ม.ธรรมศาสตร์ มีภาคพิเศษไหม

หลักสูตร

Show

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรการเรียนการสอนครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ

ม.ธรรมศาสตร์ มีภาคพิเศษไหม

หลักสูตรที่เปิดสอน

หลักสูตรการเรียนการสอนครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ

จุฬาฯ พัฒนาหลักสูตรและระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงคณาจารย์และบุคลากรที่มีคุณภาพ มีประสบการณ์ มีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย และเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมรอบด้าน เพื่อให้นิสิตได้รับการศึกษาที่ดีที่สุด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ

หลักสูตรที่เปิดสอนของคณะ วิทยาลัย และสถาบัน

คณะครุศาสตร์

Faculty of Education

  • ภาควิชาของคณะครุศาสตร์ (Faculty of Education)

    คณะครุศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    2. เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา (Educational Communication and Technology)
    3. ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา (Art, Music and Dance Education)
    4. นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา (Educational Policy, Management, and Leadership)
    5. การศึกษาตลอดชีวิต(Lifelong Education)
    6. วิจัยและจิตวิทยาการศึกษา(Educational Research and Psychology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) Bachelor of Education (B.Ed.) 10 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย* (Early Childhood Education)
    2. ประถมศึกษา* (Elementary Education)
    3. มัธยมศึกษา* (Secondary Education)
    4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    5. เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology)
    6. ศิลปศึกษา* (Art Education)
    7. ดนตรีศึกษา* (Music Education)
    8. ธุรกิจศึกษา* (Business Education)
    9. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal Education)
    10. จิตวิทยาการปรึกษา การแนะแนว และการศึกษาพิเศษ (Counseling Psychology, Guidance and Special Education)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) Master of Education (M.Ed.) 21 สาขาวิชาได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย(Early Childhood Education)
    2. ประถมศึกษา (Elementary Education)
    3. พลศึกษา (Physical Education)
    4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    5. การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (นานาชาติ) (Teaching English as a Foreign Language)
    6. การศึกษาคณิตศาสตร์ (Mathematics Education)
    7. การสอนภาษาไทย (Teaching Thai Language)
    8. การศึกษาวิทยาศาสตร์(Science Education)
    9. การสอนสังคมศึกษา (Teaching Social Studies)
    10. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    11. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Technology and Communications)
    12. ศิลปศึกษา (Art Education)
    13. ดนตรีศึกษา (Music Education)
    14. บริหารการศึกษา (Educational Administration)
    15. นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร (Supervision and Curriculum Development)
    16. พัฒนศึกษา (Development Education)
    17. การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal Education)
    18. การวัดและประเมินผลการศึกษา (Educational Measurement and Evaluation)
    19. วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา (Educational Research Methodology)
    20. สถิติการศึกษา (Educational Statistics)
    21. จิตวิทยาการศึกษ (Educational Psychology)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (ป.บัณฑิตชั้นสูง) Higher Graduate Diploma (Higher Grad. Dip.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การจัดการอุดมศึกษา (นานาชาติ) (Higher Education Management)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 12 สาขาวิชาได้แก่

    1. การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education)
    2. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education)
    3. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (Educational Technology and Communications)
    4. หลักสูตรและการสอน (Curriculum and Instruction)
    5. ศิลปศึกษา (Art Education)
    6. บริหารการศึกษา (Educational Administration)
    7. พัฒนศึกษา (Development Education)
    8. อุดมศึกษา (Higher Education)
    9. การศึกษานอกระบบโรงเรียน(Non-Formal Education)
    10. การวัดและประเมินผลการศึกษา (Educational Measurement and Evaluation)
    11. วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา (Educational Research Methodology)
    12. จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology)
  • หมายเหตุ

    • * เปิดสอนโปรแกรมเกียรตินิยมด้วย เริ่มรับนิสิตเข้าโปรแกรม ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์คณะ

คณะจิตวิทยา

Faculty of Psychology

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.S.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. จิตวิทยา (Psychology)
    2. วิทยาศาสตร์จิตวิทยา (นานาชาติ) (Psychological Science)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 5 สาขาวิชาได้แก่

    1. แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology)
    2. แขนงวิชาจิตวิทยาสังคมพื้นฐานและประยุกต์ (Basic and Applied Social Psychology)
    3. แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ (Development Psychology)
    4. แขนงวิชาจิตวิทยาทรัพยากรมนุษย์และการทำงาน (Human Resource and Work Psychology)
    5. แขนงวิชาการวิจัยจิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychological Research)​
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 5 แขนงวิชา ได้แก่

    1. แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology)
    2. แขนงวิชาจิตวิทยาสังคมพื้นฐานและประยุกต์ (Basic and Applied Social Psychology)
    3. แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ (Development Psychology)
    4. แขนงวิชาจิตวิทยาทรัพยากรมนุษย์และการทำงาน (Human Resource and Work Psychology
    5. แขนงวิชาการวิจัยจิตวิทยาประยุกต์ (Applied Psychological Research)​

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์คณะ

คณะทันตแพทยศาสตร์

Faculty of Dentistry

  • ภาควิชาของคณะทันตแพทยศาสตร์ (Faculty of Dentistry)

    คณะทันตแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 16 ภาควิชา ได้แก่

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
    2. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    3. ชีวเคมี (Biochemistry)
    4. ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
    5. ทันตกรรมชุมชน (Community Dentistry)
    6. ทันตกรรมบดเคี้ยว (Occlusion)
    7. ทันตกรรมประดิษฐ์( Prosthodontics)
    8. ทันตกรรมสำหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
    9. ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
    10. ทันตพยาธิวิทยา (Oral Pathology)
    11. ปริทันตวิทยา (Periodontology)
    12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    13. รังสีวิทยา (Radiology)
    14. เวชศาสตร์ช่องปาก(Oral Medicine)
    15. ศัลยศาสตร์ (Oral and Maxillofacial Surgery)
    16. สรีรวิทยา (Physiology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ท.บ.) Doctor of Dental Surgery (D.D.S.) หลักสูตร 6 ปี
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) Graduate Diploma in Clinical Sciences[Grad.Dip.in Clin.Sc. (…)] 5 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
    2. ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
    3. วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontology)
    4. วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก*** (Oral Diagnostic Sciences)
    5. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล(Oral and Maxillofacial Surgery)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 13 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ทันตกรรมจัดฟัน Orthodontics
    2. ทันตกรรมประดิษฐ์ Prosthodontics
    3. ทันตกรรมหัตถการ (นานาชาติ) Operative Dentistry (International Program)
    4. วิทยาเอ็นโดดอนต์ Endodontics
    5. รังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral and Maxilllofacial Radiology
    6. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral and Maxillofacial Surgery
    7. เวชศาสตร์ช่องปาก Oral Medicine
    8. ทันตกรรมสำหรับเด็ก Pediatric Dentistry
    9. ปริทันตศาสตร์ Periodontics
    10. ทันตกรรมบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากและใบหน้า Occlusion and Orofacial Pain
    11. ชีววิทยาช่องปาก (นานาชาติ) Oral Biology (International Program)
    12. ทันตกรรมบูรณะเพื่อความสวยงามและทันตกรรมรากเทียม (นานาชาติ) Esthetic Restorative and Implant Dentistry (International Program)
    13. ทันตกรรมผู้ส่งอายุและการดูแลผู้ป่วยพิเศษ (นานาชาติ) Geriatric and Special Patients Care (International Program)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences Program (Higher.Grad.Dip.in Clin. Sc.)  ได้แก่

