แผนการ สอน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 ส สว ท

เทคโนโลยียี ยียี ออกแบบ แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ชั้น ชั้ มัธ มั ยมศึก ศึ ษาปีที่ ปี ที่1 รหัสหั วิชวิา ว21181 นายศุภ ศุ ฤกษ์ ปิด ปิ ตาฝ้า ฝ้ ย ตำ แหน่งน่ ครูผู้รู ช่ผู้วช่ ย โรงเรียนดงสว่างวิทยา กลุ่มลุ่ สาระการเรียรี นรู้วิรู้ ทวิ ยาศาสตร์แร์ ละเทคโนโลยี สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำ นาจเจริญ บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนดงสว่างวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ที่ ........../2565 วันที่ ......... เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2565 เรื่อง ขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาออกแบบเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ .............................................................................................................................................................................. เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนดงสว่างวิทยา ตามที่ข้าพเจ้า นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ปฏิบัติการสอนประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รหัสวิชา ว21181 รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี จำนวน 0.5 หน่วยกิต ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๕ นั้น ข้าพเจ้าจึงได้วิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยการเรียนรู้และรายคาบ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน ดงสว่างวิทยา พุทธศักราช 2563 (ฉบับปรับปรุง 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและได้นำไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรฯ ต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ..........................................ผู้ขออนุมัติ (นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย) ตำแหน่งครูผู้สอน ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรี่ยนรู้ ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มงานบริหารวิชาการ  อนุมัติ  ไม่อนุมัติ  อนุมัติ  ไม่อนุมัติ ลงชื่อ..................................................... ลงชื่อ..................................................... (นางสาวภัทรภา แสงงาม) (นางสาวทิฆัมพร กอมณี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวหน้ากลุ่มงานบริหารวิชาการ ความคิดเห็นรองผู้อำนวยการ ความคิดเห็นผู้อำนวยการ  อนุมัติ  ไม่อนุมัติ  อนุมัติ  ไม่อนุมัติ ลงชื่อ..................................................... ลงชื่อ..................................................... (นางสาววรทัย ทองอินทร์) (นายสมปอง พวงพั่ว) รองผู้อำนวยการโรงเรียนดงสว่างวิทยา ผู้อำนวยการโรงเรียนดงสว่างวิทยา หน้า ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาออกแบบเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน รายวิชา ว21181 ออกแบบเทคโนโลยีในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อให้นักเรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้พื้นฐานให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และนำปัญหาที่พบ จากประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการอบรมสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเทคนิคและวิธีการ สอน การวัดผลประเมินผล จิตวิทยาการเรียนรู้ ตลอดจนความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มาจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ในครั้งนี้ ผู้จัดทำขอขอบคุณ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญ และคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โรงเรียนดงสว่างวิทยา ที่ให้ความอนุเคราะห์ ตรวจสอบ ให้ข้อเสนอแนะ ข้อแนะนำในการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จนสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการ เรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับครูผู้สอนตลอดจนเป็นแนวทางในการจัดกิจกกรมการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไป ( นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย หน้า ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1  สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิชาการออกแบบเทคโนโลยี 4  คำอธิบายรายวิชา 6  โครงสร้างรายวิชาการออกแบบเทคโนโลยี 8  ตารางวิเคราะห์การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ วิชาการออกแบบเทคโนโลยี 9 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีรอบตัว 18 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี 19 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เทคโนโลยีในงานอาชีพ 24 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 30 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีในงานอาชีพ 31 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 37 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบทางเทคโนโลยี 42 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ความหมายของระบบและระบบทางเทคโนโลยี 43 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี 48 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน 53 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 วัสดุในชีวิตประจำวัน 54 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 วัสดุในชีวิตประจำวัน 59 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น 64 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลไก 65 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น 70 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 75 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 วิเคราะห์ปัญหา 76 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 รวบรวมข้อมูล 81 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 86 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 91 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กำหนดประเด็นการทดสอบ 96 หน้า ค • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 ออกแบบวิธีการนำเสนอ 101 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 