คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ

ใครเคยสงสัยว่าบ้างว่าภาษาอังกฤษที่เราพูดออกไปนั้น ชาวต่างชาติฟังแล้วรู้สึกอย่างไร? คำพูดที่ใช้สุภาพเพียงพอหรือไม่? ประโยคที่เราใช้ดูเกรี้ยวกราดเกินไปในสายตาเค้าหรือป่าว อันที่จริงเเล้วการพูดให้สุภาพนั้น เป็นสิ่งที่สำคัญมากไม่ว่าจะเป็นภาษาใดเเละโดยเฉพาะการพูดกับคนที่เราไม่รู้จัก เพื่อให้คนฟังรู้สึกดีและให้ความร่วมมือกับเรา วันนี้ Globish เลยเอา 7 ประโยคภาษาอังกฤษ เพื่อการ “ขอร้องอย่างสุภาพอ่อนโยน” มาฝากกันค่ะ

1. Will you…? (คุณจะ…?)

เช่น Will you open the door for me? 

(คุณจะเปิดประตูให้ฉันได้ไหม?)

2. Would you…? (คุณจะ…?)

เช่น Would you open the door for me 

(คุณช่วยเปิดประตูให้ฉันได้ไหม)

3. Would you please…? (คุณจะกรุณา…?)

เช่น Would you please open the door (for me)?

(คุณจะกรุณาเปิดประตูให้ฉันได้ไหม)

4. Could you please…? (ได้โปรด…)

Could you please open the door for me?

(ได้โปรดเปิดประตูให้ฉันได้ไหม)

5. Could you possibly…? ( เป็นไปได้ไหมที่เธอจะ…?)

เช่น Could  you possibly open the door?

(คุณสามารถเปิดประตูได้ไหม)

6. Would you kindly…? (คุณพอจะช่วย ...)

เช่น Would you kindly open the door (for me)?

(คุณพอจะช่วยกรุณาเปิดประตูให้ฉันหน่อยได้ไหม?)

7. Would you mind…? (คุณพอจะช่วย...ได้ไหม?)

เช่น Would you mind opening the door?

(คุณพอจะช่วยเปิดประตูได้ไหม)

ก็จบไปแล้วกับ 7 ประโยคภาษาอังกฤษ ที่เอาไว้ใช้ขอร้องหรือขอความช่วยเหลือได้ ไม่ว่าจะเป็นการใช้กับเพื่อนร่วมงานหรือชาวต่างชาติเมื่อเราต้องการความช่วยเหลือ ลองเอาไปประยุกต์ใช้กันดูนะคะ

หากคุณอยากเตรียมพร้อมภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน Globish คอร์สภาษาอังกฤษออนไลน์สำหรับวัยทำงาน ด้วยหลักสูตรที่ผ่านการรับรองจากประเทศฟินแลนด์ เพื่อพัฒนาให้คุณพูดภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง มั่นใจ สามารถอ่านรายละเอียดหลักสูตรได้ที่ https://bit.ly/2CQyoue

Reference:

https://www.tonamorn.com/english/grammar/can-could/

https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/53858.html


����¤�����㹡������������� 6 ��Դ

1. ����¤�͡���� �繻���¤�͡��� �� ������ ����˹ ���ҧ�� �繡��
������ͧ��� �͡���ǵ�ҧ� ��
 �Ңͧ��Ҿ������Ҫվ�����ӹ�
 ����ͪ�ҧ����������稡�������ѡ�Ǵ��� ��й��ͺ�����
 �մ��Ҥ�˹���ԧ��ǵ����Կ�� ���Ǩ�ѹ��ɰҹ����繡�æҵ����

2. ����¤����ʸ �繻���¤��㨵ç�����Ѻ����¤�͡���� �ѹ�������ͺʹͧ��ͼ���� �ѡ������ ��� ����� ����� ���� ��Сͺ㹻���¤
 �����������ҧź��仹�
 ���������ö�ҡԹ���ǡѺ����
 �Ңͧ���繹ѡ��áԨ �����ѡ������ͧ