    หลักสูตรนานาชาติ International Program ประกอบด้วย 12 แขนงวิชา ดังนี้

    1. พยาธิวิทยาช่องปาก Oral Pathology
    2. ทันตกรรมจัดฟัน Orthodontics
    3. ทันตกรรมหัตถการ Operative Dentistry
    4. วิทยาเด็นโดดอนต์ endodontics
    5. รังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral And Maxillofacial Radiology
    6. ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล Oral And Maxillofacial Surgery
    7. ศัลยศาสตร์ช่องปากและรากฟันเทียม Oral Surgery and Dental Implant
    8. เวชศาสตร์ช่องปาก Oral Medicine
    9. ทันตกรรมเด็ก Pediatric Dentistry
    10. ทันตสาธารณสุข Dental Public Health
    11. ปริทันตวิทยาและรากฟันเทียม Periodontology And Dental Implant
    12. ทันตกรรมบดเคี้ยวและความเจ็บปวดช่องปากใบหน้า Occlusion And Orofacial Pain

    หลักสูตรปกติ ประกอบด้วย 1 สาขาวิชา ดังนี้

    1. ทันตกรรมประดิษฐ์ Prosthodontics
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
    2. ทันตสาธารณสุข (นานาชาติ) (Dental Public Health)
    3. ชีววิทยาช่องปาก (นานาชาติ) Oral Biology (International Program)
    4. ทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ) Orthodontics (International Program) *Joint Degree Tokyo Medical and Dental Dental University
  • หมายเหตุ

    * สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก (ระดับปริญญาโท) มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 3 ภาควิชา คือ ภาควิชาชีวเคมี ทันตกรรมบดเคี้ยว และเวชศาสตร์ช่องปาก

    ** สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก (ระดับปริญญาเอก) มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี ทันตพยาธิวิทยา เภสัชวิทยา และสรีรวิทยา

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะนิติศาสตร์

Faculty of Law

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) Bachelor of Laws (LL.B.)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) Master of Laws (LL.M.) 3 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 นิติศาสตร์ (Laws)
    • 1.2 กฎหมายธุรกิจ (นานาชาติ) (Business Law)
    • 1.3 กฎหมายการเงินและภาษีอากร (Finance and Tax Laws)

    2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 กฎหมายเศรษฐกิจ (Economic Law)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (น.ด.) Doctor of Jurisdical Science (J.S.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    1. นิติศาสตร์ (Laws)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะนิเทศศาสตร์

Faculty of Communication Arts

  • ภาควิชาของคณะนิเทศศาสตร์ (Faculty of Communication Arts)

    คณะนิเทศศาสตร์ประกอบด้วย 5 ภาควิชา

    1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
    2. การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
    3. วารสารสนเทศ (Journalism)
    4. วาทวิทยาและสื่อสารการแสดง (Speech Communication and Performing Arts)
    5. การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Motion Pictures and Still Photography)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) Bachelor of Arts (Communication Arts) [B.A.(Communication Arts)] หลักสูตรไทย 7 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)
    • 1.2. การโฆษณาและการสื่อสารตราสินค้า (Advertising and Brand Communications)
    • 1.3. การออกแบบและผลิตสื่อ (Media Design and Production)
    • 1.4. วารสารสนเทศและสื่อใหม่ (Journalism, Information, and New Media)
    • 1.5. วาทนิเทศ (Speech Communication)
    • 1.6. สื่อสารการแสดง (Performing Arts)
    • 1.7. การภาพยนตร์และภาพนิ่ง (Film and Still Photography)

    2. นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) Bachelor of Arts (Communication Arts)[B.A.(Communication Arts)] (หลักสูตรนานาชาติ) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1. การจัดการการสื่อสาร (นานาชาติ) (Communication Management)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) Master of Arts (Communication Arts) [M.A. (Communication Arts)] (หลักสูตรไทย) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. นิเทศศาสตร์ (Communication Arts) มี 4 กลุ่มวิชา ได้แก่
    • 1.1.1. กลุ่มวิชาวารสารศาสตร์ นโยบาย และดาต้าศึกษา (Journalism, Media Policy and Data Studies)
    • 1.1.2. กลุ่มวิชาการจัดการการสื่อสารแบบบูรณาการ (Integrated Communication Management)
    • 1.1.3. กลุ่มวิชาสื่อและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries)
    • 1.1.4. กลุ่มวิชาวาทนิเทศ (Speech Communication)

    2. นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นศ.ม.) Master of Arts (Communication Arts) [M.A. (Communication Arts)] (หลักสูตรนานาชาติ) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1. การจัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (นานาชาติ) (Strategic Communication Management)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. นิเทศศาสตร์ (Communication Arts)
  • หมายเหตุ

    • หลักสูตรปริญญาตรี 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาไทย 7 สาขาวิชา และหลักสูตรนานาชาติ 1 สาขาวิชา
    • หลักสูตรปริญญาโท 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาไทย 1 สาขาวิชา (ในเวลาราชการ และนอกเวลาราชการ) และหลักสูตรนานาชาติ 1 สาขาวิชา (นอกเวลาราชการ)
    • หลักสูตรปริญญาเอก 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาไทย 1 สาขาวิชา

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะพยาบาลศาสตร์

Faculty of Nursing

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) Master of Nursing Science (M.N.S.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การบริหารการพยาบาล (Nursing Administration)
    2. การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช (Mental Health and Psychiatric Nursing)
    3. พยาบาลศาสตร์ (Nursing Science)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พย.ด.) Doctor Of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. พยาบาลศาสตร์ (นานาชาติ) (Nursing Science)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

Faculty of Commerce and Accountancy

  • ภาควิชาของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี (Faculty of Commerce and Accountancy)

    คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีประกอบด้วย 5 ภาควิชา ได้แก่

    1. การบัญชี (Accounting)
    2. พาณิชยศาสตร์ (Commerce)
    3. การธนาคารและการเงิน (Banking and Finance)
    4. การตลาด (Marketing)
    5. สถิติ (Statistics)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. บัญชีบัณฑิต (บช.บ.) Bachelor of Accountancy (B.Acc.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 การบัญชี (Accounting)

    2. บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) Bachelor of Business Administration (B.B.A.) 5 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การจัดการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ (Entrepreneurial Management)
    • 2.2 ระบบสารสนเทศทางการจัดการ (Management Information Systems)
    • 2.3 การธนาคารและการเงิน (Banking and Finance)
    • 2.4 การตลาด (Marketing)
    • 2.5 การจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ (International Logistics Management)

    3. บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) Bachelor of Business Administration (B.B.A.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (นานาชาติ)* (International Business Management)
    • 3.2. การบัญชี (นานาชาติ) * (Accounting)

    4. สถิติศาสตรบัณฑิต (สต.บ.) Bachelor of Science (Statistics) [B.S. (Statistics)] 3 สาขาวิชาได้แก่

    • 4.1 สถิติและวิทยาการข้อมูล (Statistics and Data Science)
    • 4.2 การประกันภัย (Insurance)
    • 4.3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อธุรกิจ (Information Technology for Business)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) Master of Accountancy (M.Acc.)

