ข้อ ใด ไม่ใช่ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

          �е������ਹ��������δ�͡��Ţͧ�������ԡ����͹�ǧ��ǹ�����ͫյ���������Ԥյ������ö������Ѻ���˹觡ѹ �·����㴵��˹���Ҩ���躹�ѹ�з�������˹���йҺ�����������йҺ����¢ͧǧ��ǹ���� ������ӵ�����е���ըӹǹ����������������ա�ͧ�ٻ��� ��ſ� ( α )- ����յ� ( ß )- ����դس���ѵԷҧ����Ҿᵡ��ҧ�ѹ�ҡ��� ������¡�ç�ٻ���ᵡ��ҧ�ѹẺ��ſ���кյҹ������� �������� (anomer) ��觡ѹ��Сѹ

               มอนอแซ็กคาไรด์  (Monosaccharide)  หรือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว  มีลักษณะเป็นโมเลกุลซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน 3-8  อะตอม  สามารถละลายน้ำได้ดีและมีรสหวาน  เป็นน้ำตาลที่มีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุดไม่สามารถถูกย่อยให้เล็กลงกว่านี้ได้  ร่างกายสามารถดูดซึมนำไปใช้ได้ทันที น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวสามารถแบ่งได้เป็นหลายชนิด  ซึ่งแต่ละชนิดอาจมีสุตรโมเลกุลเหมือนกัน  แต่มีสูตรโครงสร้างที่แตกต่างกันได้  เช่น  ไรโบส  ไลโซส  ไซโลส  และอะราบิโนส  ซึ่งต่างก็มีสูตรโมเลกุลเป็น C5H10O5  เหมือนกัน  แต่มีสูตรโครงสร้างที่แตกต่างกัน
                    กาแลกโทส (galactose)  ฟรักโทส (fructose)  และกลูโคส (glucose)  เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่พบได้มากในกระแสเลือด  มีสูตรโมเลกุลเป็น C6H12O6  เป็นน้ำตาลกลุ่มที่มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตมาก
                    น้ำตาลแลกโทส  เป็นน้ำตาลที่มีความหวานน้อย  ไม่พบในธรรมชาติ  แต่ได้จากการย่อยสลายน้ำตาลแลกโทสในน้ำนม  เป็นสารองค์ประกอบของระบบสมองและเนื้อเยื่อประสาท
                    น้ำตาลฟรักโทส  เป็นน้ำตาลที่มีความหวานมากที่สุด  พบมากในน้ำผึ้ง  ผัก  และผลไม้ที่มีรสหวานต่าง ๆ โดยมักพบอยู่ร่วมกับซูโครสและกลูโคส  เป็นน้ำตาลที่มีบทบาทที่สำคัญในกระบวนการเผาผลาญอาหารของสิ่งมีชีวิต
                    น้ำตาลกลูโคส  เป็นน้ำตาลที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ  เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยพืชสีเขียว  จากนั้นจึงถูกเปลี่ยนเป็นน้ำตาลรูปอื่น ๆ หรือคาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อเก็บสะสมไว้ในส่วนต่าง ๆ ของพืชต่อไป  พบได้ในผลไม้ที่มีรสหวาน  น้ำผึ้ง  และในกระแสเลือด  น้ำตาลกลูโคสมีบทบาทสำคัญ  คือ  ช่วยให้กล้ามเนื้อมีการยืดหดตัว  ควบคุมการเต้นของหัวใจ  ช่วยให้การทำงานของระบบต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น  และยังเป็นแหล่งพลังงานของร่างกายด้วย  โดยร่างกายจะสามารถเผาผลาญกลูโคสได้โดยอาศัยกลูโคสและแก๊สออกซิเจนเป็นสารตั้งต้น ได้ผลิตภัณฑ์คือพลังงานแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  และน้ำ   ดังสมการ
                                   C6H12O6 + 6O2                 ------------->                    พลังงาน  +  6CO2 + 6H2O
                    เราสามารถทดสอบหาน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวได้  โดยใช้สารละลายเบเนดิกต์ซึ่งมีสีฟ้า  เมื่อสารละลายเบเนดิกต์ทำปฏิกิริยากับน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจะเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งมีลักษณะเป็นตะกอบสีแดงอิฐของคอปเปอร์ (I)  ออกไซด์ (Cu2O)  โดยความเข้มของสีแดงอิฐที่สังเกตได้จะมีความสัมพันธ์กับปริมาณของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่อยู่ในสารที่นำมาทดสอบ