3.����¤�Ӷ�� �繻���¤���㨤��� �ѡ�ʴ��Ӷ������˹��������ѧ����¤ �� 2��Դ
����¤�Ӷ������ͧ��äӵͺ �ѡ������ ���� � �˹ ������� ���ҧ�� �˵�� ���� ����˹�����ͷ��»���¤���� ��
 ���繤��ӡѺ����������
 �ѹ���Թ����
 ��Ҩ����§�����¡���Թ�ҧẺ�
����¤�Ӷ���������ͧ��äӵͺ�Ѻ ���ͻ���ʸ �ѡ�դ���� ���� ������� ���
���»���¤ ��
 �ҧź��͹���ͧ�س����
 �س仡Թ���ǡѺ�����������

4.����¤����� �繻���¤�͡����������������������˹�� �ѡ���л�иҹ���
����¤���� 2 �ѡɳ� ���
����¤������� �ѡ�����Ң�鹵鹻���¤ �������� ��
���ҡ�ջ�иҹ��鹵鹨��դ���� �� �� ˹��� ��ͷ��»���¤ ��
 ����������˹���
 �;ٴ����
 ���ӵ����������

����¤���� �������������� �ѡ�л�иҹ ��������� ���� ���� ��鹵鹻���¤ ��
 �����Թ�Ѵʹ��
 ������駢��ŧ�ѡ�á
 �����Ѻ���Ĵ��ҧ��


5. ����¤�ʴ�������ͧ��� �繻���¤�����㨤����ʴ�������ͧ��� ��ҡ�� ��ҡ�� ��ҡ�� �ѡ�դ������ ��ͧ��� ���ö�� ���ʧ�� ����㹻���¤ ��
 �ѹ���ö�ҷ��кԹ������͹��
 �����ͧ������ѹ���硴�
 ��ͻ��ʧ�����ѹ���¹��������Է�����ʧ��ҹ��Թ���


6.����¤����ͧ �ѡ�ǹ ���͹حҵ �繻���¤��㨤�������ͧ �ѡ�ǹ ����͹حҵ �Ҩ�л�иҹ��� �ѡ�դ������ �� ˹��� �� ��� ������»���¤ ����դ������ �ô ��س� ���� �ҹ ����˹�һ���¤ ��
 �ô���������§�ѧ���ͧ��ش
 ����͡��Թ��蹧ҹ�ҪҴ�ѹ�ա��ҹ�
 ��������й�






1.ประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร(ระดับประถมศึกษา)

คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ



ประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร สามารถแบ่งได้เป็น 5 ลักษณะ ได้แก่

1. ประโยคบอกเล่า คือ ประโยคที่มีลักษณะเป็นการบอกกล่าวหรือเล่าข้อความ เช่น
     -  น้องดื่มนม
     -  นกจิกหนอน
     -  แม่ค้าขายผัก
     -  เก่งกินข้าว

2. ประโยคคำถาม คือ ประโยคที่มีลักษณะเป็นการซักถามที่ต้องการคำตอบ ซึ่งมักจะมีคำว่า ใคร อะไร ไหน อย่างไร ทำไม อยู่ในประโยค เช่น
     -  ใครไปทะเล
     -  คุณพ่ออยู่ที่ไหน
     -  พี่จะทำอะไร
     -  เขาสร้างบ้านนี้ได้อย่างไร

แต่ถ้าประโยคใดที่แสดงคำถาม แต่ไม่ได้ต้องการคำตอบ จะไม่ใช่ประโยคคำถาม เช่น
     -  ใครจะไปเที่ยวก็ได้
     -  พี่จะทำอะไรก็ได้
     -  คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ
     -  ฉันไม่รู้ว่าเขาสร้างบ้านนี้ได้อย่างไร

3. ประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคที่บอกความไม่ยอมรับ ซึ่งมักจะมีคำว่า ไม่ ไม่ได้ มิได้ อยู่ในประโยค เช่น
     -  แม่ไม่ไปทะเล
     -  พ่อไม่ได้ไปทำงาน
     -  น้องยังไม่ได้อาบน้ำ