ออกแบบวิธีการนำเสนอ 106 ➢ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 111 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 กรณีศึกษา 112 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 กรณีศึกษา 117 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 กรณีศึกษา 122 ******************************************************************************************** หน้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทำไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคน ทั้งในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยีเครื่องมือเครื่องใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับ ความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์คิดวิเคราะห์วิจารณ์มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหาความรู้มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้วิทยาศาสตร์เป็น วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึง จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพื่อให้ได้ทั้ง กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้มาจัดระบบเป็น หลักการแนวคิด และองค์ความรู้ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมีเป้าหมายที่สำคัญ ดังนี้ 1. เพื่อให้เข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎที่เป็นพื้นฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อให้มีทักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี 4. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ สภาพแวดล้อมในเชิงที่มีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน 5. เพื่อนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ การดำรงชีวิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทักษะ ในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ 7. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ หน้า 2 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ จริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังนี้ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตการดำรงชีวิตของ มนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนที่ พลังงาน และคลื่น วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผล ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหา ที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน้า 3 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย คุณภาพผู้เรียนวิชาการออกแบบเทคโนโลยี หลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) จัดให้มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีความคาดหวังเพื่อให้ได้คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบการศึกษา ดังนี้ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรับแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา หน้า 4 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิชาการออกแบบเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม เป้าหมายของหลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี เพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะเพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บูรณาการกับ ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ อย่างเหมาะสม เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อหลัก ได้แก่ ความรู้และความ เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ และความรู้และทักษะพื้นฐานเฉพาะด้าน หัวข้อหลักที่ 1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีประกอบด้วยหัวข้อย่อย ต่อไปนี้ 1) ความหมายของเทคโนโลยี 2) ระบบทางเทคโนโลยี 3) การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 4) ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น 5) ผลกระทบของเทคโนโลยี หัวข้อหลักที่ 2 กระบวนการออกแบบ กระบวนการออกแบบ (design process) ในวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เป็น กระบวนการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ความรู้และทักษะ รวมทั้งความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งในที่นี้ใช้กระบวนการที่เรียกว่า กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (engineering design process) โดยมี ขั้นตอน ดังนี้ 1) ระบุปัญหา 2) รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 3) ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4) วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 5) ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน 6) นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน หน้า 5 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย หัวข้อหลักที่ 3 ความรู้และทักษะพื้นฐานเฉพาะด้าน ความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานในวิชาเทคโนโลยี(การออกแบบ และเทคโนโลยี) ได้แก่ 1) วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือช่างพื้นฐาน 2) กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ หน้า 6 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พื้นฐานวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21181 วิชาการออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีการทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จำเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันในด้านการเกษตรและ อาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และปลอดภัย มาตรฐานและตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 ตัวชี้วัด ว. 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 1. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวกับ ปัญหา 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น นำเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นำเสนอผลการแก้ปัญหา 5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด หน้า 7 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ หน้า 8 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย โครงสร้างรายวิชาการออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตราฐานการ เรียนรู้ตัวชีวัด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 เทคโนโลยี รอบตัว ความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/1 1 5 เทคโนโลยีในงานอาชีพ 1 5 2 การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลย ว 4.1 ม.1/1 1 5 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 1 5 3 ระบบทาง เทคโนโลยี ความหมายของระบบและระบบทาง เทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/1 1 5 การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี 1 5 4 วัสดุและ เครื่องมือช่าง พื้นฐาน วัสดุในชีวิตประจำวัน ว 4.1 ม.1/5 1 5 เครื่องมือช่างพื้นฐาน 1 5 5 กลไก ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้น กลไก ว 4.1 ม.1/5 1 5 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น 1 5 6 กระบวนการ ออกแบบ เชิงวิศวกรรม วิเคราะห์ปัญหา ว 4.1 ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 1 10 รวบรวมข้อมูล 1 5 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 1 5 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 1 5 กำหนดประเด็นการทดสอบ 1 5 ออกแบบวิธีการนำเสนอ 2 10 7 กรณีศึกษาตาม กระบวนการ การออกแบบเชิง วิศวกรรม กรณีศึกษา ว 4.1 ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4 3 10 รวมตลอดภาคเรียน 20 100 ตารางวิเคราะห์การจัดทำหน่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีรอบตัว ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด อธิบายแนวคิดหลัก ของเทคโนโลยีในชีวิต ประจำวันและ วิเคราะห์สาเหตุหรือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี 1. เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือ พัฒนาขึ้นซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือ วิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหาสนองความ ต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการ ทำงานของมนุษย์ 2. ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วน ต่าง ๆตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้า ด้วยกันและทำงาน ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยใน การทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะ ประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และ ผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการวิเคราะห์ ระบบทางเทคโนโลยีช่วย ให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของ 6 ชั่วโมง 1. อธิบายคว 2. อธิบายป 3. วิเคราะห์ การเปลี่ยนแ หน้า 9 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย วยการเรียนรู้ วิชาการออกแบบเทคโนโลยี ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล วามหมายของเทคโนโลยี ระโยชน์ของเทคโนโลย กิจกรรมที่ 1 เทคโนโลยี รอบตัว ภาระงาน : 1.1 พิจารณาภาพที่กำหนดให้ ว่าเป็นเทคโนโลยีหรือไม่ พร้อม ให้เหตุผลประกอบ และบอก ประโยชน์ของสิ่งนั้น 1.2 ออกแบบชิ้นงานหรือ วิธีการตามสถานการณ์ที่ กำหนด 1.3 ระบุสิ่งที่เป็นและไม่เป็น เทคโนโลยีและอธบิาย ประโยชน์ของสิ่งนั้น 1. การอธิบาย ความหมายของ เทคโนโลยี และเหตุผล ประกอบ 2. การอธิบาย ประโยชน์ของ เทคโนโลยี ห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ แปลงของเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 2 การ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีภาระงาน : 2.1 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีจากบทเรียนใน ประเด็นที่กำหนดให้ 1. การวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลย 9 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด เทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้ เทคโนโลยีทำงานได้ตามต้องการ 3. เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมี สาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้า ของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม 4. วิเคราะห์ ชิ้นงานหรือิ ชีวิตประจำว 5. การประย เทคโนโลยีเพ เทคโนโลยีได หน้า 10 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 2.2 พัฒนา ปรับปรุงชิ้นงาน หรือวิธีการจากข้อมูลการ เปลี่ยน แปลงของเทคโนโลยีที่ ศึกษา 2.3 วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัย ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีที่สนใจ ห์ระบบทางเทคโนโลยีของ วิธีการใน วัน ยุกต์ใช้แนวคิดระบบทาง พื่อการดูแลรักษา ด้อย่างเหมาะสม กิจกรรมที่ 3 ระบบทาง เทคโนโลยีภาระงาน: 3.1 ยกตัวอย่างระบบที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติและระบบที่ มนุษย์สร้างขึ้น 3.2 อธิบายองค์ประกอบของ ระบบทางเทคโนโลยีของ ชิ้นงานหรือวิธีการที่กำหนด 3.3 อธิบายองค์ประกอบและ การทำงานของระบบทาง เทคโนโลยีในบทเรียน พร้อม ทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขหาก เทคโนโลยีนั้นเกิดปัญหาและ แนวทางการดูแลรักษา 1. การวิเคราะห์ระบบ ทางเทคโนโลยีของ ชิ้นงานหรือวิธีการใน ชีวิตประจำวัน 2. การประยุกต์ใช้ แนวคิดระบบทาง เทคโนโลยีเพื่อการดูแล รักษาเทคโนโลยีได้ อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด หน้า 11 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 3.4 แยกแยะองค์ประกอบและ อธิบายการทำงานของระบบ ทางเทคโนโลยีใน ชีวิตประจำวัน 3.5 วิเคราะห์การทำงานของ ระบบทางเทคโนโลยีเพื่อเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาและการ ดูแลรักษา หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วัสดุและอุปกรณ์น่ารู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด ใช้ความรู้และทักษะ เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสมและ ปลอดภัย 1. วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการ วิเคราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสม กับลักษณะของงาน 2. อุปกรณ์ในการสร้างผลงานมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้ง รู้จักเก็บรักษา 4 ชั่วโมง 1. วิเคราะห์ ช่างที่ใช้ในก 2. เลือกใช้วั สร้างชิ้นงาน ของงานและ หน้า 12 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ห์สมบัติของวัสดุและเครื่องมือ การสร้างชิ้นงาน วัสดุและเครื่องมือช่างในการ นได้อย่างเหมาะสมกับลักษณะ ะคำนึงถึงความปลอดภัย กิจกรรมที่ 4 วัสดุและ เครื่องมือช่างพื้นฐาน ภาระงาน : 4.1 บอกประเภทและอธิบาย สมบัติของวัสดุจากสิ่งของ เครื่องใช้ในห้องเรียน 4.2 วิเคราะห์การเลือกใช้ เครื่องมือช่างที่เหมาะสมกับ ลักษณะของงานจากสิ่งของ เครื่องใช้ที่กำหนด