    2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 การบัญชี (Accountancy)

    3. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) Master of Business Administration (M.B.A.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 บริหารธุรกิจ (Business Administration)
    • 3.2 การจัดการการบิน (Aviation Management)
    • 3.3 การจัดการโรงพยาบาลและการรักษาสุขภาพ (Hospital and Health Care Management)

    4. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม) Master of Science (M.S.) / (M.Sc.) 8 สาขาวิชา ได้แก่

    • 4.1 สถิติ (Statistics)
    • 4.2 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ (Information Technology in Business)
    • 4.3 การประกันภัย (Insurance)
    • 4.4 การเงิน (ภาษาอังกฤษ) (Finance)
    • 4.5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ (Business Software Development)
    • 4.6 การตลาด (Marketing)
    • 4.7 การกำกับดูแลกิจการ (Corporate Governance)
    • 4.8 วิศวกรรมการเงิน (Financial Engineering) (ภาษาอังกฤษ/สหสาขาวิชา)

    5. การจัดการมหาบัณฑิต (กจ.ม.) Master of Management (M.M.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 5.1 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ* (นานาชาติ) (International Business Management)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Accountancy) [Ph.D.(Acc.)] 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 การบัญชี (Accountancy)

    2. บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (บธ.ด.) (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) Doctor of Business Administration (D.B.A. 3 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การจัดการ (Management)
    • 2.2 การเงิน (Finance)
    • 2.3 การตลาด (Marketing)

    3. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ** (ภาษาอังกฤษ) (Information Technology in Business)
    • 3.2 การเงินเชิงปริมาณ (ภาษาอังกฤษ) (Quantitative Finance)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศระดับปริญญาโทรับผิดชอบโดยภาควิชาพาณิชยศาสตร์

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะแพทยศาสตร์

Faculty of Medicine

  • ภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์(Faculty of Medicine)

    คณะแพทยศาสตร์ประกอบด้วย 21 ภาควิชา ได้แก่

    1. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
    2. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry)
    3. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    4. นิติเวชศาสตร์ (Forensic Medicine)
    5. ปรสิตวิทยา (Parasitology)
    6. พยาธิวิทยา (Pathology)
    7. เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม (Preventive and Social Medicine)
    8. สรีรวิทยา (Physiology)
    9. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics)
    10. จักษุวิทยา (Ophthalmology)
    11. ชีวเคมี (Biochemistry)
    12. เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    13. รังสีวิทยา (Radiology)
    14. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology)
    15. เวชศาสตร์ชันสูตร(Laboratory Medicine)
    16. ศัลยศาสตร์ (Surgery)
    17. ออร์โธปิดิกส์ Orthopedics)
    18. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine)
    19. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology)
    20. โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otolaryngology)
    21. อายุรศาสตร์ (Medicine)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) Doctor of Medicine (M.D.) หลักสูตร 6 ปี

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 10 สาขาวิชา ได้แก่

    1. สุขภาพจิต (Mental Health)
    2. ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ (Medical Parasitology)
    3. การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ (Health Research and Management)
    4. ชีวเคมีทางการแพทย์ (Medical Biochemistry)
    5. ฉายาเวชศาสตร์ (Medical Imaging)
    6. อายุรศาสตร์ (Medicine)
    7. วิทยาศาสตร์การแพทย์* (Medical Sciences)
    8. การพัฒนาสุขภาพ (นานาชาติ) (Health Development) **
    9. เวชศาสตร์การกีฬา *** (Sports Medicine)
    10. วิทยาศาสตร์การแพทย์ (นานาชาติ) ***** (Medical Sciences)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences (Higher.Grad.Dip.of Clin. Sc.) 29 สาขาวิชา ได้แก่

    1. จิตเวชศาสตร์ (Psychiatry) (2552)
    2. จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น (2545) (Child and Adolescent Psychiatry)
    3. จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่นขั้นสูง (2554) (Advanced Child and Adolescent Psychiatry)
    4. นิติเวชศาสตร์ (2555) (Forensic Medicine)
    5. พยาธิวิทยา (2552) (Pathology)
    6. กุมารเวชศาสตร์ (Pediatrics) (2555)
    7. จักษุวิทยา (Ophthalmology) (2552)
    8. รังสีวิทยา (Radiology) (2552)
    9. วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) (2552)
    10. พยาธิวิทยาคลินิก (Clinical Pathology) (2552)
    11. ศัลยศาสตร์ทั่วไป (General Surgery) (2547)
    12. ศัลยศาสตร์ทั่วไป (General Surgery) (2553)
    13. ศัลยศาสตร์ (Surgery) (2553)
    14. ประสาทศัลยศาสตร์ (Neurological Surgery) (2552)
    15. ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา (Urologic Surgery) (2552)
    16. ศัลยศาสตร์ตกแต่ง (Plastic Surgery) (2552)
    17. ศัลยศาสตร์ทรวงอก (Cardiothoracic Surgery) (2553)
    18. กุมารศัลยศาสตร์ (Pediatric Surgery) (2552)
    19. ศัลยศาสตร์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (Colorectal Surgery) (2552)
    20. ออร์โธปิดิกส์ (Orthopedics) (2552)
    21. เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine) (2552)
    22. สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (Obstetrics and Gynecology) (2552)
    23. โสต ศอ นาสิกวิทยา (2552) (Otolaryngology)
    24. อายุรศาสตร์ทั่วไป (2545) (General Medicine)
    25. อายุรศาสตร์ (2552) (Internal Medicine)
    26. ตจวิทยา (Dermatology) (2556)
    27. เวชศาสตร์ครอบครัว**** (2556) (Family Medicine)
    28. โรคลมชัก******* (Epilepsy) (2553)
    29. ฟิสิกส์การแพทย์ (2554) (Medical Physics)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 7 สาขาวิชา ได้แก่