4.  ประโยคคำสั่ง คือ ประโยคที่ต้องการให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านทำตามที่ผู้พูดหรือผู้เขียนต้องการ ซึ่งมักจะมีคำว่า จง ห้าม อย่า อยู่ในประโยคเช่น
     -  ห้ามเลี้ยวขวา
     -  อย่าวิ่งเล่นในห้องเรียนเรียน
     -  จงเเต่งประโยคจากคำที่กำหนดให้

5. ประโยคขอร้อง และชักชวน คือ ประโยคที่ผู้พูดหรือผู้เขียนต้องการขอร้อง หรือชักชวนให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามที่ตนการ ซึ่งมักจะมีคำว่า ช่วย โปรด กรุณา อยู่หน้าประโยค เพื่อแสดงอาการขอร้องและชักชวน เช่น
     -  โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็ก สตรี และคนชรา
     -  ช่วยปิดไปทุกครั้งหลังออกจากห้องน้ำ
     -  กรุณาทิ้งขยะลงในถังขยะ

* เราควรเลือกใช้ประโยคในการสื่อสารให้ถูกต้องและเหมาะสมกับโอกาส โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ชัดเจน และใช้ถ้อยคำที่สุภาพ ไม่ว่ากล่าวผู้ใด การสื่อสารจึงจะประสบความสำเร็จ

แหล่งที่มา

คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ



2.มาตราตัวสะกดในภาษาไทย(ประถมศึกษาปีที่3)

คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ

  มาตราตัวสะกดมีทั้งที่ใช้ตัวสะกดตรงแม่ และมาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงแม่ การเรียนรู้มาตราตัวสะกดต่างๆ ทำให้เขียนและอ่านคำได้ถูกต้อง
     มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ผสมอยู่ข้างหลังคำหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทำให้แม่ ก กา มีตัวสะกด เช่น มี เมื่อประสมกับ  กลายเป็น มีด เป็นต้น
     มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา คือ คำหรือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น มา เสือ ตัว มือ เสีย ดำ ฯลฯ ส่วนมาตราตัวสะกดมีทั้งหมด ๘ แม่ คือ กก กด กบ กม เกย เกอว กง กน แบ่งได้ดังนี้
๑. มาตราตัวสะกดตรงแม่ ใช้ตัวสะกดตัวเดียว มี ๔ มาตรา คือ
     แม่กง ใช้ ง สะกด เช่น หา ปลิ สอ ง แร ฯลฯ 
     แม่กม ใช้ ม สะกด เช่น ล แต้ โส มุ งอ สนา ฯลฯ
     แม่เกย ใช้ ย สะกด เช่น สา ลอ โปร เฉ ปุ๋ ฯลฯ
     แม่เกอว ใช้ ว สะกด เช่น แห้ กา เปรี้ย เปล ฯลฯ
๒. มาตราตัวสะกดไม่ตรงแม่ มีตัวสะกดหลายตัวในมาตราเดียวกัน เพราะออกเสียงเหมือนตัวสะกดเดียวกัน มี ๔ มาตรา คือ
     แม่กน ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด เช่น นา วิญา วาน กาเวลา พระกา ฯลฯ
     แม่กก ใช้ ก ข ค ฆ สะกด เช่น ปั เล วิห เม ฯลฯ
     แม่กด ใช้ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เช่น แปด ตรว ก๊า บงก กหมาย ปราก อิ ครุ วันา เปรต โอส บา โกร กระดา ร เลิ ฯลฯ
     แม่กบ ใช้ บ ป ภ พ ฟ สะกด เช่น กลั บา ลา นรัตน์ กรา ฯลฯ

มาตราตัวสะกดในภาษาไทยแม่ ก กา 
แม่ เกย 
แม่ กด
แม่ กง 
แม่ เกอว 
แม่ กน
แม่ กม 
แม่ กก 
แม่ กบ

แม่ ก กา

คำในแม่ ก กา เป็นคำที่ไม่มีพยัญชนะเป็นตัวสะกด ท้ายคำ หรือ ท้ายพยางค์ อ่านออกเสียงสระโดยไม่มีเสียงพยัญชนะ