พร้อม เหตุผลประกอบ 4.3 วิเคราะห์สมบัติของวัสดุ และเครื่องมือช่างที่ใช้ในการ สร้างชิ้นงานพร้อมเหตุผล ประกอบ 1. การวิเคราะห์การ เลือกใช้เครื่องมือช่างที่ เหมาะสมกับลักษณะ ของงาน พร้อมเหตุผล ประกอบ 2. การเลือกใช้วัสดุและ เครื่องมือช่างในการ สร้างชิ้นงานได้อย่าง เหมาะสมกับลักษณะ ของงานและค านึงถึง ความปลอดภัย ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด 3. ออกแบบ เรื่องกลไก ห อิเล็กทรอนิก หน้า 13 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล บชิ้นงานโดยประยุกต์ใช้ความรู้ หรือวงจรไฟฟ้าและ กส์เบื้องต้น กิจกรรมที่ 5 กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ภาระงาน : 5.1 ระบุของเล่นของใช้ที่ใช้ กลไกล้อและเพลา ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ 5.2 ออกแบบชิ้นงานโดย ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องกลไก หรือวงจรไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น 1. การออกแบบ ชิ้นงานโดยประยุกต์ใช้ ความรู้เรื่องกลไก หรือวงจรไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การแก้ปัญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวก ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด 1. ระบุปัญหาหรือ ความต้องการใน ชีวิตประจำวัน รวบรวมวิเคราะห์ ข้อมูลและแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับปัญหา และตัดสินใจเลือกแนว ทางการแก้ปัญหาที่ เหมาะสม 2. ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหาน าเสนอ แนวทางการแก้ปัญหา 1. ปัญหาหรือความต้องการใน ชีวิตประจำวันพบได้จากหลายบริบท ขึ้นกับสถานการณ์ที่ประสบ เช่น การเกษตร การอาหาร 2. การแก้ปัญหาจำเป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูลความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างทางเลือกที่ หลากหลายและตัดสินใจเลือกแนวทางที่ เหมาะสม 3. การออกแบบและนำเสนอแนวทางการ แก้ปัญหาทำได้หลากหลายวิธี เช่น การ 10 ชั่วโมง 1. วิเคราะห์ กระบวนกา เชิงวิศวกรร หน้า 14 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย กรรม ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ห์ขั้นตอนการทำงานตาม รออกแบบ ม กิจกรรมที่ 6 กระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ภาระงาน : 6.1 วิเคราะห์ปัญหา 6.2 รวบรวมข้อมูล 6.3 ออกแบบชิ้นงาน 6.4 ก าหนดประเด็นการ ทดสอบ 6.5 ออกแบบวิธีการน าเสนอ 1. การวิเคราะห์การ ทำงานตามกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง จำนวน ชั่วโมง จุด ให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผน และดำเนินการ แก้ปัญหา 3. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่ เกิดขึ้น พร้อมทั้งหา แนวทางการปรับปรุง แก้ไขและนำเสนอผล การแก้ปัญหา 4. ใช้ความรู้และทักษะ เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมและ ปลอดภัย ร่างภาพ การเขียน แผนภาพ การ บรรยายประกอบ 4. การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาใน การทำงาน จะช่วยให้การทำงานสำเร็จตามเป้าหมาย 5. การทดสอบและประเมินเป็นการ ตรวจสอบผลงานว่าสามารถแก้ปัญหาได้ ตามวัตถุประสงค์เพื่อ 6. การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอด แนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทำงานและผลงานที่ได้ ซึ่ง สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การเขียน รายงาน การทำแผ่นนำเสนอผลงาน 7. วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการ วิเคราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสม กับลักษณะของงาน 8. อุปกรณ์ในการสร้างผลงานมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา 2. ประยุกต์ใ พัฒนางานต เชิงวิศวกรร หน้า 15 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาหรือ ตามกระบวนการออกแบบ ม กิจกรรมที่ 7 กรณีศึกษาการ ทำงานตามกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ภาระงาน : 7.1 สรุปขั้นตอนการทำงาน จากกรณีศึกษาตาม กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม 1. การประยุกต์ใช้ ความรู้ในการแก้ ปัญหาหรือพัฒนางาน ตามกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม หน้า 16 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย คู่มือวิชาโดยสังเขป (Course Syllabus) วิชาการออกแบบเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21181 1. ชื่อวิชา/ รหัสวิชา วิชาการออกแบบเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21181 2. ภาคเรียน/ปีการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 3. จำนวนหน่วยการเรียนรู้ 7 หน่วย 4. กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. จำนวนคาบ/สัปดาห์ 1 คาบ/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หน่วยกิต 6. คำอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี การทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จำเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันในด้านการเกษตรและ อาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย 7. มาตรฐาน/ตัวชี้วัดการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 ตัวชี้วัด ว. 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 1. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2. ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวกับ ปัญหา 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น นำเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นำเสนอผลการแก้ปัญหา 5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด หน้า 17 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 8. แผนการสอน ครั้งที่ เนื้อหาวิชา 1 ความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี 2 เทคโนโลยีในงานอาชีพ 3 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 4 การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 5 ความหมายของระบบและระบบทางเทคโนโลยี 6 การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี 7 วัสดุในชีวิตประจำวัน 8 เครื่องมือช่างพื้นฐาน 9 กลไก 10 ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น 11 วิเคราะห์ปัญหา 12 รวบรวมข้อมูล 13 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 14 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 15 กำหนดประเด็นการทดสอบ 16 ออกแบบวิธีการนำเสนอ 17 กรณีศึกษาที่ 1 