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ ความเร็วที่ตัวทำปฏิกิริยาเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยเวลา โดยที่หน่วยความเข้มข้นของสารเป็น mol/dm3 ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อวินาที ชั่วโมง หรือวัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือช้านั่นเอง

 

สรุปเนื้อหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถจำแนกตามชนิดของปฏิกิริยา ได้ 2 ประเภท ได้แก่

1. ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (homogeneous reaction) ซึ่งจัดเป็นปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทั้งหมดอยู่ในสถานะเดียวกัน

CH4(g)+ 2O2(g)—->CO2(g) + 2H2O(g)

2. ปฏิกิริยาเนื้อผสม (heterogeneous reaction) จัดเป็นปฏิกิริยาที่สารต่าง ๆ ไม่ได้อยู่ในสถานะเดียวกัน

3HCl(aq) + HNO3(aq)—>Cl2(g) + NOCl(g) + 2H2O(l)

หมายเหตุ : การทราบชนิดของปฏิกิริยาจะทำให้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยานั้นได้ง่ายขึ้น

 

นอกจากนี้ ยังสมารถแบ่งประเภทอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้เป็น 3 แบบ ได้แก่

1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (Average rate) คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนสิ้นสุดการเกิดปฏิกิริยา หรือสิ้นสุดการทดลองในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีได้ค่าเดียว

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous rate) คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ ช่วงใดช่วงหนึ่ง ขณะที่ปฏิกิริยากำลังดำเนินอยู่ในหนึ่งหน่วยเวลาที่ช่วงนั้น ทั้งนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีได้หลายค่า ที่เวลาต่างกันจะมีค่าไม่เท่ากัน นั่นคือ ตอนเริ่มต้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีค่ามาก เมื่อปฏิกิริยาดำเนินต่อไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลงตามลำดับ เพราะความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลงนั่นเอง

3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลา คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในช่วงสั้นๆ ขณะที่ปฏิกิริยากำลังดำเนินอยู่ในหนึ่งหน่วยเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลา หาได้โดยการนำข้อมูลที่ได้จากการทดลองไปเขียนกราฟ (ให้ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงเป็นแกนตั้ง เวลาเป็นแกนนอน) เมื่อต้องการทราบอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาใด ก็ให้ลากเส้นตั้งฉากตรงจุดเวลานั้นไปตัดเส้นกราฟลากเส้นสัมผัสให้ผ่านจุดตัด แล้วหาค่าความชัน (Slope) ของเส้นสัมผัส ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะนั้นก็ดูจากค่าความชันนั่นเอง

 

ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีหลากหลาย ดังนี้

1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น เพราะ สารต่างชนิดกันจะสามารถเกิดปฏิกิริยาได้เร็วหรือช้านั้น ขึ้นอยู่กับสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด เช่น โลหะโซเดียมทำปฏิกิริยากับน้ำเย็นได้เร็วมาก และเกิดปฏิกิริยารุนแรง ในขณะที่โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับน้ำเย็นได้ช้า แต่เกิดได้เร็วขึ้นเมื่อใช้น้ำร้อน ทั้งนี้ มีสาเหตเนื่องมาจาก โลหะโซเดียมมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาดีกว่าโลหะแมกนีเซียม สารบางชนิดจะทำปฏิกิริยาได้ยาก ยกตัวอย่างเช่น การสึกกร่อนของหิน การเกิดสนิมเหล็ก แต่ในทางกลับกันบางชนิดก็ทำปฏิกิริยาได้ง่าย เช่น การระเบิดของประทัด

2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น เพราะโดยปกติแล้วปฏิกิริยาเคมีโดยทั่ว ๆ ไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เข้าทำปฏิกิริยา เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด ถ้าเริ่มต้นใช้กรดที่มีความเข้มข้นสูงจะเกิดการกัดกร่อนโลหะได้เร็วกว่ากรดที่มีความเข้มข้นต่ำ เป็นต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยานั้น อาจขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพียงสารใดสารหนึ่งหรือทุกสารก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ห็ยังมีมีปฏิกิริยาเคมีบางชนิดที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น โดยไม่ว่าจะเปลี่ยนความเข้มข้นของสารตั้งต้นอย่างไร อัตราการเกิดปฏิกิริยาคงที่เสมอ เช่น ปฏิกิริยาการกำจัดแอลกอฮอล์ในเลือดของคน เป็นต้น