    1. เวชศาสตร์ชุมชน (Community Medicine)
    2. การวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ (Health Research and Management)
    3. ชีวเคมีทางการแพทย์ (Medical Biochemistry)
    4. อายุรศาสตร์ (Medicine)
    5. วิทยาศาสตร์การแพทย์****** (Medical Sciences)
    6. วิทยาศาสตร์การแพทย์ (นานาชาติ)***** (Medical Sciences)
    7. ชีวเวชศาสตร์และชีวเทคโนโลยี (นานาชาติ) ******** (Biomedical Sciences and Biotechnology)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 8 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ จุลชีววิทยา ชีวเคมี พยาธิวิทยา เภสัชวิทยา ปรสิตวิทยา สรีรวิทยา และอายุรศาสตร์
    • ** สาขาวิชาการพัฒนาสุขภาพ (นานาชาติ) ไม่สังกัดภาควิชาใดภาควิชาหนึ่ง แต่อยู่ในความรับผิดชอบของ 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาสรีรวิทยา ชีวเคมี ออร์โธปิดิกส์ฯ และอายุรศาสตร์ และขอความร่วมมือกับ หน่วยงานในจุฬาฯ 2 หน่วยงาน คือ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาลัยการสาธารณสุข
    • *** สาขาวิชาเวชศาสตร์การกีฬา มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาสรีรวิทยา ชีวเคมี ออร์โธปิดิกส์ฯ และอายุรศาสตร์
    • **** สาขาวิชาเวชศาสตร์ครอบครัว มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 8 ภาควิชา คือ ภาควิชาอายุรศาสตร์ เวชศาสตร์ฟื้นฟู รังสีวิทยา จิตเวชศาสตร์ โสต-นาสิก-ลาริงซ์วิทยา เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม จักษุวิทยา และวิสัญญีวิทยา
    • ***** สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา และพยาธิวิทยา
    • ****** สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระดับปริญญาเอก มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา และพยาธิวิทยา
    • ******* สาขาวิชาโรคลมชัก ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มีหน่วยงานรับผิดชอบ คือ ภาควิชาอายุรศาสตร์ รังสีวิทยา จิตเวชศาสตร์ และศูนย์โรคลมชัก สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
    • ******** สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์และเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ) มีหน่วยงานรับผิดชอบ 6 ภาควิชา คือ กายวิภาคศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา และจุลชีววิทยาเป็นหลักสูตรร่วมระหว่างคณะแพทยศาสตร์ และ School of Biological Sciences, University of Liverpool ประเทศอังกฤษ

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะเภสัชศาสตร์

Faculty of Phamaceutical Science

  • ภาควิชาของคณะเภสัชศาสตร์ (Faculty of Phamaceutical Science)

    คณะเภสัชศาสตร์ประกอบด้วย 7 ภาควิชา ได้แก่

    1. วิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม (Pharmaceutics and Industrial Pharmacy)
    2. เภสัชกรรมปฏิบัติ (Pharmacy Practice)
    3. อาหารและเภสัชเคมี (Food and Pharmaceutical chemistry)
    4. เภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
    5. เภสัชวิทยาและสรีรวิทยา (Pharmacology and Physiology)
    6. ชีวเคมีและจุลชีววิทยา (Biochemistry and Microbiology)
    7. เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร(Social and Administrative Pharmacy)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.) Doctor of Pharmacy (Pharm. D.) หลักสูตร 6 ปี 2 สาขาวิชา ได้แก่

    1. เภสัชศาสตร์ (Pharmaceutical Sciences)
    2. การบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.) Master of Science in Pharmacy (M.Sc. in Pharm.) 10 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 เภสัชกรรม (Pharmaceutics)
    • 1.2 เภสัชอุตสาหกรรม (Industrial Pharmacy)
    • 1.3 เภสัชกรรมคลินิก (Clinical Pharmacy)
    • 1.4 เภสัชเคมี (Pharmaceutical Chemistry)
    • 1.5 อาหารเคมีและโภชนศาสตร์ ทางการแพทย์ (Food Chemistry and Medical Nutrition)
    • 1.6 เภสัชเวท (Pharmacognosy)
    • 1.7 เภสัชพฤกษศาสตร์ (Pharmaceutical Botany)
    • 1.8 เภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)
    • 1.9 สรีรวิทยา (Physiology)
    • 1.10 จุลชีววิทยา (Micriology)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Mater of Science (M.Sc.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 เทคโนโลยีเภสัชกรรม (นานาชาติ) (Pharmaceutical Technology)
    • 2.2 วิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง (Cosmetic Science)
    • 2.3 ชีวเวชเคมี (Biomedical Chemistry)
    • 2.4 เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ) (Social and Administrative Pharmacy)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 เภสัชกรรม (Pharmaceutics)
    • 1.2 การบริบาลทางเภสัชกรรม (นานาชาติ) (Pharmaceutical Care)
    • 1.3 เภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)

    2. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 6 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 เทคโนโลยีเภสัชกรรม (นานาชาติ) (Pharmaceutical Technology)
    • 2.2 เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (Pharmaceutical Chemistry and Natural Products)
    • 2.3 เภสัชเวท (Pharmacognosy)
    • 2.4 เภสัชศาสตร์ชีวภาพ * (Biopharmaceutical Sciences)
    • 2.5 ชีวเวชเคมี (Biomedical Chemistry)
    • 2.6 เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร (นานาชาติ) (Social and Administrative Pharmacy)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ชีวภาพระดับปริญญาเอก มีภาควิชารับผิดชอบ 2 ภาควิชา คือ ภาควิชาเภสัชวิทยาและสรีรวิทยา และภาควิชาชีวเคมีและจุลชีววิทยา

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะรัฐศาสตร์

Faculty of Political Science

  • ภาควิชาของคณะรัฐศาสตร์ (Faculty of Political Science)

    คณะรัฐศาสตร์ประกอบด้วย 4 ภาควิชา ได้แก่

    1. การปกครอง (Government)
    2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
    3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
    4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) Bachelor of Arts (Political Science) [B.A. (Political Science)] 4 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การปกครอง (Government)
    2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)
    3. รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
    4. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociology and Anthropology)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) Master of Arts (M.A.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 การปกครอง (Government)
    • 1.2 การเมืองและการจัดการปกครอง (Politics and Governance)
    • 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations)

    2. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) Master of Public Administration (M.P.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)

    3. สังคมวิทยามหาบัณฑิต (สค.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 สังคมวิทยา (Sociology)

    4. มานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มน.ม.) Master of Arts (Anthropology) [M.A. (Anthropology)] 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 4.1 มานุษยวิทยา (Anthropology)

    5. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 5.1 การพัฒนาระหว่างประเทศ (นานาชาติ)* (International Development Studies)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ร.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. รัฐศาสตร์ (Political Science)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) อยู่ในความรับผิดชอบของคณะรัฐศาสตร์

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะวิทยาศาสตร์

Faculty of Science

  • ภาควิชาของคณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)

    คณะวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 14 ภาควิชา ได้แก่

    1. คณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Mathematics and Computer Science)
    2. เคมี (Chemistry)
    3. ชีววิทยา (Biology)
    4. ฟิสิกส์ (Physics)
    5. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    6. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
    7. ธรณีวิทยา (Geology)
    8. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Enviromental Science)
    9. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    10. ชีวเคมี (Biochemistry)
    11. วัสดุศาสตร์ (Material Science)
    12. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    13. วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและ เทคโนโลยีทางการพิมพ์ (Photographic Science and Printing Technology)
    14. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.Sc.) 19 สาขาวิชาได้แก่

    1. คณิตศาสตร์ (Mathematics)
    2. วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science)
    3. เคมี (Chemistry)
    4. เคมีประยุกต์ (นานาชาติ) (Applied Chemistry)
    5. ชีววิทยา (Biology)
    6. สัตววิทยา (Zoology)
    7. ฟิสิกส์ (Physics)
    8. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    9. พันธุศาสตร์ (Genetics)
    10. เคมีวิศวกรรม (Chemical Engineering)
    11. ธรณีวิทยา (Geology)
    12. วิทยาศาสตร์ทั่วไป (General Science)
    13. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)
    14. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    15. ชีวเคมี (Biochemistry)
    16. วัสดุศาสตร์ (Materials Science)
    17. จุลชีววิทยา (Microbiology)
    18. เทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ (Imaging and Printing Technology)
    19. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 25 สาขาวิชา ได้แก่

