหตุผลสนับสนุน

5. สามารถถ่ายทอดความเขาใจ ความคิดเห็น คุณคาจากเรื่องที่อานโดยการเขียน

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 4

3. แนวทางการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห ์


การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคณา
นุสรณ์) จะใช้แนวทางการวัดและประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement)

จากกำหนดเป็นแนวทางและวิธีการประเมินให้ครูนำไปใช้ในการประเมินดังนี้

3.1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มีลักษณะเป็นแบบประเมินเกณฑ์คุณภาพ

(Rubric) โดยเกณฑ์การประเมินในแต่ละตัวชี้วัดจะมีลักษณะเป็นเกณฑ์แบบแยกส่วน (Analytic Criteria) ซึ่ง

แบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม ระดับดี ระดับผ่านและระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ โดย

เกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวชี้วัด มีดังนี้ คือ ระดับดีเยี่ยมได้ 3 คะแนน ระดับดี ได้ 2 คะแนน ระดับพอใช้หรือ

ผ่านเกณฑ์ ได้ 1 คะแนน และ ระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ ได้ 0 คะแนน

3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ


3.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละทักษะของการประเมินความสามารถในการอานคิดวิเคราะห์ และ
เขียน จะประเมินตามตัวชี้วัด แต่ละตัวชี้วัดจะมีคะแนนอยู่ระหว่าง 0-3 นำคะแนนที่ได้จากตัวชี้วัดมารวมกัน

แล้วเทียบกับเกณฑ์แต่ละทักษะ ดังนี้

ตารางที่ 6

ทักษะ / คุณภาพ การอ่าน การคิดวิเคราะห ์ การเขียน

ระดับคะแนน ระดับคะแนน ระดับคะแนน

ดีเยี่ยม 5-6 5-6 3
ดี 3-4 3-4 2

ผ่าน 1-2 1-2 1

ปรับปรุง 0 0 0

3.2.2 การวิเคราะห์การประเมิน ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในภาพรวม


นำคะแนนจากตัวชี้วัดทุกทักษะรวมกัน แล้วเทียบกับเกณฑดังนี้
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

12-15 ดีเยี่ยม
8-11 ดี

4-7 ผ่าน

0-3 ปรับปรุง

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 5

3.2.3 เกณฑ์การตัดสินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

1. ระดับรายภาค

ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผ่านทุกรายภาค

2. การเลื่อนชั้น / การจบหลักสูตร

ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านทุกรายภาค

4.แนวทางการแก้ไขผู้เรียนกรณี ไม่ผ่านเกณฑ ์

ในกรณีที่ผู้เรียนมีผลประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน อยู่ในระดับไม่ผ่านครูผู้สอนแล

คณะกรรมการประเมินควรเร่งดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมี ความก้าวหน้าในตัวชี้วัดที่


มีจุดบกพร่อง โดยจัดให้ได้รับการแกไขในระยะเวลาพอสมควรที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ในตัวชี้วัดที่ต้อง
ปรับปรุงแกไขได้อย่างแท้จริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้อ่านได้คิดวิเคราะห์จาก

ี่
เรื่องทอ่าน และสามารถสื่อสารสาระสำคัญจากเรื่องที่อ่านโดยการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ แล้วนำผลงานไป
เทียบกับแนวการให้คะแนนและเกณฑ์ การตัดสินโรงเรียนที่กำหนด

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 6

คุณภาพ (Rubric) สำหรับครูผู้สอนประเมินนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ
3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)

1. สามารถอ่านและหา อ่านและหาประสบการณ์จาก อ่านและหาประสบการณ์จาก อ่านและหาประสบการณ์จาก ไม่สามารถอ่านและหา

ประสบการณ์จากสื่อที่ สื่อที่หลากหลายโดยอ่านได้ สื่อที่หลากหลายโดยอ่านได้ สื่อที่หลากหลายโดยอ่านได้แต่ ประสบการณ์จากสื่อที่
หลากหลาย คล่องแคล่วและถูกต้องตาม ค่อนข้า ง คล่องแคล่วและ ไม่คล่องแคล่วและไม่ถูกต้อง หลากหลาย

หลักการอ่าน ถูกต้องตามหลักการอ่านเป็น ตามหลักการอ่าน
ส่วนใหญ่

2.สามารถจับประเด็นสำคัญ จับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง จับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง จับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง ไม่ตอบหรือพยายามจับ

ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นเรื่องท ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านไดตรง ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านไดตรง ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านไดตรง ประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริง
ี่

อ่าน ตามวัตถุประสงค์และ ตามวัตถุประสงค์คอนข้าง ตามวัตถุประสงค์แต่ไม่ครอบ ความคิดเห็นเรื่องที่อ่านแต่
ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา คลุมเนื้อหา ไม่ตรงวัตถุ ประสงค์