อุปกรณ์ดักจับยุงแบบครบวงจร 18 กรณีศึกษาที่ 2 ถุงเพาะชำ Reuse 19 กรณีศึกษาที่ 3 การปรับปรุงดินจากวัสดุเหลือใช้เพื่อการปลูกข้าวในพื้นที่น้ำน้อย 20 กรณีศึกษาที่ 4 ยืดอายุไส้กรอกหมูด้วยสารแทนนินจากพืช 9. วิธีการวัดผล - งานที่มอบหมาย 60 คะแนน - สอบกลางภาค 20 คะแนน - สอบปลายภาค 20 คะแนน รวม 100 คะแนน 10. การประเมินผล คะแนน เกรด > 80 4 75 - 79 3.5 70 - 74 3 65 - 69 2.5 60 - 64 2 55 - 59 1.5 50 - 54 1 < 49 0 หน้า 18 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย หน้า 19 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีรอบตัว เรื่อง ความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยี รายวิชา การออกแบบเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21181 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชั่วโมง ชื่อผู้สอน นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย โรงเรียนดงสว่างวิทยา 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 4 (เทคโนโลยี) มาตรฐานการเรียนรู้ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว.4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2. สาระสำคัญ เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ เทคโนโลยีจึงเกิดขึ้น ตั้งแต่สมัยอดีตพร้อมกับการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ เทคโนโลยียังรวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ หรือวิธีการที่ นำมาใช้ในการสร้างชิ้นงานเพื่อได้ได้ผลผลิตที่ต้องการ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ 3.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถสรุปความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะ (Attitude) นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ หน้า 20 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4.1 เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้ แก้ปัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ 4.2 ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงาน ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยี ทำงานได้ตามต้องการ 4.3 เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 ซื่อสัตย์สุจริต 6.3 มีวินัย 6.4 ใฝ่เรียนรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 มุ่งมั่นในการทำงาน 6.7 รักความเป็นไทย 6.8 มีจิตสาธารณะ 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 กิจกรรมที่ 1.1 เทคโนโลยี 7.2 กิจกรรมที่ 1.2 เป็นเทคโนโลยีหรือไม่ หน้า 21 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 8. การวัดและประเมินผล 8.1 ประเมินผลก่อนเรียน - ถามคำถามว่านักเรียนรู้จักเทคโนโลยีชนิดใดบ้าง ให้ยกตัวอย่างมา 2-3 รายการ เกณฑ์ผ่าน คือ นักเรียนร้อยละ 85 ตอบคำถามได้พร้อมยกตัวอย่างเทคโนโลยีได้ถูกต้อง 8.2 การประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรม 8.3 การประเมินผลหลังเรียน - ประเมินแบบทดสอบหลังเรียน 8.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ - นักเรียนสามารถยกตัวอย่างของข้อมูลและสารสนเทศได 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตอนที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น) 1. ทำความเข้าใจและชี้แจงสาระการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบในหน่วยการเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีรอบตัว นักเรียนจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี ประโยชน์ของเทคโนโลยี และเทคโนโลยี ในงานอาชีพ 2. ผู้สอนถามคำถามชวนคิดว่าในกิจวัตรประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับสิ่งของเครื่องใช้ใดบ้าง 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนสังเกตและศึกษารูป 1.1 สิ่งของเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้องในกิจวัตรประจำวันในหนังสือ เรียน แล้วร่วมกันอภิปรายว่าในกิจวัตรประจำวันของผู้เรียนเกี่ยวข้องกับสิ่งของเครื่องใช้อะไรบ้าง ตอนที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น) 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ได้บนฐานวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนสร้างไฟล์ตารางเพื่อเก็บชื่อ เทคโนโลยีที่ผู้เรียนคิดและวิเคราะห์ว่าสิ่งนั้นเป็นเทคโนโลยี 2. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปความหมายของเทคโนโลยี 3. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปว่า ชีวิตประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับสิ่งของเครื่องใช้ที่มนุษย์สร้าง เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของเราทั้งสิ้น เราเรียกสิ่งของเครื่องใช้ที่มนุษย์สร้างขึ้นนี้ว่า เทคโนโลยี 4. ผู้เรียนและผู้สอนอภิปรายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน เช่น เทคโนโลยี ด้านการสื่อสาร ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือสมาร์ตโฟน ช่วยให้เรา ติดต่อสื่อสารกันได้ทุกที่ทุกเวลาทั้งภายในและนอกประเทศ โดยผ่านสัญญาณอินเตอร์เน็ต หน้า 22 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 10. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ของ สสวท. 10.2 Animation clip ความหมายของเทคโนโลยี 10.3 รูปภาพอาชีพต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ 10.3 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10.4 ห้องสืบค้น กิจกรรมที่ 1.1 เทคโนโลยี คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อสิ่งที่นักเรียนคิดว่าเป็นเทคโนโลยีตามตารางที่กำหนดให้ ชื่อ.................................................................ชั้น.....................................เลขที่......... ........ ลำดับที่ ชื่อเทคโนโลยี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 หน้า 23 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย บันทึกหลังสอน 1. ผลการสอน  สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้มีจุดประสงค์ K P A  มีการบูรณาการ คุณธรรม / การต้านการทุจริต / หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ..........................................................................  ....................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรียน  จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน .......................