    1. คณิตศาสตร์ (Mathematics)
    2. คณิตศาสตร์ประยุกต์และวิทยาการคณนา (Applied Mathematics and Computational Science)
    3. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาษาอังกฤษ) (Computer Science and Information Technology)
    4. เคมี (Chemistry)
    5. สัตววิทยา (Zoology)
    6. ฟิสิกส์ (Physics)
    7. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    8. พันธุศาสตร์ (Genetics)
    9. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
    10. เทคโนโลยีเชื้อเพลิง (Fuel Technology)
    11. ธรณีวิทยา (Geology)
    12. โลกศาสตร์ (Earth Sciences)
    13. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    14. ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (Biochemistry and Molecular Biology)
    15. เทคโนโลยีเซรามิก (Ceramic Technology)
    16. วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ (Applied Polymer Science and Textile Technology)
    17. จุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์ (Microbiology and Microbial Technology)
    18. เทคโนโลยีทางภาพ (Imaging Technology)
    19. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
    20. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร (นานาชาติ) (Food Science and Technology)
    21. ปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์** (Petrochemistry and Polymer Science)
    22. เทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ *** (Pulp and Paper Technology)
    23. เทคโนโลยีชีวภาพ **** (Biotechnology)
    24. มาตรวิทยา ***** (Metrological Science)
    25. ธรณีศาสตร์ปิโตรเลียม (นานาชาติ) (Petroleum Geoscience)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 20 สาขาวิชา ได้แก่

    1. คณิตศาสตร์ (Mathematics)
    2. คณิตศาสตร์ประยุกต์และวิทยาการคณนา (Applied Mathematics and Computational Science)
    3. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาษาอังกฤษ)(Computer Science and Information Technology)
    4. เคมี (Chemistry)
    5. สัตววิทยา (Zoology)
    6. ฟิสิกส์ (Physics)
    7. พฤกษศาสตร์ (Botany)
    8. เคมีเทคนิค (Chemical Technology)
    9. ธรณีวิทยา (Geology)
    10. วิทยาศาสตร์ทางทะเล (Marine Science)
    11. ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (Biochemistry and Molecular Biology)
    12. วัสดุศาสตร์ (Materials Science)
    13. จุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์ (Microbiology and Microbial Technology)
    14. เทคโนโลยีทางภาพ (Imaging Technology)
    15. เทคโนโลยีทางอาหาร (Food Technology)
    16. วิทยาศาสตร์มหโมเลกุล* (Macromolecular Science)
    17. ปิโตรเคมี* (Petrochemistry)
    18. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ****** (Biological Sciences)
    19. เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
    20. เทคโนโลยีการเกษตร (นานาชาติ) ******* (Agricultural Technology)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาวิทยาศาสตร์มหโมเลกุล และสาขาวิชาปิโตรเคมี ระดับปริญญาเอก มีภาควิชาที่รับผิดชอบ 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาเคมี เคมีเทคนิค ฟิสิกส์ และวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์
    • ** สาขาวิชาปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ ระดับปริญญาโทเป็นหลักสูตรที่ร่วมมือกันระหว่าง 5 ภาควิชา คือ ภาควิชาเคมี เคมีเทคนิค ฟิสิกส์ วัสดุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายฯ
    • *** สาขาวิชาเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ ระดับปริญญาโทเป็นหลักสูตรที่ร่วมมือกันระหว่าง 3 ภาควิชา คือ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายฯ ภาควิชาเคมีเทคนิค และภาควิชาพฤกษศาสตร์
    • **** สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ระดับปริญญาโทเป็นหลักสูตรที่ร่วมมือกันระหว่าง 8 ภาควิชา คือ ภาควิชาเคมี เคมีเทคนิค จุลชีววิทยา ชีววิทยา เทคโนโลยีทางอาหาร ชีวเคมี พฤกษศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางทะเล ทั้งนี้ได้แก้ไขชื่อ (จากเดิม เทคโนโลยีทางชีวภาพ) เมื่อปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2542
    • ***** สาขาวิชามาตรวิทยา ระดับปริญญาโทเป็นหลักสูตรที่ร่วมมือกันระหว่าง 5 ภาควิชา คือ ภาควิชาฟิสิกส์ เคมี วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์ วิทยาศาสตร์ทั่วไป และธรณีวิทยา
    • ****** สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ระดับปริญญาเอกเป็นหลักสูตรที่ร่วมมือกันระหว่าง 3 ภาควิชา คือ ภาควิชาชีววิทยา ชีวเคมี และพฤกษศาสตร์
    • ******* สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ระดับปริญญาเอกเป็นหลักสูตรที่ร่วมมือกันระหว่าง 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาชีววิทยา พฤกษศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และจุลชีววิทยา

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา

Faculty of Sports Science

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การกีฬา) วท.บ. (วิทยาศาสตร์การกีฬา) Bachelor of Science (Sports Science) B.Sc. (Sports Science) 1 สาขาวิชาได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย (Sports and Exercise Science)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะวิศวกรรมศาสตร์

Faculty of Engineering

  • ภาควิชาและหน่วยงานของคณะคณะวิศวกรรมศาสตร์ (Faculty of Engineering)

    คณะวิศวกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 12 ภาควิชา ดังนี้

    1. วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
    2. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    3. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    4. วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    5. วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
    6. วิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม (Mining and Petroleum Engineering)
    7. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    8. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    9. วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical Engineering)
    10. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    11. วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
    12. วิศวกรรมแหล่งน้ำ (Water Resources Engineering)

    คณะวิศวกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 3 หน่วยงาน ดังนี้

    1. สำนักบริหารหลักสูตรวิศวกรรมนานาชาติ
    2. ศูนย์ระดับภูมิภาคทางวิศวกรรมระบบการผลิต
    3. หน่วยบูรณาการศาสตร์ด้านวิศวกรรม
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) Bachelor of Engineering (B.Eng.) มี 17 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    1. วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
    2. วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    3. วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    4. วิศวกรรมเรือ (Naval Architecture and Marine Engineering)
    5. วิศวกรรมยานยนต์ (Automotive Engineering)
    6. วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    7. วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
    8. วิศวกรรมทรัพยากรธรณี (Georesources Engineering)
    9. วิศวกรรมปิโตรเลียม (Petroleum Engineering)
    10. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    11. วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    12. วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
    13. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    14. วิศวกรรมนาโน (หลักสูตรนานาชาติ) (Nano-Engineering)
    15. วิศวกรรมการออกแบบและการผลิตยานยนต์ (หลักสูตรนานาชาติ) (Automotive Design and Manufacturing Engineering)
    16. วิศวกรรมอากาศยาน (หลักสูตรนานาชาติ) (Aerospace Engineering)
    17. วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ) (Information and Communication Engineering)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) Master of Engineering (M.Eng.) 15 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    • 1.1 วิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)
    • 1.2 วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    • 1.3 วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    • 1.4 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    • 1.5 วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering)
    • 1.6 วิศวกรรมทรัพยากรธรณีและปิโตรเลียม (หลักสูตรนานาชาติ) (Georesources and Petroleum Engineering)
    • 1.7 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    • 1.8 วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    • 1.9 วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering)
    • 1.10 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    • 1.11 วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering)
    • 1.12 วิศวกรรมแหล่งน้ำ(Water Resources Engineering)
    • 1.13 การจัดการทางวิศวกรรม (หลักสูตรนานาชาติ) (Engineering Management)
    • 1.14 วิศวกรรมชีวเวช (หลักสูตรสหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
    • 1.15 วิศวกรรมและเทคโนโลยีการป้องกันประเทศ (Defense and Engineering Technology)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 5 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    • 2.1 วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ (Computer Science)
    • 2.2 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
    • 2.3 เทคโนโลยีนิวเคลียร์ (Nuclear Technology)
    • 2.4 วิศวกรรมชีวเวช (หลักสูตรสหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
    • 2.5 ระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรม (Spatial Information System in Engineering) *
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 11 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    • 1.1 วิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ) (Civil Engineering)
    • 1.2 วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering)
    • 1.3 วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)
    • 1.4 วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering)
    • 1.5 วิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering) **
    • 1.6 วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering)
    • 1.7 วิศวกรรมสำรวจ (Survey Engineering)
    • 1.8 วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (Metallurgical and Materials Engineering) **
    • 1.9 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering)
    • 1.10 วิศวกรรมนิวเคลียร์ (Nuclear Engineering) **
    • 1.11 วิศวกรรมแหล่งน้ำ(Water Resources Engineering) **

    2. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ประกอบด้วย

    • 2.1 วิศวกรรมชีวเวช (หลักสูตรสหสาขาวิชา) (Biomedical Engineering)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรม จะปิดหลักสูตรตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป
    • ** หลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี วิศวกรรมโลหการและวัสดุ วิศวกรรมแหล่งน้ำ วิศวกรรมนิวเคลียร์ ใช้ชื่อปริญญาภาษาอังกฤษว่า Doctor of Engineering (D.Eng.)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะศิลปกรรมศาสตร์

Faculty of Fine and Applied Arts

  • ภาควิชาของคณะศิลปกรรมศาสตร์ (Faculty of Fine and Applied Arts)

    คณะศิลปกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 4 ภาควิชา

    1. ดุริยางคศิลป์ (Music)
    2. ทัศนศิลป์ (Visual Arts)
    3. นาฏยศิลป์ (Dance)
    4. นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) Bachelor of Fine and Applied Arts (B.F.A.) 4 สาขาวิชาได้แก่

    • 1. ดุริยางคศิลป์ (Music) มี 2 วิชาเอก คือ
    • 1.1 ดุริยางคศิลป์ไทย (Thai Music)
    • 1.2 ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (Western Music)
    • 2. ทัศนศิลป์ (Visual Arts)
    • 3. นาฏยศิลป์ (Dance)
    • 4. นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.)2 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 ดุริยางค์ไทย (Thai Music)
    • 1.2 นาฏยศิลป์ไทย (Thai Dance)

    2. ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.) Master of Fine and Applied Arts (M.F.A) 2 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 นฤมิตศิลป์ (Creative Arts)
    • 2.2 ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (Western Music)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศป.ด.) Doctor of Fine and Applied Arts (D.F.A.)

    2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 นาฏยศิลป์ไทย (Thai Theater Dance)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะเศรษฐศาสตร์

Faculty of Economics

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) Bachelor of Economics (B.Econ.)

    2. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 เศรษฐศาสตร์ (นานาชาติ) (Economics)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ศ.ม.) Master of Economics (M.Econ.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 เศรษฐศาสตร์ (Economics)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการจัดการบริการสุขภาพ (นานาชาติ) (Health Economics and Health Care Management)

    3. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 4 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 เศรษฐศาสตร์และการเงินระหว่างประเทศ (นานาชาติ) (International Economics and Finance)
    • 3.2 เศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ (นานาชาติ) (Business and Managerial Economics)
    • 3.3 เศรษฐศาสตร์แรงงานและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (นานาชาติ) (Labour Economics and Human Resource Management)
    • 3.4 เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economy)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศ.ด.) Doctor of Philosophy (Economics) Ph.D. (Economics) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 เศรษฐศาสตร์ (นานาชาติ) (Economics)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

Faculty of Architecture

  • ภาควิชาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture)

    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture)
    2. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)
    3. การวางแผนภาคและเมือง (Urban and Regional Planning)
    4. การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)
    5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)
    6. เคหการ (Housing)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) Bachelor of Architecture (B.Arch.) 4 สาขาวิชาได้แก่

    • 1.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)
    • 1.2 สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture)
    • 1.3 สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture)
    • 1.4 สถาปัตยกรรมผังเมือง (Urban Architecture)

    2. การออกแบบอุตสาหกรรมบัณฑิต (ออ.บ.) Bachelor of Industrial Design (B.I.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)

    3. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) (หลักสูตร 4 ปี) Bachelor of Arts (B.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 การออกแบบนิเทศศิลป์ (นานาชาติ) (Communication Design)

    4. ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) Bachelor of Landscape Architecture (B.L.A.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 4.1 ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)

    5. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) (หลักสูตร 4 ปี) Bachelor of Science (B.Sc.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 5.1 การออกแบบสถาปัตยกรรม (นานาชาติ)** (Architectural Design)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) Master of Architecture (M.Arch.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)
    • 1.2 การออกแบบสถาปัตยกรรม (นานาชาติ) (Architectural Design)

    2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท..ม.) Master of Science (M.Sc.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)

    3. การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (ผ.ม.) Master of Urban and Regional Planning (M.U.R.P.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 3.1 การวางผังและออกแบบเมือง (Urban Planning and Design)

    4. การออกแบบอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ออ.ม.) Master of Industrial Design (M.I.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 4.1 การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design)

    5. ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.สถ.ม.) Master of Landscape Architecture (M.L.A.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 5.1 ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture)

    6. เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต (คพ.ม.) Master of Housing Development (M. H. D.)

  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สถ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 สถาปัตยกรรม (Architecture)

    2. การวางแผนภาคและเมืองดุษฎีบัณฑิต (ผ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1 การวางผังและออกแบบเมือง (Urban Planning and Design)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะสหเวชศาสตร์

Faculty of Allied Health Sciences

  • ภาควิชาของคณะสหเวชศาสตร์ (Faculty of Allied Health Sciences)

    คณะสหเวชศาสตร์ประกอบด้วย 6 ภาควิชา ได้แก่

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
    2. เคมีคลินิก (Clinical Chemistry)
    3. จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy)
    4. เวชศาสตร์การธนาคารเลือดและจุลชีววิทยาคลินิก (Transfusion Medicine and Clinical Microbiology)
    5. โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics)
    6. รังสีเทคนิคและฟิสิกส์ทางการแพทย์ (Radiological Technology and Medical Physics)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) Bachelor of Science (Medical Technology) B.Sc. (Medical Technology) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 เทคนิคการแพทย์ (Medical Technology)

    2. วิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบำบัด) วท.บ. (กายภาพบำบัด) Bachelor of Science (Physical Therapy) B.Sc. (Physical Therapy) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 กายภาพบำบัด (Physical Therapy)

