เฉลย แบบฝึกหัด มนุษยสัมพันธ์ในการ ทํา งาน

ใบความรูว้ ชิ ามนษุ ยสมั พนั ธใ์ นการทางาน บทท่ี5 ชื่อหนว่ ย การพัฒนาตนเพือ่ ความกา้ วหน้าในชวี ิตและการทางาน จำนวนช่ัวโมง 4 ช.ม. สำระสำคญั บุคคลท่รี จู้ ักตนเองยอ่ มได้เปรยี บผ้ทู ี่ไม่รู้จักตนเอง ไมร่ ู้วา่ ตนเปน็ ใคร ตอ้ งการอะไร และเปา้ หมายในชวี ิต คืออะไร ซึ่ง จะทาให้ชวี ิตเกดิ ความล้มเหลวและไม่มีความสุข ดังนน้ั การรู้จักและเขา้ ใจตนเองจะทาให้เรารตู้ ัวตนของเรา อย่างรอบด้าน มี เป้าหมายในชีวิตที่ชัดเจนและนาไปส่กู าร พัฒนาตนเองในด้านที่ดีให้มีศักยภาพมากกว่าเดิม และ ปรับปรุงในด้านที่ไม่ดีและ สง่ ผลเสยี เป็นอปุ สรรคต่อการ ดาเนินชีวิตและการทางาน ท้ังนก้ี ารรู้จักตนเองและพัฒนา ตนเองมีแนวคิดและหลกั การต่าง ๆ ทผ่ี เู้ รยี นควรศกึ ษา เพ่อื ให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ความใจ และสามารถนาความรู้ ทไ่ี ด้รบั ไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ิตส่วนตัว และ การทางานทั้งในปจั จุบันและอนาคตได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. ประยกุ ต์ใชก้ ระบวนการทางจติ วทิ ยาในการรู้จกั ตนเอง และพัฒนาตนเองเพื่อความกา้ วหนา้ ในชีวิตและการ ทางาน จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของการรู้จกั ตนเองและการพฒั นาตนเองได้ 2. อธิบายแนวคดิ เกีย่ วกบั การรจู้ ักตนเองและการพฒั นาตนเองได้ กำรรู้จกั ตนเอง ควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรเรียนรู้ ตนหรือตวั ตน (Self) หมายถึง ความเข้าใจและความรู้สึกเก่ยี วกับตนเองและวิถีทางในการดาเนินชีวิต ทเี่ ป็น ของตนเอง ซ่ึงแตล่ ะบคุ คลจะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ตนเปน็ แกน่ แทข้ องบุคลิกภาพ ซ่ึงรวมไปถึง รปู ร่าง หน้าตา ลักษณะนิสัย ความสามารถ ความถนัด สติปัญญา รสนิยม ค่านิยม อุดมคติ โดยตนเป็นท่ีรวม ของแบบแผนพฤติกรรม การกระทาต่าง ๆ ของบุคคล ซ่ึงเป็นลักษณะเฉพาะของบคุ คล ตนพัฒนาจากการที่ อินทรีย์ คือ ร่างกายและจิตใจ มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เกดิ เปน็ ค่านิยม เจตคติ การรับรู้ และความรสู้ กึ กำรรู้จักตนเอง หมายถึงการตระหนักรู้ในตัวเองรู้จักตัวเองว่าเป็นอย่างไร ลักษณะเฉพาะของตนเอง เป็น อยา่ งไร รวู้ า่ ตัวเองเกดิ ความรสู้ ึกอะไรรวู้ ่าอะไรเป็นสาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ ความคิด อารมณ์ ความรสู้ กึ ต่าง ๆ รวมทง้ั รู้ว่าขอ้ ดี ข้อเสีย ของตนเองคืออะไร โดยการรู้จกั ตนเองตามความเป็นจรงิ เหล่าน้มี