3.พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น โดยปัจจัยนี้จะมีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็ต่อเมื่อปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นนั้นเป็นปฏิกิริยาเคมีแบบเนื้อผสมที่มีสารตั้งต้นเป็นของแข็งร่วมอยู่ด้วย เช่น การเกิดปฏิกิริยาระหว่าง Mg และ HCl กล่าวคือ ปฏิกิริยาของโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกจะเกิดแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งถ้าทำให้ลวดแมกนีเซียมเป็นชิ้นเล็ก ๆ จะพบว่าปฏิกิริยานั้นเกิดเร็วกว่าลวดแมกนีเซียมที่เป็นแผ่นหรือขดเป็นสปริง

4.อุณหภูมิ โดยเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็จะเพิ่มขึ้นด้วย เช่น การบ่มผลไม้ในภาชนะที่มีฝาปิด จะสุกเร็วกว่าการไว้ข้างนอก

5. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) คือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดได้เพิ่มขึ้น โดยที่ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจจะมีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาหรือไม่ก็ได้ แต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้จะต้องมีปริมาณเท่าเดิมและมีสมบัติเหมือนเดิม

6. ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibiter) คือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลง และเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยาจะกลับคืนมาเหมือนเดิมและมีมวลคงที่ แต่สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงไป เช่น ขนาด รูปร่าง

โดยปกติแล้ว การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งการดำเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของพลังงานของโมเลกุลเมื่อโมเลกุลของก๊าซมาชนกันจนกระทั่งกลายเป็นผลิตภัณฑ์สามารถจะแสดงให้เห็นได้โดยอาศัยกราฟซึ่งจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา และพลังงานของผลิตภัณฑ์ดังนี้

ก. ปฏิกิริยาระหว่าง NO2 กับ CO ซึ่งเป็นประเภทคายความร้อน
NO2 (g) + CO(g) →NO (g) + CO2 (g) + 234 kJ
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้

ข้อ ใด ไม่ใช่ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

จากรูปนี้ การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา NO2 + CO → NO + CO2
E1 คือ พลังงานของสารตั้งต้น
E3 คือ พลังงานผลิตภัณฑ์
Ea คือ พลังงานก่อกัมมันต์ซึ่งเป็นผลต่างระหว่าง E2 กับ E1
E คือ พลังงานของปฏิกิริยาซึ่งเป็นผลต่างระหว่าง E3 กับ E1

 

ข . ปฏิกิริยา 2HI(g) → H2 ( g) + I2 (g) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาประเภทดูดความร้อน

ข้อ ใด ไม่ใช่ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

กฎอัตรา คืออะไร

กฎอัตรา (Rate law) คือ สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับค่าคงที่อัตราและความเข้มข้นของสารตั้งต้น ซึ่งกฎอัตราจะมีประโยชน์มาก ถ้าเรารู้ค่าคงที่อัตราและความเข้มข้นของสารตั้งต้นแล้ว เราก็สามารถคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากกฎอัตราได้ ในทางกลับกัน เราสามารถที่จะใช้สมการนี้ในการหาความเข้มข้นของสารตั้งต้น ณ เวลาใดๆ ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาได้ด้วย

 

กลไกของปฏิกิริยาเคมี

Elememtary reaction คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนเดียว และอันดับของปฏิกิริยาจะเท่ากับจำนวนโมเลกุลอะตอมของสารตั้งต้นที่เข้าทำปฏิกิริยา ดังนั้น อันดับปฏิกิริยาของ Elememtary reaction จึงเรียกว่า “molecularity” โดย Elementary reaction ที่มี molecularity เป็น 1 เรียกว่า umimolecular reaction, 2 เรียกว่า bimolecular reaction และ 3 เรียกว่า termolecular reaction

หมายเหตุ : Elementary reaction ที่มี molecularity มากกว่า 2 เกิดขึ้นได้ยากมาก ดังนั้น ปฏิกิริยาใดที่มี molecularity ตั้งแต่ 2 ขึ้นไป น่าจะไม่ใช่ elementary reaction

 

ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. CH3OH ทำปฏิกิริยากับ HCl เกิดเป็น CH3Cl และ H2O เมื่อวัดความเข้มข้นของ HCl ในขณะเกิดปฏิกิริยาได้ผลดังแสดงในตารางต่อไปนี้