    3. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) Bachelor of Science (B.Sc.) 2 สาขาวิชา ได้แก่

    • 3.1 โภชนาการและการกำหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics)
    • 3.2 รังสีเทคนิค (Radiological Technology)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 5 สาขาวิชา ได้แก่

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
    2. ชีวเคมีคลินิกและอณูทางการแพทย์ (Clinical Biochemistry and Molecular Medicine)
    3. วิทยาศาสตร์โลหิตวิทยาคลินิก (Clinical Hematology Sciences)
    4. อาหารและโภชนาการ (นานาชาติ) (Food and Nutrition)
    5. วิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์และวิทยาภูมิคุ้มกัน (Molecular Science of Medical Microbiology and Immunology)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    1. กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
    2. ชีวเคมีคลินิกและอณูทางการแพทย์ (Clinical Biochemistry and Molecular Medicine)
    3. อาหารและโภชนาการ (นานาชาติ) (Food and Nutrition)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะสัตวแพทยศาสตร์

Faculty of Veterinary Science

  • ภาควิชาของคณะสัตวแพทยศาสตร์ (Faculty of Veterinary Science)

    คณะสัตวแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 10 ภาควิชา ได้แก่

    1. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
    2. ภาควิชาสรีรวิทยา (Physiology)
    3. ภาควิชาสัตวบาล (Animal Husbandry)
    4. ภาควิชาเภสัชวิทยา (Pharmacology)
    5. ภาควิชาพยาธิวิทยา (Pathology)
    6. ภาควิชาศัลยศาสตร์ (Veterinary Surgery)
    7. ภาควิชาอายุรศาสตร์ (Veterinary Medicine)
    8. ภาควิชาสูติศาสตร์-เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุ์ (Obstetrics, Gynaecology & Reproduction)
    9. ภาควิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข (Veterinary Public Health)
    10. ภาควิชาจุลชีววิทยา (Veterinary Microbiology)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.) Doctor of Veterinary Medicine (D.V.M.) หลักสูตร 6 ปี

  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์คลินิก (ป.บัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์-คลินิก) Graduate Diploma of Veterinary Clinical Sciences (Grad. Dip. of Vet Clin.Sci.)

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 10 สาขาวิชาได้แก่

    1. พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ (Veterinary Pathobiology)
    2. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Pharmacology)
    3. ศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Surgery)
    4. สรีรวิทยาการสัตว์ (Animal Physiology)
    5. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding)
    6. อาหารสัตว์ (Animal Nutrition)
    7. วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ (Theriogenology)
    8. อายุรศาสตร์สัตวแพทย์ (Veterinary Medicine)
    9. สัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health)
    10. ชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Biosciences)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Docter of Philosophy (Ph.D.) 6 สาขาวิชาได้แก่

    1. พยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ (Veterinary Pathobiology)
    2. สรีรวิทยาการสัตว์ (Animal Physiology)
    3. วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ (Theriogenology)
    4. อายุรศาสตร์สัตวแพทย์ (Veterinary Medicine)
    5. สัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health)
    6. ชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ (Veterinary Biosciences)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

คณะอักษรศาสตร์

Faculty of Arts

  • ภาควิชาของคณะอักษรศาสตร์ (Faculty of Arts)

    คณะอักษรศาสตร์ประกอบด้วย 11 ภาควิชา ได้แก่

    1. บรรณารักษศาสตร์ (Library Science)
    2. ประวัติศาสตร์ (History)
    3. ปรัชญา (Philosophy)
    4. ภาษาตะวันตก (Western Languages)
    5. ภาษาตะวันออก (Eastern Languages)
    6. ภาษาไทย (Thai)
    7. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
    8. ภาษาอังกฤษ (English)
    9. ภูมิศาสตร์ (Geography)
    10. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
    11. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. อักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 14 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. สารนิเทศศึกษา (Information Studies)
    • 1.2. ประวัติศาสตร์(History)
    • 1.3. ปรัชญา (Philosophy)
    • 1.4. ภาษาฝรั่งเศส (French)
    • 1.5. ภาษาเยอรมัน (German)
    • 1.6. ภาษาสเปน (Spanish)
    • 1.7. ภาษาอิตาเลียน (Italian)
    • 1.8. ภาษาญี่ปุ่น (Japanese)
    • 1.9. ภาษาบาลีและสันสกฤต (Pali and Sanskrit)
    • 1.10. ภาษาจีน (Chinese)
    • 1.11. ภาษาไทย (Thai)
    • 1.12. ภาษาอังกฤษ (English)
    • 1.13. ภูมิศาสตร์ (Geography)
    • 1.14. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)

    2. หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต (อ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1. ภาษาและวัฒนธรรม (นานาชาติ) (Language and Culture)
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) Graduate Diploma (Grad. Dip.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การล่ามเพื่อชุมชน***** (Community Interpreting)
  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อ.ม.) Master of Arts (M.A.) 18 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library and Information Science)
    • 1.2. ประวัติศาสตร์ (History)
    • 1.3. ประวัติศาสตร์ศึกษา (Historical Studies)
    • 1.4. ปรัชญา (Philosophy)
    • 1.5. ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส (French Language and Literature)
    • 1.6. ภาษาเยอรมัน (German)
    • 1.7. วรรณคดีญี่ปุ่น ( Japanese Literature)
    • 1.8. ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศ (Japanese as a Foreign Language)
    • 1.9. ภาษาบาลีและสันสกฤต (Pali and Sanskrit)
    • 1.10. ภาษาจีน (Chinese)
    • 1.11. ภาษาไทย (Thai)
    • 1.12. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
    • 1.13. ภาษาอังกฤษ (English)
    • 1.14. การแปลและการล่าม* (Translation and Interpretation)
    • 1.15. ภูมิศาสตร์ (Geography)
    • 1.16. ศิลปการละคร (Dramatic Arts)
    • 1.17. วรรณคดีเปรียบเทียบ (Comparative Literature)
    • 1.18. ไทยศึกษา (นานาชาติ)** (Thai Studies)

    2. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 1 สาขาวิชาได้แก่

    • 2.1. พุทธศาสน์ศึกษา*** (Buddhist Sudies)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 9 สาขาวิชา ได้แก่

    1. ประวัติศาสตร์ (History)
    2. ปรัชญา (Philosophy)
    3. ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส (French Language and Literature)
    4. ภาษาเยอรมัน (German)
    5. ภาษาจีน (Chinese)
    6. ภาษาไทย (Thai)
    7. ภาษาศาสตร์ (Linguistics)
    8. วรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ (Literature and Comparative Literature)
    9. ไทยศึกษา (นานาชาติ)** (Thai Studies)
  • หมายเหตุ

    • * สาขาวิชาการแปลและการล่าม มีภาควิชารับผิดชอบ 5 ภาควิชา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาตะวันตก ภาษาตะวันออก ภาษาไทย และภาษาศาสตร์
    • ** สาขาวิชาไทยศึกษา มีหน่วยงานรับผิดชอบ คือ ศูนย์ไทยศึกษา
    • *** สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา อยู่ในความรับผิดชอบของคณะอักษรศาสตร์
    • **** สาขาวิชาภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศ อยู่ในความรับผิดชอบของภาควิชาภาษาตะวันออก (สาขาวิชาภาษาจีน)
    • ***** สาขาวิชาการล่ามเพื่อชุมชน มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ ศูนย์การแปลและการล่ามเฉลิมพระเกียรติ