ีความสาคัญ หลายประการ พอสรุปได้ดังนี้ ควำมสำคัญของกำรร้จู ักตนเอง ทาให้เกิดความมั่นใจในในข้อดีตนเองมากข้ึน ซ่ึงจะช่วยให้เกิดการพัฒนาตนเองในด้านท่ีดี ต่อไป และนาไปส่กู ารนาข้อดีท่ีตนเองมไี ปใช้ให้ เกิดประโยชนต์ ่อสังคมส่วนรวมในโอกาสต่อไป ทาให้สามารถปรบั ตัวเขา้ กับผู้อื่นได้ เชน่ เมอ่ื รู้วา่ ตนเองมนี สิ ยั ขโ้ี มโห หงดุ หงิดงา่ ย ซ่งึ ย่อมไม่มี ใคร ต้องการคบหาสมาคมดว้ ย ดังนัน้ ตนเองก็ จะเกิดการปรบั ปรุงนิสยั เพ่อื ให้เกิดมิตรภาพ ทดี่ ีกบั ผู้อ่ืนได้ ทาให้สามารถควบคุมและแสดงอารมณ์ ความความรู้สึกออกมาได้อย่างเหมาะสม เช่น เม่ือรู้ตัวว่า ตนเองเกิดความไมพ่ งึ พอใจสง่ิ ใด ก็จะสามารถควบคุม ตนเองไมใ่ หแ้ สดงกริ ิยา มารยาทท่ีไม่ดอี อกมาได้

ทาให้เกิดความสุขในชีวิต เพราะเม่ือรู้จักและ เข้าใจตนเองว่าชอบหรอื ไม่ชอบอะไร ก็จะทาให้ เกิด การเลือกทาในสงิ่ ที่ชอบ ส่ิงทร่ี กั ซงึ่ จะทาให้ ตนเองเกดิ ความสขุ ท้ังทางกายและทางใจ ทาให้มีเปา้ หมายในการดาเนินชีวิตท่ีชัดเจน เช่น เมอ่ื รวู้ า่ ตนเองถนัดและตอ้ งการประกอบ อาชพี ใด กจ็ ะเรียนรูแ้ ละฝกึ ฝนตนเอง จนสามารถ ประกอบอาชีพท่ตี อ้ งการได้ แนวคิดเก่ียวกบั กำรรู้จักตนเอง แนวคิดเกย่ี วกับการรู้จกั ตนเองหรอื เรียกอีกอยา่ งหนึง่ ว่า อตั มโนทศั น์ (Self-concept) หมายถึง ความคิด การ รบั รู้ในความสามารถและทุกส่งิ ทเ่ี ก่ียวกบั ตนเอง ซึ่งเกดิ จากความเชอ่ื ความรสู้ ึก และ การตคี วามทบี่ ุคคลมีตอ่ ตนเอง ตอ่ รปู ร่าง ลกั ษณะ ความสามารถ และคุณค่าของตนเอง อัตมโนทัศน์จะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมท่ีบคุ คลจะแสดงออกมาตามพฤติกรรมตามการรบั รู้ที่มตี ่อ ตนเองถ้า บคุ คลมอี ตั มโนทศั น์ในทางบวก ก็จะมพี ฤติกรรมทแ่ี สดงความรสู้ ึกทเ่ี หน็ คณุ คา่ ของตน มีความมัน่ ใจ สามารถปรับตัวได้ดี เผชญิ กบั ความเครยี ดและความกดดันได้ดี มีคณุ ลักษณะท่พี ร้อมจะอานวยประโยชน์ ใหก้ บั สังคม เป็นผ้ทู ีม่ ีความสขุ และความสาเร็จ ในชีวิต ส่วนผู้ที่มีอัตมโนทัศน์ในทางลบ ก็จะมีความรู้สึกด้อย ไม่มีคุณค่า ขาดความเช่ือมั่นไร้ความสามารถ ไม่สามารถแก้ไข ปัญหาของตนไดป้ ระสบความล้มเหลวในการ ดาเนินชวี ติ และการทางาน แนวคิดเกี่ยวกับการรู้จกั ตนเองหรอื แนวคิดเกี่ยวกบั อตั มโนทัศน์มีนักวิชาการหลายท่านไดศ้ ึกษาไว้ ดังตัวอย่าง ตอ่ ไปนี้ คำร์ล อำร์ โรเจอร์ (Carl R. Roger) โรเจอร์ได้ให้แนวคดิ ว่าอัตมโนทัศนม์ ี 3 องค์ประกอบ ดงั น้ี 1. ตนตามท่ตี นเองรบั รู้ (Precieve Self) หมายถงึ ตนตามท่ตี วั เอง รบั รู้หรอื คดิ ว่าตนเองเปน็ โดยเลือกทีร่ ับรู้ตามทต่ี นเอง อยากให้เป็น การมองตน ลักษณะน้ีจึงอาจไม่ตรงกบั ภาพที่ผอู้ ่ืนเห็นหรือรับรู้ เช่น เก่ง ไม่ม่ันใจในตนเอง จิตใจดี ช่าง พูด ข้ีอาย เก็บตวั 2. ตนตามท่ีเปน็ จริง (Real Self) หมายถึง ตนท่ีเปน็ ตัวตนจรงิ ๆ ของบคุ คลนนั้ สามารถรบั รคู้ วามนกึ คดิ ของตนได้ แต่ใน บางกรณอี าจบุคคล อาจไม่ทราบไมเ่ หน็ ขอ้ เท็จจริงของตนอนั เกดิ จากสาเหตุต่าง ๆ เชน่ รสู้ ึกเสยี ใจ ผิดหวัง 3. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) หมายถงึ ตนท่เี ราอยากจะเป็น เป็น ตวั ตนที่อาจจะมี ความสมบรู ณ์แบบ หรือมบี คุ ลกิ ลักษณะซ่ึงเป็นทปี่ รารถนาของตน เช่น ํรา่ รวย มีชอ่ื เสียง มีคนยกย่องชื่นชม โบลสแ์ ละดำเวนส์ พอร์ท (Bole and Davenport) ไดใ้ ห้แนวคิดว่าอัตมโนทศั น์มี 5 องคป์ ระกอบดงั นี้ 1. ตนตามคาดหวัง (Self-expectation) เป็นตนในอดุ มคติ เป็นการคาดหวงั ตนเองในลกั ษณะตา่ ง ๆ 2. ตนตามทมี่ องเหน็ ตนเอง (Self-perception) เปน็ การมองตนเองและรบั ร้วู ่าตนเปน็ อยา่ งไร 3. ตนตามที่เป็นจรงิ (Real Self) เปน็ ตวั ตนทเี่ ปน็ ผลมาจากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิของตนเอง 4. ตนท่ีคนอนื่ คาดหวงั (Other's Expectation) เปน็ ตวั ตนที่ผู้อ่ืนคาดหวังต้องการจะ ใหเ้ ราเป็น 5. ตนตามที่คนอื่นรับรู้ (Other's Perception) เป็นตัวตนท่ีผู้อื่นรับรู้และมองในตัวเรา โดยเป็นผลจากการเห็นการ ประพฤติปฏิบตั ขิ องเรา วลิ ลเลยี ม เจมส์ (William James) ได้ให้แนวคดิ วา่ อตั มโนทัศนม์ ี 2 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. Me หมายถึง ทกุ ส่ิงทกุ อย่างที่บคุ คลรบั รแู้ ละเข้าใจวา่ เปน็ ตนเอง 2. | หมายถึง ประสบการณท์ บี่ ุคคลรบั มา โดยเจมส์ได้สรุปเพ่ิมเติมว่า Me เป็นส่วนท่ีบุคคลนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง ซ่ึงเป็นอัตมโนทัศน์นั่นเอง และยังได้จาแนกอัต มโนทัศน์ออกเป็นอีก 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 1. กระบวนการทางจติ ใจ เชน่ ประสบการณ์ส่วนบุคคล บุคลกิ ภาพ ทศั นคติ การรบั รู้ทางสงั คม 2. ตนทแี่ สดงทางวตั ถุ เป็นสิ่งท่สี ามารถมองเหน็ ดว้ ยสายตา เช่น บ้าน รถยนต์ ทรัพย์สมบัติตา่ ง ๆ ทีต่ นเปน็ เจา้ ของ 3. ตนทางสังคม เป็นความคิดเหน็ ของผ้อู ื่นท่ีมีต่อตนเอง เชน่ พ่อแม่มองเราว่าเป็นคนที่ว่านอน สอนงา่ ย บคุ คลอ่นื มอง ว่าเรามีความรู้ ความสามารถ 4. ตนทางร่างกาย เป็นความคิดเห็นหรือความรู้สึกที่บุคคลมีต่อลักษณะทางร่างกายของตนเอง เช่น มองว่าตนเองมี รา่ งกายทแี่ ข็งแรง