เวลา ( s)ความเข้มข้นของ HCl ( mol/l)0

80

159

314

628

1.85

1.66

1.53

1.31

1.02

อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 159 – 314 เป็นเท่าใด

ก. 0.0014 mol/l/s
ข. 0.0023 mol/l/s
ค. 0.0092 mol/l/s
ง. 0.0178 mol/l/s

 

2. จากโจทย์ข้อ 1 อัตราการเกิดปฏิกิริยา เฉลี่ยเป็นเท่าใด

ก. 0.0014 mol/l/s
ข. 0.0016 mol/l/s
ค. 0.0013 mol/l/s
ง. 0.0092 mol/l/s

 

3. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. คะตะไลต์เมื่อใส่ลงไปในปฏิกิริยาทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเร็วขึ้น
ข. เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
ค. เมื่อเกิดปฏิกิริยาคะตะไลต์อาจมีส่วนร่วมในการทำปฏิกิริยา
ง. เมื่อพลังงานกระตุ้นสูงจะทำให้เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

 

4. ข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน

ก. เพิ่มอุณหภูมิ ลดความดัน
ข. เพิ่มพื้นที่ผิว ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา
ค. เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ
ง. เพิ่มพื้นที่ผิว เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ

 

5. ปฏิกิริยา A(s) + B(aq) ———–> C(aq) + D(aq) เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การกระทำทั้งหมดในข้อใดทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

ก. ลดขนาดของ A เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพิ่มอุณหภูมิ
ข. เพิ่มขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
ค. ลดขนาดของ A ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ
ง. ลดขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ

 

เคมี ม. ปลาย ต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง

การเรียน เคมี ม.ปลาย ตั้งแต่เคมี ม.4 เคมี ม.5 หรือ เคมี ม.6 นอกจากเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่จะต้องเจอแล้ว การเรียนวิชานี้ยังครอบคลุมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ, พันธะเคมี, สมบัติของธาตุและสารประกอบ, โมลและสูตรเคมี, สารละลาย, ปริมาณสารสัมพันธ์, ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ, แก๊สและสมบัติของแก๊ส, สมดุลเคมี, กรด-เบส, ไฟฟ้าเคมี, เคมีอินทรีย์, พอลิเมอร์, เชื้อเพลิงและซากดึกดำบรรพ์, เคมีกับการแก้ปัญหา, สารชีวโมเลกุล และอื่น ๆ ดังนั้น ใครที่กำลังเตรียมตัวจะเลือกเรียนสายวิทย์ หรือกำลังเรียนสายวิทย์อยู่ ก็จะต้องเจอกับการเรียนเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้อย่างแน่นอน

 

ข้อ ใด ไม่ใช่ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

คอร์สเรียน เคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวต่อตัว

เป็นคอร์สเรียนที่ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียนให้เหมาะกับตัวเองได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเรียนเพื่อติวสอบปลายภาค, ติวเพิ่มเกรด, กวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัย ก็สามารถเลือกได้ตามแบบที่เราต้องการได้ด้วยหลักสูตรจำนวน 10 ชม. แต่หากใครที่พื้นฐานอ่อนหรืออยากมาเรียนเนื้อหาล่วงหน้าก็สามารถเพิ่มชั่วโมงเรียนให้เหมาะสมกับเราได้

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว มีอะไรบ้าง

โมเลกุลเดี่ยว ได้แก่ กลูโคส (glucose) ฟรักโทส (fructose) และ กาแลคโทส (galactose) น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล สามารถเชื่อมเข้าด้วยกันเป็นไดแซคคาไรด์ (disaccharide)

น้ำตาลอะไรไม่ใช่น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

น้ำตาลโมเลกุลคู่ที่พบในอาหาร ได้แก่ น้ำตาลซูโครส (sucrose)

สารในข้อใดใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

*การทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ใช้สารละลายเบเนดิกต์ จะได้ตะกอน สีแดงอิฐของCu2O ซึ่งใช้ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะสำหรับคนเป็นโรคเบาหวาน *การทดสอบแป้งใช้สารละลายไอโอดีนให้สารละลายสีน้ำเงิน *น้ำตาลโมเลกุลคู่และพอลิแซ็กคาไรด์ไม่ให้ผลกับสารละลายเบเนดิกต์

น้ำตาลเฮกโซส มีอะไรบ้าง

แอลโดเฮกโซส (aldohexose) เป็นน้ำตาลที่มีจำนวนคาร์บอน 6 อะตอม และมีหมู่แอดีไฮด์อยู่ในโมเลกุล เช่น น้ำตาลกลูโคสและกาแล็กโทส