3.สามารถเปรียบเทียบแง่มุม สามารถเปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสย สามารถเปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสย สามารถเปรียบเทียบ ข้อดี ไม่ตอบหรือพยายามจะ

ต่าง ๆ เช่น ข้อดีข้อเสีย ประโยชน์โทษ ความเหมาะสม ไม่ ประโยชน์โทษ ความเหมาะสม ไม่ ข้อเสียประโยชน์โทษ ความ เปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสย
ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสม เหมาะสมได้อย่างชัดเจนถูกต้อง เหมาะสมได้อย่างชัดเจนแต่ยังไม่ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ได้แต่ ป ร ะ โ ย ช น์ โ ท ษ ค ว า ม

ไม่เหมาะสม ถูกต้องทั้งหมด ไม่ชัดเจน เหมาะสม ไม่เหมาะสมแต่ไม่
สามารถเปรียบเทียบได้

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 7

ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ

3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)

4.สามารถแสดงความคิดเห็นต่อ เสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่ เสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่อ่าน เสนอความคิดเห็นต่อเรื่องที่ ไม่ตอบหรือพยายามจะ

เรื่องทีอ่าน โดยมีเหตุผลประกอบ อ่านได้อย่างมีเหตุผลและมี ได้ อย่างมีเหตุผล อ่านแต่ไม่แสดงเหตุผล แสดงความ คิดเห็นต่อเรื่องที ่
ประโยชน์ อ่านแต่ไม่ถูกต้อง
5.สามารถถ่ายทอดความ คิดเห็น สามารถถ่ายทอดความคิดเห็นโดย สามารถถ่ายทอดความคิดเห็น สามารถถ่ายทอดความคิดเห็น สามารถถ่ายทอดความ



ความร้สึกจากเรื่องทีอ่าน โดยการ รู้จักเลือกใช้ค าในการเขียนที่แสดง โดยรู้จักเลือกใช้คำในการเขียน โดยรู้จักเลือกใช้คำในการเขียน คิดเห็นโดย ไม่ตอบหรือ


เขียน ถึงความร้สึกจากเรื่องทีอ่านได้ ที่แสดงถึงความรู้สึกจากเรื่องที่ ที่แสดงถึงความรู้สึกจากเรื่องที่ พยายามเขียนถ่ายทอด ความ
ชัดเจน อ่านได้ค่อนข้างชัดเจน อ่านได้บ้าง คิดเห็นความร้สึกแต่ไม่

สามารถสื่อความร้สึกได้

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 8

คุณภาพ (Rubric) สำหรับครูผู้สอนประเมินนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ
3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)

1. สามารถอ่านเพื่อหาข้อมูล อ่านเพื่อหาข้อมูลที่เป็น สามารถอ่านเพื่อหาข้อมูลที่เป็น สามารถอ่านเพื่อหาข้อมูลที่เป็น ไม่สามารถอ่านเพือหาข้อ



สารสนเทศเสริมประสบการณ์ ป ร ะ โ ย ช น ์ เ พ ื ่ อ เ ส ริ ม ประโยชน์เพือเสริมประสบการณ์ ประโยชน์เพือเสริมประสบการณ์ มูลที่เป็น ประโยชน์เพื่อเสริม
ื่

ื่
จากสื่อประเภทต่าง ๆ ประสบการณ์จากสื่อประเภท จากสอประเภทต่างๆ ได้ถูกต้อง จากสอประเภทต่างๆ ตามทีได้รับ ประสบการณ์ จากสื่อประเภท

ต่างๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสม และเหมาะสมด้วยตนเองเปน มอบหมาย ต่างๆได้
ด้วยตนเองทุกครั้ง บางครั้ง

2. สามารถจับประเด็นส าคัญ จับประเด็นส าคัญ เปรียบเทียบ จับประเด็นส าคัญ เปรียบเทียบ จับประเด็นส าคัญ เปรียบเทียบ จับประเด็นส าคัญ










เปรียบเทียบ เชือมโยงความเปน เชือมโยงความเปนเหตุเป นผ เชือมโยงความเปนเหตุเปนผลจาก เชือมโยงความเปนเหตุเป นผ เปรียบเทียบ เชือมโยงความ


เหตุ เปนผลจากเรื่องทีอ่าน ลจาก เรื่องทีอ่านได้อย่างชัดเจน เรื่องทีอ่านได้ค่อนข้างชัดเจน ลจาก เรื่องทีอ่านได้อย่างไม่ชัดเจน เปนเหตุเปนผลจาก เรื่องที ่







สมบูรณ์ สมบูรณ์ ไม่สมบูรณ์แต่มีแนวโน้มทีดี อ่านได้อย่างไม่ชัดเจน ไม่

สมบูรณ์

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).