รธู ซี วำยลี (Ruth C. Wylie) วายลีไดใ้ ห้แนวคิดวา่ อตั มโนทัศนม์ ี 2 องค์ประกอบ ดงั นี้ 1. ตนตามอัตภาพ (Actual Self-concept) หมายถงึ ความรสู้ กึ นกึ คดิ เก่ยี วกับตนเองในความ เป็นจรงิ วา่ ตนเองเป็นคน อย่างไร แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี o ตนที่รับรู้จากตนเอง หมายถงึ ความรู้สกึ นกึ คิดเกยี่ วกบั ตนเองว่าตนเป็นคนอยา่ งไร o ตนท่ีรับรู้จากสังคม หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดเก่ียวกับตนเองว่าบุคคลอ่ืนในสังคมจะมอง ตนเป็นคน อย่างไร 2. ตนตามปณิธาน (Ideal Self-concept) หมายถงึ ความรู้สกึ นกึ คิดเกยี่ วกบั ตนเองในอุดมคติ วา่ ตนเองเป็นคนอย่างไร แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังน้ี o ตนตามปณิธานของตน หมายถงึ ความร้สู กึ นกึ คดิ ทมี่ ตี อ่ ตนเองวา่ อยากเปน็ ตามอุดมคติ อย่างไร o สติ นตามปณิธานของสงั คม หมายถงึ ความรสู้ ึกนึกคิดวา่ คนอืน่ ในสังคมตัง้ อุดมคตสิ าหรับตน ไว้อยา่ งไร 1. ครใู ชส้ ่อื PowerPoint ประกอบการบรรยายแนวทางในการรู้จักตนเองเพื่อความกา้ วหน้าในชีวิตและการ ทางานดว้ ยกระบวนการทางจติ วทิ ยา แนวทำงในกำรรู้จกั ตนเองเพ่อื ควำมก้ำวหนำ้ ในชีวิต และกำรทำงำนดว้ ยกระบวนกำรทำงจติ วทิ ยำ การรู้จักตนเองถือเป็นจุดเริ่มต้นที่นาไปสู่การพัฒนาตนเองในลาดับต่อไป เพราะได้ทราบถึงภาพรวม ของ ตนเองทั้งหมดท้ังตัวตนจริง ๆ ของตนเอง ข้อดี ข้อเสียที่ดีอยู่ ซึ่งจะเป็นแนวทางในการสร้างเสริม พัฒนา และปรับปรุง พฤติกรรมเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในชีวิตและการทางานมากยิ่งข้ึน รวมถึงเกิดมนุษยสัมพันธ์ ท่ีดีต่อทุกฝ่าย โดยการจะรจู้ กั ตนเองได้อย่างถูกต้องและชัดเจนจะต้องมีการศกึ ษาและวิเคราะหต์ นเองผา่ น การใช้ศาสตรห์ รือหลักการที่มีความน่าเช่อื ถือ ตรวจสอบได้ และเปน็ ที่ยอมรบั จากผูท้ ่ีมคี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ นั่นคือ กระบวนการ ทางจิตวิทยา ซึ่งมีวิธีการศึกษาอยู่หลากหลายแนวทาง ข้ึนอยู่กับ การเลือกมาประยุกต์ใช้โดยการรู้จัก ตนเองเพอื่ สร้างความก้าวหนา้ ใน ชวี ติ และการทางานด้วยกระบวนการทางจิตวทิ ยามแี นวทางปฏบิ ัติ ดังตวั อย่างต่อไปนี้ แนวทางตามกระบวนการทางจติ วทิ ยาท่ัวไป การสังเกตตนเอง ทง้ั ในการกระทา ความคดิ บุคลกิ ภาพภายนอก การพดู การแสดงกิรยิ า ทา่ ทาง ตลอดจนสังเกตความรสู้ กึ ของตนเองที่แสดงตอ่ ผู้อ่ืน การรับร้ขู ้อมูลย้อนกลับจากบุคคลอนื่ ในการติดต่อสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลตอ่ บคุ คลหรือบคุ คลต่อ กลุ่มบุคคล สิง่ ทจี่ ะได้รับก็คือ เน้ือหาและความรสู้ กึ ซึ่งเปน็ ขอ้ มลู ยอ้ นกลับทัง้ ทาง ดา้ นบวก คอื ความชื่นชมยนิ ดี ดา้ นลบ คือ ความไม่พอใจ การตอ่ วา่ ทาให้ รูว้ ่าบคุ คลอนื่ มคี วามคดิ เห็นต่อเราอยา่ งไร มีการแสดงปฏิกิรยิ าตอบโต้ อยา่ งไร นอกจากนี้ การ รับฟังความคดิ เห็นจากผทู้ ่ใี กลช้ ิด ผ้ซู งึ่ มีความจรงิ ใจ และปรารถนาดี สามารถใหค้ วามเห็น ติชม ทาให้เรารบั รูข้ อ้ มูลต่าง ๆ มา ประเมนิ และวเิ คราะห์ตน ทาให้รู้จักตวั เองตามความเป็นจรงิ มากขน้ึ ทาใหร้ ู้ข้อบกพร่องและรู้จักตนเองในสว่ นที่ไม่เคยรู้มาก่อน การทาแบบทดสอบและแบบสารวจ การจะรู้จกั และเขา้ ใจตนเองได้ทีจ่ าเปน็ ต้องมีการใช้ แบบทดสอบและ แบบสารวจของนักจิตวิทยา ซึง่ เปน็ การวดั ที่ไดม้ าตรฐานและละเอยี ด เชน่ แบบทดสอบบคุ ลิกภาพ แบบทดสอบเจตคติ แบบสารวจอาชีพ โดย ผลของการทาแบบทดสอบและแบบสารวจจะช่วยใหเ้ กดิ การรับรูต้ ัวตน และ วเิ คราะห์ตนเองไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ แนวทางตามทฤษฎหี นา้ ต่างโจฮารี (The Johari’s Window) โจเซฟ ลุฟท์ และแฮร์ริงตัน อิงแฮม (Joseph Luft and Harrington Ingham) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้สร้างทฤษฎีเพื่อแสดงแบบแผนพฤติกรรมของบุคคล โดยมีแนวคิดว่าบุคคลต้องยอมรับความจริงเกี่ยวกับ ตนเองเปิ ดเผย ตนเองให้มากขึ้นและพร้อมทจ่ี ะรับขอ้ มูลเก่ยี วกับตัวเราจากผอู้ ืน่ ด้วยใจท่ีเปิดกวา้ ง เพ่ือให้ทราบข้อมูลของเราในส่วนท่ีเราไม่รู้ เพอ่ื ท่ีจะนาข้อมูลมาพัฒนาจดุ เสยี หรือ จุดอ่อนของเราเพ่ือให้เกิดการพัฒนาตนในด้านต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนา สัมพนั ธภาพ กบั ผู้อ่นื ด้วย โดยแบบแผนพฤตกิ รรมของ หน้าต่างโจฮารีแบง่ ได้เป็น 4 สว่ นดงั นี้

ตนเองรู้ ตนเองไมร่ ู้ ผอู้ ื่นรู้ บริเวณ บรเิ วณ ผู้อืน่ รู้ เปิดเผย จุดบอด บริเวณ บริเวณ อวิชชำ ซอ่ นเร้น ตนเองไม่รู้ผอู้ น่ื ไมร่ ู้ ผูอ้ ่นื ไมร่ ู้ จากแบบแผนพฤติกรรมตามทฤษฎีหนา้ ต่างโจฮารีดา้ นบน ลุฟท์และอิงแฮมได้อธิบายว่าทกุ บุคคล จะมี พฤตกิ รรมทง้ั หมด 4 แบบ โดยรายละเอยี ดของแตล่ ะพฤตกิ รรมมดี ังตอ่ ไปน้ี บริเวณเปิดเผย (Open Area) บรเิ วณเปดิ เผย (Open Area) หมายถึง บุคลิกลกั ษณะหรือพฤติกรรมทแ่ี สดงออกอย่างเปิดเผย ซึง่ ตนเองและ ผู้อื่นก็รู้เหมือนกัน เป็นส่วนที่เจตนาแสดงพฤติกรรมเพื่อให้ผู้อ่ืนรู้ เช่น ความดี ความ สามารถ การแต่งกาย เกียรติประวัติ บรเิ วณเปดิ เผย เป็นบรเิ วณทีบ่ ุคคลเปิดเผยพฤตกิ รรมให้ผอู้ นื่ รู้ ในขณะเดียวกันบคุ คลกจ็ ะรู้พฤติกรรมของผู้อื่นด้วยเช่นกนั