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................  จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................  อื่น ๆ ............................................................................................................................................. 3. ปัญหาและอุปสรรค  กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา  มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา  มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน  อื่น ๆ ............................................................................................................................................. 4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข  ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ......................................................................................................  .......................................................................................................................................................  แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน/ไม่สนใจเรียน ........................................................  .......................................................................................................................................................  ไม่มีข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ........................................... ผู้บันทึก (นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ) ครูผู้สอน ______________________________________________________________________________ บันทึกหลังการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ได้รับการพิจารณาจากหัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้แล้ว ลงชื่อ..................................................... (นางสาวภัทรภา แสงงาม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน้า 24 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีรอบตัว เรื่อง เทคโนโลยีในงานอาชีพ รายวิชา การออกแบบเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21181 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชั่วโมง ชื่อผู้สอน นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย โรงเรียนดงสว่างวิทยา 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 4 (เทคโนโลยี) มาตรฐานการเรียนรู้ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว.4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2. สาระสำคัญ เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ เทคโนโลยีจึงเกิดขึ้น ตั้งแต่สมัยอดีตพร้อมกับการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ เทคโนโลยียังรวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ หรือวิธีการที่ นำมาใช้ในการสร้างชิ้นงานเพื่อได้ได้ผลผลิตที่ต้องการ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ 3.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถสรุปความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะ (Attitude) นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ หน้า 25 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4.1 เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้ แก้ปัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ 4.2 ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงาน ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยี ทำงานได้ตามต้องการ 4.3 เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 ซื่อสัตย์สุจริต 6.3 มีวินัย 6.4 ใฝ่เรียนรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 มุ่งมั่นในการทำงาน 6.7 รักความเป็นไทย 6.8 มีจิตสาธารณะ 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 กิจกรรมที่ 1.1 เทคโนโลยี 7.2 กิจกรรมที่ 1.2 เป็นเทคโนโลยีหรือไม่ หน้า 26 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 8. การวัดและประเมินผล 8.1 ประเมินผลก่อนเรียน - ถามคำถามว่านักเรียนรู้จักเทคโนโลยีชนิดใดบ้าง ให้ยกตัวอย่างมา 2-3 รายการ เกณฑ์ผ่าน คือ นักเรียนร้อยละ 85 ตอบคำถามได้พร้อมยกตัวอย่างเทคโนโลยีได้ถูกต้อง 8.2 การประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรม 8.3 การประเมินผลหลังเรียน - ประเมินแบบทดสอบหลังเรียน 8.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของเทคโนโลยีได้ - นักเรียนสามารถยกตัวอย่างของข้อมูลและสารสนเทศได 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตอนที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น) 1. ผู้สอนเปิดรูปภาพอาชีพต่าง ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีในงานอาชีพ แล้วตั้งคำถามกับนักเรียนว่า “อาชีพ ใดบ้างที่ต้องใช้เทคโนโลยี” 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 1.2 เป็นเทคโนโลยีหรือไม่ โดยผู้เรียนจะต้องวิเคราะห์สิ่งที่ผู้สอนให้ มาแล้วบอกว่าเป็นเทคโนโลยีหรือไม่พร้อมให้เหตุผลประกอบ ตอนที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น) 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อที่ 1.3 ตัวอย่างเทคโนโลยีในงานอาชีพ จากนั้นอภิปรายกับผู้เรียน เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีมาใช้แก้ปัญหาในอาชีพต่าง ๆ เริ่มจากอาชีพที่นำเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน จนถึงอาชีพที่นำเทคโนโลยีที่ซับซ้อนมาแก้ปัญหา 2. ผู้สอนให้นักเรียนแบ่งกลุ่มละ ๆ 5 คน ทำกิจกรรมเสนอแนะที่ 3 เรื่องเทคโนโลยีในงานอาชีพด้าน การเกษตรและอาหาร 3. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมเสนอแนะที่ 3 ที่จับสลากได้ และผู้เรียนและ ผู้สอนร่วมกันสรุปเทคโนโลยีในงานอาชีพ 10. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ของ สสวท. 10.2 Animation clip ความหมายของเทคโนโลยี หน้า 27 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 10.3 รูปภาพอาชีพต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ 10.3 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10.4 ห้องสืบค้น หน้า 28 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง เป็นเทคโนโลยีหรือไม่ ชื่อ-สกุล..................................................................... ห้อง........... เลขที่ ......... หน้า 29 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย บันทึกหลังสอน 1. ผลการสอน  สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้มีจุดประสงค์ K P A  มีการบูรณาการ คุณธรรม / การต้านการทุจริต / หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ..........................................................................  ....................................................................................................................................................... 3. ผลการเรียนของนักเรียน  จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน .......................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................  จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................  อื่น ๆ ............................................................................................................................................. 3. ปัญหาและอุปสรรค  กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา  มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา  มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน  อื่น ๆ ............................................................................................................................................. 4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข  ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ......................................................................................................  .......................................................................................................................................................  แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน/ไม่สนใจเรียน ........................................................  .......................................................................................................................................................  ไม่มีข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ........................................... ผู้บันทึก (นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ) ครูผู้สอน ______________________________________________________________________________ บันทึกหลังการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ได้รับการพิจารณาจากหัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้แล้ว ลงชื่อ..................................................... (นางสาวภัทรภา แสงงาม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน้า 30 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย หน้า 31 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เรื่อง เทคโนโลยีในงานอาชีพ รายวิชา การออกแบบเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21181 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชั่วโมง ชื่อผู้สอน นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย โรงเรียนดงสว่างวิทยา 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 4 (เทคโนโลยี) มาตรฐานการเรียนรู้ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว.4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2. สาระสำคัญ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหาความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม โดยอาจเป็นการปรับปรุงกระบวนการผลิต ลักษณะการ กายภาพ วัสดุ หน้าที่ใช้สอยระบบกลไกการทำงาน การใช้งาน รวมถึงประสิทธิภาพของวิธีการ สิ่งของเครื่องใช้ หรือผลิตภัณฑ์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ 3.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถเขียนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะ (Attitude) นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ หน้า 32 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4.1 เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้ แก้ปัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ 4.2 ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงาน ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยี ทำงานได้ตามต้องการ 4.3 เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 ซื่อสัตย์สุจริต 6.3 มีวินัย 6.4 ใฝ่เรียนรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 มุ่งมั่นในการทำงาน 6.7 รักความเป็นไทย 6.8 มีจิตสาธารณะ 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 กิจกรรมที่ 2 - 1 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 7.2 กิจกรรมเสนอแนะที่ 1 เรื่องการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการซักผ้า หน้า 33 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 8. การวัดและประเมินผล 8.1 ประเมินผลก่อนเรียน - ผู้สอนตั้งคำถามกับผู้เรียน “เหตุใดสิ่งของเครื่องใช้ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันจึงเปลี่ยนแปลง ไปจากอดีต” เกณฑ์ผ่านคือ นักเรียนร้อยละ 85 ตอบคำถามได้ถูกต้อง 8.2 การประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - สังเกตพฤติกรรมการทำกิจกรรม 8.3 การประเมินผลหลังเรียน - ประเมินแบบทดสอบหลังเรียน - ประเมินการอัพโหลดใบกิจกรรมใน Google Classroom 8.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - นักเรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ - นักเรียนสามารถเขียนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ - นักเรียนมุ่งมั่นในการทำงาน 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตอนที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น) 1. ผู้สอนอธิบายการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน พร้อมยกตัวอย่างการซัก ผ้าของคนสมัยเก่าจนมาถึงยุคที่เริ่มมีการทำเครื่องซักผ้าแบบมีก้านโยก เครื่องซักผ้าแบบมีกลไก เครื่องซักผ้าแบบมอเตอร์ไฟฟ้า จนกลายมาเป็นเครื่องซักผ้าแบบมีระบบที่ซับซ้อนอย่างในปัจจุบัน 2. ผู้สอนอธิบายพร้อมยกเคสตัวอย่างเทคโนโลยีทางการเกษตร คือ เทคโนโลยีการเพาะเห็ด การทำ ฟาร์มอัจฉริยะ 3. ผู้สอนหยิบภาพอุปกรณ์ที่ใช้เขียน ให้ผู้เรียนดูทีละภาพ แล้วร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้ 1. ประโยชน์ของอุปกรณ์ที่ใช้เขียน 2. อุปกรณ์ในการเขียนเป็นเทคโนโลยีหรือไม่ เพราะเหตุใด 3. ผู้เรียนคิดว่าเหตุใดเทคโนโลยีอุปกรณ์การเขียนจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตจนถึง ปัจจุบัน ตอนที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น) 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้เรียน ต้องสร้างไฟล์ word เพื่อเก็บชื่อพร้อมรูปภาพของเทคโนโลยีสมัยเก่าและเทคโนโลยีสมัยใหม่ จำนวน 20 รายการ หน้า 34 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 2. ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลย 10. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ของ สสวท. 10.2 Animation clip การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 10.3 เทคโนโลยีในด้านต่างๆ แหล่งเรียนรู้ 10.3 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 10.4 ห้องสืบค้น หน้า 35 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย หน้า 36 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย บันทึกหลังสอน 1. ผลการสอน  สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้มีจุดประสงค์ K P A  มีการบูรณาการ คุณธรรม / การต้านการทุจริต / หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ..........................................................................  ....................................................................................................................................................... 4. ผลการเรียนของนักเรียน  จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน .......................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................  จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................... คน คิดเป็นร้อยละ .................................  อื่น ๆ ............................................................................................................................................. 3. ปัญหาและอุปสรรค  กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา  มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา  มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน  อื่น ๆ ............................................................................................................................................. 4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข  ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ......................................................................................................  .......................................................................................................................................................  แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน/ไม่สนใจเรียน ........................................................  .......................................................................................................................................................  ไม่มีข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ........................................... ผู้บันทึก (นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย ) ครูผู้สอน ______________________________________________________________________________ บันทึกหลังการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ได้รับการพิจารณาจากหัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้แล้ว ลงชื่อ..................................................... (นางสาวภัทรภา แสงงาม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน้า 37 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เรื่อง การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี รายวิชา การออกแบบเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21181 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชั่วโมง ชื่อผู้สอน นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย โรงเรียนดงสว่างวิทยา 1. สาระการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระที่ 4 (เทคโนโลยี) มาตรฐานการเรียนรู้ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว.4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี ตัวชี้วัด ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2. สาระสำคัญ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหาความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม โดยอาจเป็นการปรับปรุงกระบวนการผลิต ลักษณะการ กายภาพ วัสดุ หน้าที่ใช้สอยระบบกลไกการทำงาน การใช้งาน รวมถึงประสิทธิภาพของวิธีการ สิ่งของเครื่องใช้ หรือผลิตภัณฑ์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) นักเรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ 3.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (Process) นักเรียนสามารถเขียนการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ 3.3 ด้านคุณลักษณะ (Attitude) นักเรียนมุ่งมั่นในการทำงาน หน้า 38 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายศุภฤกษ์ ปิดตาฝ้าย 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4.1 เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงานหรือวิธีการ เพื่อใช้ แก้ปัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ 4.2 ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงาน ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมี ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยี ทำงานได้ตามต้องการ 4.3 เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 ซื่อสัตย์สุจริต 6.3 มีวินัย 6.4 ใฝ่เรียนรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 มุ่งมั่นในการทำงาน 6.7 รักความเป็นไทย 6.8 มีจิตสาธารณะ 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 กิจกรรมที่ 2 - 1 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 7.2 กิจกรรมเสนอแนะที่ 1 เรื่องการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการซักผ้า