ปรมัตถะ ประโยชน์สูงสุด คือ

��ѭ��ٷ�� ���ͤ��������ö��ҷ��͸Ժ�¤�����Ѫ����ԡ�� ��觾���ص�ѹ��Ԯ� ��оط���Ҩ�������º���§�ҡ��ö��������ԧ�� ����� �.�. ���ж֧ ����

��ҳԡ� �� ����ҳ

��ҷ� ��������ҷ, ������Թ����, �������, �����Ҵʵ�, ��������»������� ��º �ѻ��ҷ�

��Ե� ���˭ԧͧ��˹���ǧ���ҡ���繾���Ҫ�ص�բͧ���������˹��繾��ય���Թբͧ��йҧ��Ե��繾������Ңͧ��оط����

�÷��ԡ���� ��û�оĵ���ǧ���¤����, ����繪��������

�ù���� ���ا����§, ����§�����ҧ�֧��Ҵ

�ù���Ե���ѵ�� ���ä��鹷�� � �շ��ǻ��Թ�Ե���ѵ�ջ���ͧ �ǴҪ�鹹����ö���������˹������ͧ����Ե�ͧ ���Ǵ���蹹���Ե����ա���˹��

���� ��˹��, �š˹��

���ѵ�� �. ����ª�����ҧ��� ��� ��йԾ�ҹ �. ���������٧�ش, �������·�����ԧ �� 㹤���� ���ѵ�����

���ѵ����� ����з���������»��ѵ��, ��觷���繨�ԧ�¤��������٧�ش�����ѡ��Ը�������� � ��� �Ե ਵ�ԡ �ٻ �Ծ�ҹ

���ѵ������ ������ʹ������, ������дѺ�٧�ش �٧�����ػ����� �蹡����Ъ��Ե �繷ҹ���ѵ����� �繵�

���ѵ���Ի�� ��ͻ�Ժѵ��ջ���ª���ѹ���, �ҧ���Թ���֧���ѵ��, ��ͻ�Ժѵ����������Ҷ֧����ª���٧�ش��� ����عԾ�ҹ

���ѵ�����ª�� ����ª�����ҧ��� ��� ��йԾ�ҹ; �繤����¡�ѹ�� �Դ�ҡ ������ԧ��� ���ѵ�� ����� ����ª�����ҧ��� ����͹�Ԯ�����ԡѵ��� ����һ���ª��Ѩ�غѹ ����������ԡѵ�� ����һ���ª�����ͧ˹�� ���ѡ���¡�ѹ��� �ԯ�����ԡѵ�����ª������������ԡѵ�����ª��

"ปรมัตถะ" นั้นถูกรวมอยู่ในสัมปรายิกัตถะด้วย เพราะปรมัตถะเป็นส่วนที่สูงสุดของสัมปรายิกัตถะ ดังนั้นเพื่อให้เห็นเด่นชัดจึงแยกปรมัตถะออกมาเป็นอีกระดับหนึ่ง ดังจะให้ความหมายโดยสรุปของทิฏฐธัมมิกัตถะ สัมปรายิกัตถะ และปรมัตถะ ดังนี้

๑. ทิฏฐธัมมิกัตถะ คือประโยชน์บัดนี้ประโยชน์ชีวิตนี้หรือประโยชน์ปัจจุบัน อันเป็นจุดหมายขั้นต้น หรือจุดหมายเฉพาะหน้า อันเป็นประโยชน์อย่างที่เห็นกันอยู่ ที่เข้าใจได้ง่ายในชีวิตประจำวัน เป็นเรื่องธรรมดาสามัญที่มุ่งหมายกันในโลกนี้ ได้แก่ ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ ทรัพย์สิน ฐานะ ไมตรี และชีวิตคู่ครองที่เป็นสุข เป็นต้น รวมถึงการแสวงหาสิ่งเหล่านี้โดยชอบธรรม หรือการปฏิบัติต่อสิ่งเหล่านี้โดยทางที่ถูกต้อง การใช้สิ่งเหล่านี้ทำให้ตนเองและบุคคลที่เกี่ยวข้องสามารถอยู่ร่วมกันด้วยดี และปฏิบัติหน้าที่ต่อกันอย่างถูกต้องในระหว่างเพื่อนมนุษย์เพื่อความสุข

หลักธรรมทั้ง ๔ ประการนี้จัดเป็นหลักธรรมที่สำคัญ สำหรับสร้างฐานะให้มีความมั่นคง อันเป็นจุดมุ่งหมายขั้นพื้นฐานของมนุษย์ กล่าวคือ การตั้งตัวมีหลักฐานมั่นคง ซึ่งการตั้งตัวนั้นสิ่งที่สำคัญคืออยู่ที่มีการมีทรัพย์ และหลักธรรมทั้ง ๔ ประการนี้สามารถอำนวยประโยชน์โดยตรงให้แก่ ผู้ที่ปฏิบัติตามได้

๒. สัมปรายิกัตถะ คือ ประโยชน์เบื้องหน้าหรือประโยชน์ที่ลึกล้ำยิ่งกว่าจะมองเห็นกันเฉพาะหน้า อันเกี่ยวเนื่องกับชีวิตด้านใน หรือเป็นประโยชน์ด้านคุณค่าของชีวิต อันเป็นจุดหมายขั้นสูงขึ้นไปเพื่อเป็นหลักประกันชีวิตเมื่อละโลกนี้ไป เป้าหมายในระดับสัมปรายิกัตถะนี้ ได้แก่ ความเจริญงอกงามแห่งชีวิตจิตใจที่ก้าวหน้าเจริญเติบใหญ่ขึ้นด้วยคุณธรรม ความใฝ่ใจในศีลธรรม ในเรื่องบุญกุศล ในการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงาม อาศัยศรัทธา ความเสียสละ การมีความมั่นใจในคุณธรรม มีความสงบสุขทางจิตใจ การรู้จักปีติสุข รักคุณภาพชีวิตและความเจริญงอกงามของจิตใจ คลายความยึดติดผูกพันในวัตถุ ไม่ตีค่าผลประโยชน์สูงเกินไปจนต้องไขว่คว้าอันนำมาซึ่งเหตุของการกระทำความชั่วร้าย

นอกจากนี้ พระพุทธเจ้าทรงกล่าวสำทับว่า ตามคติพระพุทธศาสนา บุคคลควรดำเนินชีวิตให้บรรลุจุดหมายอย่างน้อยถึงขั้นสัมปรายิกัตถะ กล่าวคือ เมื่อบรรลุทิฏฐธัมมิกัตถะแล้วก็ดีอยู่ แต่ยังไม่เพียงพอ หรือไม่ควรหยุดอยู่เพียงแค่นั้น ควรก้าวต่อไปให้ได้อย่างน้อยในส่วนของสัมปรายิกัตถะด้วย และผู้ใดประสบจุดหมายหรือประโยชน์ถึงประโยชน์ในขั้นสัมปรายิกัตถะนี้แล้ว พระพุทธเจ้าทรงยกย่องให้เป็น "บัณฑิต" (บัณฑิต แปลว่า ผู้ดำเนินชีวิตด้วยปัญญา เป็นผู้มีชีวิตไม่ว่างเปล่าไร้ค่าในโลกนี้)

พระพุทธเจ้าทรงเน้นหลักธรรมที่จะให้บรรลุประโยชน์ทั้งหลายอีกแนวทางหนึ่ง คือ ทรงย้ำอัปปมาทธรรม อันได้แก่ ความไม่ประมาท ไม่เพิกเฉย ละเลย หรือความเอาใจใส่ กระตือรือร้น ขวนขวาย ความเตรียมพร้อม ระวัง ทำสิ่งที่ควรทำ แก้ไขสิ่งที่ควรแก้ไขปรับปรุง ประกอบกรรมที่ดีงาม โดยถือว่าอัปปมาทธรรมนั้นเป็นคุณธรรมพื้นฐานหรือหลักใหญ่ที่จะให้บรรลุประโยชน์ ทั้งที่เป็นทิฏฐธัมมิกัตถะและสัมปรายิกัตถะ (พระธรรมปิฎก, ๒๕๔๑: ๕๙๖.)

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนานั้น สามารถสรุปลงด้วยคำจำกัดความสั้น ๆ ได้คือ "ความไม่ประมาท" หรือ "อัปปมาทะ" คือ ความเป็นอยู่อย่างไม่ขาดสติ หรือความเพียรที่มีสติเป็นเครื่องเร่งเร้าและควบคุม ได้แก่ การดำเนินชีวิตโดยมีสติเป็นเครื่องกำกับความประพฤติปฏิบัติและการกระทำทุกอย่าง ระมัดระวังตัว ไม่ยอมถลำลงไปในทางเสื่อม แต่ไม่ยอมพลาดโอกาสสำหรับความดีงามและความเจริญก้าวหน้า ตระหนักในสิ่งที่พึงกระทำและพึงระเว้น ใส่ใจสำนึกอยู่เสมอในหน้าที่อันจะต้องรับผิดชอบ ไม่ยอมปล่อยปละละเลย กระทำการด้วยความจริงจัง รอบคอบและรุดหน้าเรื่อยไป (พระเทพเวที, ๒๕๓๕: ๖๗ - ๘.) เพราะความไม่ประมาทเป็นที่รวมแห่งกุศลกรรมความดีทั้งหลาย พระพุทธเจ้าทางเน้นหลักธรรมนี้เพื่อให้บรรลุประโยชน์ทั้งหลาย

***

บรรณานุกรม

กรมการศาสนา. (๒๕๒๕). พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ ๑-๔๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.

เทพเวที, พระ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (๒๕๓๕). พจนานุกรมพุทธศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ ๗). กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.ธรรมปิฎก.

ธรรมปิฎก, พระ (ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๔๑). พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ ๘). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

________. (๒๕๔๓). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ ๙). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (๒๕๓๗). พระสูตร และอรรถกถา, แปล. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ. (มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์เนื่องในโอกาสครบ ๒๐๐ ปี แห่งพระราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕).

เมธีธรรมาภรณ์, พระ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (๒๕๓๕). พุทธศาสนากับปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๓๙). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพฯ: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ จำกัด.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๐). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ - ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

เลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สำนัก. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์แห่งชาติ. (๒๕๓๙). คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับพุทธศาสนา เล่ม ๑-๒. กรุงเทพฯ.

สมพงษ์ จิวะนนท์. พุทธศาสนิก. (๒๕๓๗). พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : สารมวลชน.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (๒๕๓๙). พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๖). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.