การ พิจารณาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล อาจดูจากบริเวณที่เปิดเผย ถ้ากว้างมากแสดงถึงสัมพันธภาพที่เปิดเผยจริงใจ แสดงถึง ความรู้จัก คุ้นเคยและไว้วางใจ แต่ถ้าบริเวณเปิดเผยมีเน้ือที่แคบย่อมหมายถึงความไม่ไว้วางใจ หรือแสดงถึง การเริ่มต้น ความสมั พนั ธ์ทเี่ พง่ิ จะรูจ้ ักกนั นน่ั เอง บริเวณจดุ บอด (Blind Area) บริเวณจุดบอด (Blind Area) หมายถึง พฤติกรรมท่ีตนเองแสดงออกโดยไม่รตู้ ัว แต่บุคคลอ่ืนสามารถ สังเกต และรู้ได้ เช่น บางคนเป็นผทู้ ชี่ อบพูดโออ้ วดตนเอง เมอ่ื พูดคยุ กับเพอ่ื นผู้อ่ืนกม็ ักจะคยุ ได้ไม่นาน เนอ่ื งจากผอู้ น่ื ก็จะหลีกเล่ยี งไม่ พูดคุยด้วย โดยท่ีบุคคลน้ันก็ไม่เข้าใจหรือไม่รู้ว่าเมื่อพูดคุยกับใคร มักคุยได้ไม่นานหรือบางคนมีพฤติกรรมนั่งเขย่าขา ซ่ึงใน บางครัง้ พฤติกรรมน้ไี ม่เหมาะสมและเป็น การรบกวนผู้อืน่ ถ้าพฤตกิ รรมที่เป็นจดุ บอดไม่ได้รับการแก้ไข กอ็ าจก่อใหเ้ กดิ ปัญหา สมั พันธภาพ ระหว่างเพอื่ นร่วมงานได้ แต่ถ้ามบี ุคคลหรอื เพอ่ื นทีส่ นิทกันกอ็ าจบอกใหท้ ราบถงึ บรเิ วณจดุ บอดเพ่อื แกไ้ ขได้ บรเิ วณซ่อนเรน้ (Hidden Area) บรเิ วณซ่อนเร้น (Hidden Area) หมายถงึ ความคดิ หรือพฤตกิ รรมท่ีตนเองปกปดิ ไว้ เพอื่ มใิ หผ้ อู้ นื่ รู้ แต่เป็นส่ิงที่ ตนเองรู้ และไม่ต้องการเปิดเผยออกไป เช่น ปมด้อย ความผิดพลาด ความคิด ความรู้สึก ที่ไม่ดีต่อผู้อื่น เช่น ความอิจฉา เกลียดชงั ซึ่งไมส่ ามารถแสดงออกไปได้ด้วยเหตุผลตา่ ง ๆ เชน่ เปน็ พฤตกิ รรมท่สี ังคมไม่ยอมรับ ทาใหต้ อ้ งแสดงพฤตกิ รรมอ่ืน เพอ่ื กลบเกลอ่ื น บุคคลจะเปดิ เผย บรเิ วณซอ่ นเรน้ ต่อเพอ่ื นสนทิ หรอื ผูท้ ี่ไวว้ างใจเท่าน้ัน บรเิ วณอวิชชา (Unknow Area) บริเวณอวิชชา (Unknow Area) หมายถึง ความคิด พฤติกรรม ความสามารถ หรือศักยภาพที่ตนเอง ไม่รู้ว่า ตนเองมีและบุคคลอืน่ ก็ไมร่ ู้ โดยพฤติกรรมในส่วนนีจ้ ะเกดิ ข้ึนเม่ือมีเหตุการณบ์ างอย่างกระตุ้น ให้เกิดขนึ้ และนาออกมาใช้ เชน่ ตนเองมคี วามสามารถด้านการทาอาหาร แตไ่ ม่รู้วา่ ตนเองสามารถ ทาได้ จนเมื่อถกู เลิกจ้างงานจากโรงงานอุตสาหกรรม และ

ตอ้ งไปประกอบอาชีพอ่นื แทน จึงทดลอง ทาอาหารขาย เมือ่ ลองทาปรากฏว่าอาหารรสชาตอิ อกมาดี ซึ่งการที่เราจะรจู้ ักตัวตน บริเวณอวชิ ชา ได้นนั้ สามารถทาไดโ้ ดยการทดลองทาสิ่งต่าง ๆ ที่ตนเองไมค่ นุ้ เคยหรือไมเ่ คยทามากอ่ น เพือ่ ใหเ้ กดิ การค้นหา และเปิดโอกาสใหต้ นเองพบประสบการณ์ใหม่ในชวี ติ มากข้นึ จากแนวคิดของทฤษฎหี นา้ ตา่ งโจฮารีจะเห็นไดว้ ่าการที่บคุ คลจะรู้จักและมองเห็นตนเองตลอดจน