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ ก กา

    กติกา โกลี คร่ำคร่า เคอะ เงอะงะ เฉโกโว้เว้ ซาฟียะห์ น้ำบูดู ปรานี ไม่เข้ายา โยทะกา เรือกอและ  เล้า โสภา หญ้าคา อาชา

แม่ กง

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กง คือ อ่านอย่างเสียง ง

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กง

    กองกลาง โขมง คล้องจอง คูปอง จ้องหน่อง ฉิ่ง ตะราง ตุ้งติ้ง ประลอง พิธีรีตอง มะเส็ง แมงดา รำพึง สรงน้ำ สำเนียง แสลง

แม่ กม

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กม คือ อ่านออกเสียง ม

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กม

    กระหม่อม คำราม จริยธรรม ชมรม ถล่ม ทะนุถนอม ทิม ทุ่ม บรรทม บังคม เปรมปรีดิ์ พฤติกรรม ภิรมย์ แยม หยาม อาศรม

แม่ เกย

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่เกย คือ อ่านออกเสียง ย

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ เกย

    กระจ้อยร่อย ข่าย ชีวาลัย ทยอย นโยบาย เนย เนื้อทราย เปรียบเปรย พระทัย โพยภัย ภูวไนย เสวย มโนมัย วินัย สาหร่าย อาชาไนย

แม่ เกอว
พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่เกอว คือ อ่านออกเสียง ว

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ เกอว

    กริ้ว  ก๋วยเตี๋ยว  ข้าวยำ  ข่าวลือ  จิ๋ว  เจื้อยแจ้ว ดาวฤกษ์  ต้นงิ้ว  ท้าวไท  ทาวน์เฮ้าส์  ประเดี๋ยว  ยั่ว เลิกคิ้ว หิวข้าว  เหว  อ่าว

แม่ กก

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กก คือ อ่านออกเสียง ก 

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กก

    โขยกเยก  จ้อกแจ้ก  จักตอก  ชาดก  ดอกบุก  ทาก  นกเงือก  ปักษา  แฝก  พักตร์ มรดก  ไม้กระบอก วิตก  สามาชิก หญ้าแพรก  เอกลักษณ์

แม่ กด

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กด คือ อ่านออกเสียง ด 

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กด

    กระจาด  กะทัดรัด  ขนาดย่อม  ดอกพุด  นัดดา  แน่นขนัด  เพนียด  แรด  ลานวัด  สลัด  สะพัด  หวุดหวิด หูฝาด  อดออม  อดสู  เอร็ดอร่อย

แม่ กน

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กน คือ อ่านออกเสียง น

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กน

    กระตือรือร้น  กันแสง  ขมีขมัน  ขึ้นแท่น  คำประพันธ์  จินดา ชันษา ชุลมุน  ดูหมิ่น  ต้นหว้า  โต๊ะจีน พระชนนี

แม่ กบ

พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่กบ คือ อ่านออกเสียง บ

ตัวอย่างคำที่มีตัวสะกดในมาตราตัวสะกดแม่ กบ

    คาคบ  ตะขบ  ทะเลสาบ  น้ำมันดิบ  ประทับ  ผลกระทบ  พลับพลา  รสแซบ  ระเบียบ  ริบหรี  ลบหลู่ วัตถุดิบ  เว็บไซต์  สายลับ  สู้ยิบตา  หับ

แหล่งที่มา

คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ

3.คำเป็น คำตาย(ประถมศึกษาปีที่4)

คุณพ่ออยู่ที่ไหนก็ไม่ทราบ



กบด ต้องตายก่อน อายุสั้นถึงตายตาม

คำเป็น  คำตาย

                คำเป็น  คำตาย  เป็นการจำแนกคำตามลักษณะที่ใช้ระยะเวลาออกเสียงต่างกัน  ซึ่งลักษณะ
ดังกล่าวจะทำให้คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นรูปเดียวกัน  มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน  ตัวอย่างเช่น  คา  
เป็นอักษรต่ำ  คำเป็น  พื้นเสียง*  เป็นเสียงสามัญ