ห น า | 9

ตัวชี้วัด ระดับคุณภาพ
3 (ดีเยี่ยม) 2 (ดี) 1 (ผ่าน) 0 (ไม่ผ่าน)

3.สามารถเชื่อมโยง เ ชื่ อ ม โ ย ง เ ชื่ อ ม โ ย ง เ ชื่ อ ม โ ย ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ


ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ เชือมโยงความ
เรื่องราวเหตุการณ์ เรื่องราว เหตุการณ์ เรื่องราว เหตุการณ์ เรื่องราว เหตุการณ์ สั ม พั น ธ์ ข อ ง



ของเรื่องที่อ่าน ของเรื่องทีอ่าน ได้ ของเรื่องทีอ่าน ได้ ของเรื่องทีอ่าน ได้ เ รื่ อ ง ร า ว
อย่า ง ถูกต้อง อย่าง ถูกต้องเปน อย่าง ถูกต้องเปน เหตุการณ์ ของ


ส่วนใหญ ่ บางส่วน เรื่องทีอ่าน ได้

อย่างไม่ถูกต้อง
4. สามารถแสดง แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น ไมสามารถ



ความคิดเห็นต่อ ต่อเรื่องทีอ่านได้ ต่อเรื่องทีอ่านได้ ต่อเรื่องทีอ่านได้ แสดงความ
เรื่องที่อ่านโดยมี ถูกต้องโดยมีเหตุผล ถูกต้องโดยมีเหตุผล ค่อนข้างถูกต้องแต่ คิดเห็นต่อเรื่อง
เหตุผลสนับสนุน สนับสนุนได้ อย่าง สนับสนุนได้ เหตุผล สนับ สนุนยัง ที่อ่านและไม่ม ี
ชัดเจน ค่อนข้างชัดเจน ไม่ชัดเจน
เหตุผล
สนับสนุน

5. สามารถถ่ายทอด เขียนถ่ายทอดความ เขียนถ่ายทอดความ เขียนถ่ายทอดความ ไม่สามารถเขียน

ความเข้าใจความ เข้าใจความ คิดเห็น เข้าใจความ คิดเห็น เข้าใจความ คิดเห็น ถ่ายทอดความ

คิดเห็น คุณค่าจาก คุณค่าจากเรื่องที ่ คุณค่าจากเรื่องที ่ คุณค่าจากเรื่องที เข้าใจความ
เรื่องทีอ่านโดยการ อ่านโดย การเขียน อ่านโดย การเขียน อ่านโดย การเขียน คิดเห็น คุณค่า

เขียน ด้วยภาษาของ ด้วยภาษาของ ด้ ว ย ภ า ษ า ข อ ง จากเรื่อง ทีอ่าน

ตนเองและมี ตนเองและมี ต น เ อ ง แ ล ะ มี โดยการเขียน
ใจความครอบคลุม ใจความครอบคลุม ใจความครอบคลุม ด้วยภาษาของ





ครบถ้วนถูกต้อง เปนส่วนใหญ และมี เปนบางสวน และมี ตนเอง
ตามหลักการใช้ ข้อพกพร่องในการใช้ ข้อบกพร่องในการใช้

ภาษา ภาษา ไม่เกิน 2แห่ง ภ ษ า 3 แห่งแต่ไม่
เกิน 5แห่ง

โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์).

การ ประเมิน การ อ่าน คิด วิเคราะห์ และ เขียน 5 ข้อ มีอะไรบ้าง

1. สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่าน เพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ 2. สามารถจับประเด็นสำคัญและประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลำดับความและความเป็นไปได้ ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน 5. สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความ ...

ข้อใดคือเกณฑ์ การประเมิน การอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน

การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็น 4 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์

อ่านคิดวิเคราะห์เขียน คืออะไร

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่านจาก หนังสือ ตาราเรียน เอกสาร และสื่อต่าง ๆ เพื่อหาและหรือเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ ความสุนทรีย์ และประยุกต์ใช้ แล้วนาเนื้อหาสาระที่อ่านมาคิดวิเคราะห์ น าไปสู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ และถ่ายทอด ...

ผลการประเมิน “การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน” แบ่งเป็นกี่ระดับใด

3.1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มีลักษณะเป็นแบบประเมิน เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) โดยเกณฑ์การประเมินในแต่ละตัวชี้วัดจะมีลักษณะเป็นเกณฑ์แบบแยก ส่วน (Analytic Criteria) ซึ่งแบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม ระดับดี ระดับผ่าน และระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ ...