การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

ในยามที่เราฟังเพลงหรือดูดนตรีหรือในยามที่เราได้มีโอกาสชมคอนเสิร์ตของวงดนตรีต่างๆ จะเห็นได้ว่านอกจากจะมีนักร้องนำและนักดนตรีแล้วผู้ที่ขับขานเสียงร้องสอดประสานเสียงทำให้เสียงเพลงนั้นมีพลัง มีความไพเราะเสนาะหูเพิ่มขึ้น ก็คือนักร้องประสานเสียง

กว่าที่จะเป็นนักร้องประสานเสียงจนได้มีโอกาสร่วมร้องเพลงประสานเสียงในบทเพลงได้นั้นไม่ใช่เรื่องง่ายๆที่ใครก็ได้จะเป็นนักร้องประสานเสียงได้

ผู้ที่จะเป็นนักร้องประสานเสียงได้นั้นจะต้องได้รับการเรียนรู้ถึงเทคนิคและวิธีการต่างๆและฝึกฝนอย่างหนัก

การร้องประสานเสียง หมายถึง เสียงร้องเพลงของผู้ร้องหลายคนที่เปล่งเสียงออกมาพร้อมๆกันโดยมีระดับเสียงที่ต่างกัน  โดยที่เสียงที่เปล่งออกมานั้นจะต้องมีความกลมกลืนผสมผสานกันฟังแล้วไม่ขัดหู

การร้องเพลงประสานเสียงมีการแบ่งแนวเสียงออกเป็น 4 แนวด้วยกันคือ

1.เสียงโซปราโน เป็นเสียงสูงสุด เช่น เสียงของเด็กที่ยังไม่แตกและเสียงของผู้ที่มีเส้นเสียงสูง คือเสียง โด-ซอล

2.เสียงอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่มีเสียงต่ำรองมาจากเสียงโซปราโน คือเสียง ซอล-โด

3.เสียงเตเนอร์ (TENOR) คือ เสียงของผู้ชายที่มีเสียงสูง คือเสียง โด-ซอล

4.เสียงเบส (BASS) คือ เสียงต่ำของผู้ชาย คือเสียง ฟา-โด

การที่จะร้องเพลงประสานเสียงให้ถูกวิธีนั้นนักร้องประสานเสียงจะต้อง

1.ออกเสียงให้ถูกต้อง สำคัญอย่างมาก เพราะในการออกเสียงร้องทุกครั้งนักร้องต้องมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายอย่าง เช่น การใช้ลมหายใจต้องให้ถูกต้อง เมื่อขับร้องหมู่เป็นเสียงประสานแล้วจะเกิดความไพเราะ พร้อมเพรียง

2. มีทักษะการแสดงที่ดี  ในที่นี้คือการใส่อารมณ์ นักร้องประสานเสียงจะต้องตีความหมายของบทเพลงให้ถูกต้องว่าเพลงที่ขับร้องต้องใส่อารมณ์ในการร้องอย่างไร จึงจะตรงตามความหมายของบทเพลง

3.ปั้นรูปปากให้ถูก ถือเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการขับร้อง การร้องออกเสียงคำต่างๆ เช่น คำที่อยู่ในสระ อี อา โอ อู ควรต้องปั้นรูปปากอย่างไร ไม่ผิดลักษณะไปจากธรรมชาติ ซึ่งนับว่าสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการขับร้องประสานเสียง เพราะเป็นการขับร้องของคนจำนวนมาก

ทั้งหมดที่กล่าวมานี้จะเห็นว่าไม่ใช่เรื่อง่ายที่จะเป็นนักร้องประสานเสียงแต่ก็ไม่ยากเกินความพยามยามสำหรับผู้ที่รักที่จะร้องเพลงประสานเสียงให้ถูกวิธีอีกทั้งนักร้องเพลงประสานเสียง ควรฝึกซ้อมพัฒนาเทคนิคตนเองในการขับร้องเป็นอย่างสม่ำเสมอ นับตั้งแต่การวางท่าทางที่ถูกต้อง การออกเสียงให้ถูกต้อง  ซึ่งพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ร้องเพลงประสานเสียงมีเทคนิคการร้องที่ดีและสามารถก้าวไปสู่การเป็นนักร้องประสานเสียงระดับคุณภาพได้ต่อไป