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร

School of Agriculture Resources

  • หลักสูตรปริญญาตรี ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) Bachelor of Arts (B.A.) 1 สาขาวิชา ได้แก่

    1. การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร (Agricultural Resources Administration)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

บัณฑิตวิทยาลัย

Graduate School

  • หลักสูตรปริญญาโท ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) Master of Science (M.Sc.) 13 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (Medical Microbiology)
    • 1.2 สรีรวิทยา (Physiology)
    • 1.3 เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    • 1.4 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)
    • 1.5 การจัดการสารอันตรายและสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) (Hazardous Substance and Environmental Management)
    • 1.6 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (Logistics and Supply Chain Management)
    • 1.7 ทันตชีววัสดุศาสตร์ (Dental Biomaterials Science)
    • 1.8 ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม (Technopreneurship and Innovation Management)
    • 1.9 การบริหารกิจการทางทะเล (Maritime Administration)
    • 1.10 เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน (Energy Technology and Management)
    • 1.11 การจัดการความเสี่ยงและภัยพิบัติ (Risk and Disaster Management)
    • 1.12 ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาทางคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ) (Bioinformatics and Computational Biology)
    • 1.13 วิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยี (นานาชาติ) (Nanoscience and Technology)

    2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) Master of Arts (M.A.) 9 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 ยุโรปศึกษา (นานาชาติ) (European Studies)
    • 2.2 การจัดการทางวัฒนธรรม (นานาชาติ) (Cultural Management)
    • 2.3 การจัดการทางวัฒนธรรม* (Cultural Management)
    • 2.4 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (นานาชาติ)(Southeast Asian Studies)
    • 2.5 ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ (นานาชาติ) (English as an International Language)
    • 2.6 พัฒนามนุษย์และสังคม (Human and Social Development)
    • 2.7 เกาหลีศึกษา (นานาชาติ) (Korean Studies)
    • 2.8 สิ่งแวดล้อม การพัฒนาและความยั่งยืน (นานาชาติ) (Environment, Development and Sustainability)
    • 2.9 ดนตรีบำบัด (หลักสูตรนานาชาติ) (Music Therapy)
  • หลักสูตรปริญญาเอก ที่รับผิดชอบโดยคณะ

    1. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 11 สาขาวิชา ได้แก่

    • 1.1 จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (Medical Microbiology)
    • 1.2 สรีรวิทยา (Physiology)
    • 1.3 เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    • 1.4 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental Science)
    • 1.5 การจัดการสารอันตรายและสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) (Hazardous Substance and Environmental Management)
    • 1.6 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน (นานาชาติ) Logistics and Supply Chain Management (International Program)
    • 1.7 ชีวเวชศาสตร์ (Biomedical Sicences)
    • 1.8 ทันตชีววัสดุศาสตร์ (Dental Biomaterials Science)
    • 1.9 วิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยี (นานาชาติ) (Nanoscience and Technology)
    • 1.10 ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม (Technopreneurship and Innovation Management)
    • 1.11 ชีวสารสนเทศศาสตร์และชีววิทยาทางคอมพิวเตอร์ (นานาชาติ) (Bioinformatics and Computational Biology)

    2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) Doctor of Philosophy (Ph.D.) 3 สาขาวิชา ได้แก่

    • 2.1 ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ (นานาชาติ) (English as an International Language)
    • 2.2 สิ่งแวดล้อม การพัฒนาและความยั่งยืน (นานาชาติ) (Environment, Development and Sustainability)
    • 2.3 ยุโรปศึกษา (นานาชาติ) (European Studies)

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

วิทยาลัยประชากรศาสตร์

College of Population Studies

  • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์

    รับสมัครผู้ที่จบการศึกษาวุฒิปริญญาตรีที่สนใจปัญหาและแนวทางพัฒนาประชากร
    การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผู้สมัครสามารถเลือกสมัครแผน ก แบบ ก1 (เน้นวิจัย ทำวิทยานิพนธ์) หรือ แผน ก แบบ ก2 (เรียนรายวิชา ทำวิทยานิพนธ์) โดยผู้สมัครต้องมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนด

    รายละเอียดหลักสูตร

  • หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประชากรศาสตร์

    รับสมัครผู้ที่จบการศึกษาวุฒิปริญญาตรีและวุฒิปริญญาโทที่สนใจปัญหาและแนวทางพัฒนาประชากร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผู้สมัครสามารถเลือกสมัครแผนการเรียนที่เน้นวิจัย ทำวิทยานิพนธ์ หรือ แผนการเรียนที่เรียนรายวิชา ทำวิทยานิพนธ์ โดยผู้สมัครต้องมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ
    ผ่านเกณฑ์ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด หลักสูตรมีทุนค่าเล่าเรียนและทุนผู้ช่วยสอนเพื่อสนับสนุนผู้เรียน

    รายละเอียดหลักสูตร

  • รายละเอียดเพิ่มเติม

    • โทรศัพท์ 0 2218 7344
    • อีเมล 
    • เว็บไซต์ www.cps.chula.ac.th

รายละเอียดเพิ่มเติม เข้าสู่เว็บไซต์

ม.ธรรมศาสตร์ มีภาคพิเศษไหม

จุฬาฯ เป็นที่ที่เราได้มาพบตัวเองจริงๆ และเป็นช่วงเวลาที่สนุกที่สุด

คุณรสสุคนธ์ กองเกตุ (ครูเงาะ) นิสิตเก่า คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาคพิเศษ มธ คืออะไร

“หลักสูตรโครงการพิเศษ” หมายความว่า หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้งบประมาณ ข้อ ๔ หลักเกณฑ์การลงทะเบียนเรียนรายวิชาข้ามหลักสูตร (๑) รายวิชานั้นต้องมีตารางเวลาเรียนระหว่างศูนย์ห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง mo นาที

ม.ธรรมศาสตร์ มีสาขาอะไรบ้าง

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะนิติศาสตร์.
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.
คณะรัฐศาสตร์.
คณะเศรษฐศาสตร์.
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์.
คณะศิลปศาสตร์.
วิทยาลัยนวัตกรรม.
วิทยาลัยสหวิทยาการ.

ม.ธรรมศาสตร์ มีกี่สาขา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดการเรียน การสอนทั้งหมด 4 ระดับการศึกษา ได้แก่ ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท และ ระดับปริญญาเอก โดยมีสาขาวิชา และโปรแกรมการศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนรวมทั้งสิ้น 271สาขาวิชา หรือ 305 โปรแกรม ซึ่งสามารถจำแนกรายละเอียดได้ดังนี้

ม.ธรรมศาสตร์เด่นเรื่องอะไร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ชื่อเสียงด้านการเรียนการสอน การสอบที่เข้มงวด ส่งผลให้ผู้ที่เรียนจบมีคุณภาพสูง จากรุ่นสู่รุ่นมายาวนาน นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ บริหาร บัญชี สังคม เศรษฐศาสตร์