ส่วน  คะ  เป็นอักษรต่ำคำตาย  เสียงสั้น  พื้นเสียงเป็นเสียงตรี

                คำเป็น  ได้แก่  คำที่มีลักษณะ  ดังต่อไปนี้

๑.   คำที่พยัญชนะประสมกับสระเสียงยาวในแม่  ก  กา  เช่น  มา  ดู  ปู  เวลา  ปี  ฯลฯ

๒.  คำที่พยัญชนะประสมกับสระ  –ำ    ใ -  ไ -  เ – า  เช่น  จำ  น้ำ  ใช่  เผ่า  เสา  ไป  ฯลฯ

๓.  คำที่มีตัวสะกดอยู่ในแม่  กง  กน  กม  เกย  เกอว  เช่น  จริง  กิน  กรรม  สาว  ฉุย  ฯลฯ

                คำตาย  ได้แก่  คำที่มีลักษณะ  ดังต่อไปนี้

๑.   คำที่พยัญชนะประสมกับสระเสียงสั้นในแม่  ก  กา  เช่น  กะทิ  เพราะ  ดุ  แคะ  ฯลฯ

๒.  คำที่มีตัวสะกดในแม่  กก  กบ  กด  เช่น  บทบาท  ลาภ  เมฆ  เลข  ธูป  ฯลฯ

 สรุป

                วิธีพิจารณา

                                ๑)    ให้สังเกตที่ตัวสะกดเป็นหลัก  ถ้าคำที่ต้องการพิจารณามีตัวสะกดให้ดูที่ตัว
สะกดไม่ต้องคำนึงถึงสระเสียงสั้นยาว  ดูว่าคำนั้นมีตัวสะกดหรือไม่  ถ้ามีให้ขีดเส้นใต้ตัวสะกด

                                ๒)  ดูว่าตัวสะกดนั้นเป็น  กบด  หรือไม่  ( แม่  กก  กบ  กด )  ถ้าใช่  คำนั้นจะเป็น
คำตาย  ถ้าไม่ใช่  กบด คำนั้นจะเป็นคำเป็น

                                ๓)  ในกรณีที่ไม่มีตัวสะกด  ให้ดูว่าคำนั้นประสมด้วยสระเสียงสั้น  หรือเสียงยาว
ถ้าอายุสั้น

( เสียงสั้น )  ต้องตาย  ถ้าอายุยาว  ( เสียงยาว )  จึงเป็น

กลวิธีในการจำคำเป็น  คำตาย

คำตาย

คำเป็น

-  พวกที่เป็น  กบด  ต้องตายก่อน  (สะกดด้วยแม่  กก  กบ  กด)

-  อายุสั้นต้องตายตาม  (ประสมด้วยสระเสียงสั้น)

-  สะกดด้วยแม่  กง  กน  กม  เกย  เกอว

-  อายุยาวเป็น  (ประสมด้วยสระเสียงยาว)

                ให้จำในส่วนของคำตายให้ได้เพราะจำง่าย  คือ  กบด  ต้องตายก่อน  และอายุสั้นต้องตายตาม  กล่าวคือ  สะกดด้วยแม่

กก  กบ  กด  (กรณีมีตัวสะกด)  และประสมด้วยสระเสียงสั้น  (กรณีไม่มีตัวสะกด)  เป็นคำตาย  นอกเหนือ
จากนี้เป็นคำเป็นทั้งหมด

                ***  ดังนั้นสรุปได้ว่า  คำที่ประสมด้วยสระ  –ำ    ใ -  ไ -  เ – า  เป็นคำเป็น  เพราะนับว่ามี
ตัวสะกด ในมาตรา แม่กม  แม่เกย และ แม่เกอว ตามลำดับ


* พื้นเสียง  หมายถึง  เสียงที่ปรากฏประจำคำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์  หากมีเสียงวรรณยุกต์ใด  ก็ถือว่าคำ
นั้นมีพื้นเสียงนั้น  เช่น  คา  ไม่มีรูป

วรรณยุกต์กำกับ  แต่มีเสียงวรรณยุกต์สามัญ  จึงนับว่า  คา  ซึ่งเป็นอักษรต่ำคำเป็น  มีพื้นเสียงเป็นเสียง
สามัญ

แหล่งที่มา