 

คลิกทำแบบทดสอบก่อนเรียนหรือ สแกน QR  Code ทำข้อสอบ

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

ภาพที่  1  แสดงการขับร้องประสานเสียง
ที่มา :  http://www.music.mahidol.ac.th , 2558

แมส (Mass)
ๅๅๅๅๅแมส คือ บทเพลงสวดของชาวโรมันคาทอลิก  ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของเพลงในโบสถ์ในลัษณะต่างๆ  และพลงคฤหัสในเวลาต่อมาด้วย  ลักษณะของแมส  มีคู่กับศาสนามาเป็นเวลาช้านานตั้งแต่ในอดีต  แมสถูกแบ่งเป็น  2  ประเภทคือ  บทเพลงภาคปกติ และภาคเฉพาะ
ๅๅๅๅๅคำว่า  แมสมิสซา (Missa) หรือพิธีมิสซบูชาขอบพระคุณ  เป็นพิธีที่สำคัญที่สุดในศาสนาคริสต์  นิกายโรมันคาทอลิก  เป็นการชุมนุมกันของชาวคริสต์เพื่อระลึกถึงการรับประทานอาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูกับสุนุศิษย์ คำว่า  มิสซา  มาจากประโยคสุดท้ายของการกล่าวจบพิธีในภาษาละติน  “ Ite, missa est ( congregation ) ”  ซึ่งในภาษไทยมีความหมายว่า “ พิธีบูชาขอบพระคุณจบแล้ว ”

 ประวัติของแมส
ๅๅๅๅๅการประพันธ์แมสแต่เดิมเป็นบทเพลงขับร้องด้วยทำนองเดียวไม่มีการประสานเสียงแต่อย่างใด ( Apel and Daniel, 1972 ) ในลักษณะของบทเพลงสวดดั้งเดิม ( Plain Song ) ซึ่งบทเพลงลักษณะเช่นนี้ได้รับอิทธิพลมาจากบทเพลงร้องชาวฮิบรู ( Miller, 1972 ) ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของคริสต์ศาสนา  โดยปกติแมสแบบบทเพลงภาคเฉพาะมีความสลับซับซ้อนในการประพันธ์มากกว่าแมสแบบบทเพลงภาคปกติ  ในศตวรรษที่ 12 รูปแบบของเพลงแมสเป็นบทเพลงขับร้องที่ใช้การประพันธ์เพลงแบบการสอดประสานทำนอง  ตัวอย่างของแมสยุคนี้  ได้แก่  The Orgaba of the School of Notredam ประพันธ์โดยเลโอนินและเพโรติน  เป็นต้น  โดยมีที่มาจาก  Gradual  และ Alleluia  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแมสแบบบทเพลงภาคเฉพาะ  ภายหลังผู้ประพันธ์เพลงเริ่มประพันธ์เพลงแมสแบบบทเพลงภาคปกติมากกว่า  เนื่องจากนำมาบรรเลงซ้ำได้หลายครั้งต่อปี  ในขณะที่ Gradual สามารถบรรเลงได้เพียงครั้งเดียวต่อปี  ในช่วงศตวรรษที่ 14  ผลงานแมสบทที่สมบูรณ์และเป็นที่รู้จัก  ได้แก่  ผลงานของมาโชต์ ในศตวรรษที่ 15 และ 16  แมสที่ประพันธ์ขึ้นมักนำมาจากทำนอเพลงคฤหัสถ์  ซึ่งทำนองที่นิยมนำมาใช้คิอ L’ Homme arme ตัวอย่างผลงานประพันธ์ที่น่าสนใจ เช่น  ผลงานแมส “ Se la face ay pale ” ของดูฟาย  และมีผู้ประพันธ์เพลงแมสสำคัญอีกหลายคน  ได้แก่ โอเคเกม โอเบรชต์ และปาเลสตรินา เป็นต้น ในศตวนนษที่ 17 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัญ  เริ่มมีวงออร์เคสตราผนวกกับกราขับร้อง  ซึ่งมีทั้งการขับร้องเดี่ยว  ขับร้องกลุ่มเล็กๆ และการขับร้องประสานเสียง ทำให้แมสเป็นบทเพลงขนาดใหญ่ มีความสมบูรณ์มากขึ้นกว่าสมัยโบราณโดยเฉพาะในศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา แมส กลายเป็น  บทเพลงที่นิยมแสดงในโรงแสดงคอนเสิร์ตด้วย  มิใช่เป็นบทเพลงที่ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา

ลักษณะของแมส
ๅๅๅๅๅแมสประกอบด้วยสองส่วนตามมลักษณะของบทสวด คือ บทเพลงสวดภาคปกติ และบทเพลงสวดเฉพาะ
11111.  บทเพลงสวดภาคปกติ ( The Ordinary of the Mass ) เป็นส่วนหนึ่งในการประกอบพิธีมิสซา เนื้อเพลงมีลักษณะแน่นอนไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในการประกอบพิธีมีการแบ่งออกเป็นภาค ได้แก่ เริ่มพิธี  ภาควจนพิธีกรรม ภาคบูชาขอบพระคุณ  และปิดพิธี ประกอบด้วย

1111111Kyrie                  บทศักดิ์สิทธิ์                         อยู่ในภาคเริ่มพิธี
1111111Gloria                 บทพระสิริรุ่งโรจน์               อยู่ในภาคเริ่มพิธี
1111111Credo                  บทข้าพเจ้าเชื่อ                     อยู่ในภาควนพิธี
1111111Sanctus               บทศักดิ์สิทธิ์                        อยู่ในภาคบูชาขอบพระคุณ
1111111Agnus Dei           บทลูกแกะพระเจ้า              อยู่ในภาคบูชาขอบพระคุณ

11111บทสวดใช้อยู่ในพิธีทั้ง 5 บทนี้เป็นบทที่สำคัญและยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัญ  ในการประกอบพิธีมีการร้องบทสวดเหล่านี้เป็นเพลง แต่ในบางครั้งใช้เพียงการพูดหรือตอบรับกับพระสงฆ์เท่านั้น ขึ้นอยู่กับรูปแบบและประเภทของพิธี

  1.  บทเพลงสวดภาคเฉพาะ ( The Proper of the Mass ) ใช้ประกอบพิธีมิสซา บทเพลงในกลุ่มนี้บางบทมาจากบทสวด แต่สามารถเปลี่ยนแปลงเนื้อได้ตามเทศกาลหรือตามความเหมาะสมประกอบด้วย 5 บทคือ
    11111Introit               บทเริ่มพิธี                     อยู่ในภาคเริ่มพิธี
    11111Gradual            บทคั่นระหว่างบทอ่าน  อยู่ในภาควจนพิธีกรรม
    11111Alleluia            บทอัลเลลูยา                 อยู่ในภาควจนพิธีกรรม
    11111Offertory          บทเตรียมเครื่องบูชา      อยู่ในภาคบูชาขอบพระคุณ
    11111Communion     บทรับศีล                      อยู่ในภาคบูชาขอบพระคุณ

11111แมสยังสามารถแบ่งได้ตามจุดประสงค์ของการใช้งาน  ได้แก่ บทเพลงแมสที่ใช้ประกอบพิธีทางศาสนา  และแมสที่ใช้ในการแสดงคอนเสิร์ต

สุนทรียะของแมส

1111แมส   เป็นบทเพลงที่กำเนิดขึ้นโดยเกี่ยวพันกับคริสต์ศาสนาใช้ในการประกอบพิธีในโบสถ์จุดประสงค์แต่แรกเริ่มจึงเป็นการประพันธ์เพื่อใช้งานแมสในยุคแรกเป็นบทเพลงขับร้องอย่างเดียวไม่มีดนตรีบรรเลงประกอบ มีลักษณะง่ายๆ เน้นการสวดเพื่อประกอบพิธี แต่มีความไพเราะตามดนตรียุคโบราณ ซึ้งผู้ฟังโดยทั่วไปจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อให้เข้าใจและซาบซึ้งในองค์ประกอบดนตรีที่เรียบง่าย                แฝงไว้ด้วยความไพเราะและศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้าของผู้ประพันธ์เพลงแต่ละคนที่นำเสนอสาระดนตรีประกอบทสวดที่เป็นภาษาละติน
11111ในศตวรรษที่ 12 มีการสอดประสานทำนองซึ่งเป็นรูปแบบการประพันธ์ดนตรีที่นิยมในสมัยนั้น ความซับซ้อนเห็นได้อย่างเด่นชัด ซึ่งส่วนใหญ่แมสในสมัยนั้นจะเป็นบท เพลงขับร้องเท่านั้นไม่นิยมใช้ดนตรีประกอบไม่นิยมใช้ดนตรีบรรเลงประกอบ
11111ในยุคต่อมา แมส กลายเป็นบทเพลงที่มิใช่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเท่านั้นหากแต่กลายเป็นบทเพลงที่ใช้แสดงในโรงแสดงดนตรี เพื่อสื่อถึงความงดงามและความศรัทธาในศาสนาในเวลาเดียวกัน ซึ่งมีการขับร้องเดี่ยว ประสานเสียง ขับร้องเดี่ยวร่วมกับการประสานเสียง การขับร้องคู่ และการบรรเลงสลับกับวงออเคสตราในบางขณะ สิ่งเหล่านี้ทำให้แมสเป็นบทเพลงที่เต็มไปด้วยความงดงามทางสุนทรียรสแห่งโสตศิลป์โดยสมบูรณ์

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

1111การขับร้องประสานเสียง  หมายถึง  การขับร้องแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่  2  คนขึ้นไป  อาจร้องเพลงที่มีทำนองเดียวกันแต่ขึ้นต้นหรือจบลงไม่พร้อมกัน  การขับร้องประสานเสียงทั่วไปเรียกว่า  “คอรัส”  (Chorus)  การขับร้องประสานเสียงนั้นเราสามารถแยกส่วนของการขับร้องออกเป็นทำนองหลัก (Theme)  ส่วนประสานเสียงและส่วนทำนองสอด  เราเรียกการขับร้องแบบนี้ว่า  “แบบพาร์ดซิงกิง”(Part  Singing)  และเรียกกลุ่มนักร้องว่า  “ไควเยอร์” (Choir)  หมู่ขับร้องประสานเสียงอาจประกอบด้วยชายล้วน  หญิงล้วน  หรือทั้งหญิงและชายก็ได้  (บุญส่ง วรวัฒน์,2550:  67)

11112.1  รูปแบบการขับร้องประสานเสียง

111111112.1.1.   การขับร้องแบบราวด์ (Round) การขับร้องแบบราวด์ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แบบวน หรือเพลงวน เป็นการขับร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลงแนวทำนองเดียวกัน แต่เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน ส่วนจะร้องกี่เที่ยวนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงของผู้ขับร้องหรือผู้ควบคุม
111111112.1.2.   เพลงแคนอน  (Canon)  โดยมีลักษณะทั่วไปคล้ายเพลงราวนด์  แต่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับดนตรีที่มีแบบแผน มีโครงสร้างซับซ้อนกว่า  บางครั้งเพลง  Canon  จะสะกดด้วยตัว  K คือ  Kanon  ที่เป็นภาษาเยอรมัน
111111112.1.3.   เพลงเดสแคนท์ (Descant)  คือแนวทำนองที่อยู่เหนือทำนองเพลงหนึ่ง  โดยปกติจะใช้ผู้ร้องประมาณ  4-5  คน  ในขณะที่ผู้ร้องที่เหลืออีกร้องเพลงหนึ่ง
111111112.1.4.   การขับร้องประสานเสียง 2-4 แนว  (Part-Singing  Songs)  คือ การขับร้องที่ต้องมีแนวทำนองเพลงที่แตกต่างกัน  โดยทำนองหลัก 1 ทำนอง ส่วนที่เหลือเป็นทำนองประสานร้องไปพร้อม ๆ กันหลายคน

            2.2  การแบ่งแนวเสียง
เสียงขับร้องของมนุษย์ตามหลักสากลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
       1111112.2.1  แนวโซปราโน (Soprano) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

ภาพที่  2  แสดงขอบเขตแนวเสียงโซปราโน
ที่มา :   ดวงใจ  อมาตยกุล , 2558

       1111112.2.2  แนวอัลโต (Alto) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียง
ของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

ภาพที่  3  แสดงขอบเขตแนวเสียงอัลโต
ที่มา :   ดวงใจ  อมาตยกุล , 2558

       1111112.2.3  แนวเทนเนอร์ (Tenor) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงสูง มีขอบเขตเสียงจากโด-ซอล

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

ภาพที่  4  แสดงขอบเขตแนวเสียงเทนเนอร์
ที่มา :   ดวงใจ  อมาตยกุล , 2558

       1111112.2.4  แนวเบส (Bass) ได้แก่ เสียงผู้ชายที่มีเสียงต่ำ มีขอบเขตเสียงจากฟา-โด

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

ภาพที่  5  แสดงขอบเขตแนวเสียงเบส
ที่มา :   ดวงใจ  อมาตยกุล , 2558

   111111โดยธรรมชาติ คนเราจะมีขอบเขตเสียงของแต่ละคนไม่เท่ากัน อย่างเช่นบางคนเสียงสูงมาก บางคนเสียงต่ำและบางคนก็ต่ำมากไม่เท่ากัน  การขับร้องประสานเสียงจึงต้องมีการจัดขอบเขตเสียงให้ผู้ร้อง ว่าคนไหนควรจะขับร้องในแนวใด ซึ่งในทางเทคนิคแล้วจะแบ่งช่วงเสียงของคนเราเป็น 4 ประเภทดังกล่าว 

คลิกทำแบบทดสอบหลังเรียนหรือ สแกน QR  Code ทำข้อสอบ

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

 

การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร
  
การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร
การร้องประสานเสียงแบบวนเรียกอีกอย่างว่าอะไร

 

Share this:

  • Facebook
  • Twitter

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

การร้องประสานเสียง 2 แนวเรียกว่าอะไร

ตัวอย่าง โน้ตขับร้อง ประสานเสียง 2 แนว รูปแบบเพลงราวด์ (Round) แบบราวด์ (Round) หรือเพลงวน เป็นการขับ ร้องที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คน หรือ 2 กลุ่มขึ้นไป ร้องเพลง แนวท านองเดียวกัน แต่ เริ่มต้นและจบไม่พร้อมกัน

บทเพลงประสานเสียง 2 แนว แบ่งได้เป็นอะไรบ้าง

1. แนวโซปราโน (SOPRANO) เป็นเสียงสูงสุด ได้แก่ เสียงของผู้ที่มีเสียงสูงและเด็กที่เสียงยังไม่แตกมีขอบเขตเสียงจาก โด-ซอล 2. แนวอาลโต (ALTO) เป็นเสียงที่ต่ำรองลงมาจากโซปราโน ได้แก่ เสียงของผู้หญิงที่มีเสียงต่ำกว่าโซปราโน มีขอบเขตเสียงจาก ซอล-โด

การขับร้องประสานเสียง 4 แนวเรียกว่าอะไร

การแบ่งระดับเสียงในการขับร้องประสานเสียง 1. แนวโซปราโน (Soprano) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้หญิง 2. แนวอัลโต (Alto) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้หญิง 3. แนวเทเนอร์ (Tenor) เป็นระดับเสียงสูงสุดของผู้ชาย 4. แนวเบส (Bass) เป็นระดับเสียงต่ำของผู้ชาย

การขับร้องเพลงประสานเสียงหมายถึงอะไร

การขับร้องประสานเสียง คือ การขับร้องเพลงอีกรูปแบบหนึ่งที่มีผู้ขับร้องตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ขับร้องเพลงเพลงเดียวกัน โดยขับร้องคนละแนวทำนอง หรือขับร้องในแนวทำนองเดียวกัน โดยทั่วไปจะแบ่งเสียงนักร้อง หรือเสียงเครื่องดนตรี