เข้าใจตนเอง ให้ได้มากข้ึนน้ัน บุคคลต้องลดพฤติกรรมและความรู้สึกนึกคิดในบริเวณจุด บอดให้น้อยลง หรือหมดไป เพราะการลดพฤติกรรมบรเิ วณจุดบอดจะทาให้ บริเวณเปดิ เผยได้แสดงออกมามากขน้ึ และ เปน็ ผลสาคญั คือ บคุ คลสามารถ รู้จักและมองเห็นตนเองชัดเจนอย่างมากข้ึน และเป็นผลดีต่อการรู้ทัน ความคิดและการกระทาของตนเอง ทาให้สามารถปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อม สถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ซง่ึ ในทา้ ยที่สดุ ก็ จะทาใหบ้ ุคคลเกิดความสุขในการดาเนนิ ชีวติ และการทางาน แนวทำงตำมทฤษฎีกำรวิเครำะห์กำรติดต่อสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล (Transactional Analysis) ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลได้รับการคิดค้น ขึ้นมาโดยอีริก เบิร์น (Eric Bern) จิตแพทย์ชาว แคนาดา โดยหลักของทฤษฎี คือ เช่ือว่าบุคคลสามารถเข้าใจการกระทาใน อดีตของตนได้ สามารถตดั สินใจ เลือกแนวทางการดาเนินชีวิตของตนได้ และ สามารถเปลี่ยนแปลงนิสยั ตนเอง ได้ ดังนั้น ทฤษฎีน้ีจึงเห็นว่าบุคคลเป็นผทู้ ่ีมี คุณค่าและสามารถปรับปรุง บุคลิกภาพของตน เพ่ือให้มีความเข้าใจตนเอง สามารถประเมนิ ความรู้สกึ พฤตกิ รรมของตนเองเมื่ออยใู่ นสภาวะต่าง ๆ ได้ แนวคิดสภำวะส่วนตัว (Ego States) เป็นการวิเคราะห์โครงสร้างของบุคลิกภาพ โดยเบรินเช่ือว่า บุคลิกภาพในตัวบุคคลหน่ึงประกอบด้วย ส่วนท่ี เรียกว่าสภาวะ (Ego States) มีอยู่ด้วยกัน 3 ส่วน ได้แก่ สภาวะพ่อแม่ สภาวะผู้ใหญ่ และสภาวะเด็ก โดยแต่ละบุคคลจะมี ลักษณะการแสดงออกทั้ง 3 สภาวะรวมกัน แต่จะมีสภาวะใดมากน้อย หรือแสดงออกมา ในสถานการณใ์ ดย่อมแตกตา่ งกันไป ในแต่ละบคุ คล โดยแตล่ ะสภาวะมีลักษณะ ดังน้ี สภาวะพ่อแม่ (Parent Ego State) เป็นลักษณะบุคลิกภาพท่ีคล้ายพ่อแม่หรือผู้เล้ยี งดู ซึ่งบุคคลมีการจดจาซึม ซับไว้และนามาปฏบิ ตั ิตาม สภาวะพ่อแม่ แบ่งได้ 2 ประเภท ดงั น้ี o สภาวะพ่อแม่แบบวิพากษ์วิจารณ์(Critical Parent) หรือ CP บุคลิกภาพในส่วนน้ีมี ลักษณะ เสมือนเป็นพ่อแม่ท่ีมักประเมินและวิจารณ์การกระทา ของลูก ใช้อานาจออก คาสั่ง ควบคุมอบรมสงั่ สอน กล้าแสดงความคิดเหน็ ถ้าบุคคลใดมีความเปน็ CP สูงมากก็ จะเขม้ งวดเกินไป วางอานาจ ยดึ ถือตวั เอง เปน็ ใหญ่ ไม่ฟังใคร o สภาวะพอ่ แม่แบบช่วยเหลือเอาใจใส่ (Nurturing Parent) หรอื NP เป็นสภาวะทีบ่ คุ คลมี พฤติกรรมเสมือนพ่อแม่ใน ส่วนท่ีเป็นความรกั คอย ปกปอ้ งคุ้มครอง มีความปรารถนาดีเอือ้ อาทร เมตตา กรณุ า ความมํนี า้ ใจ ชอบชว่ ยเหลอื ผ้อู ่ืน แตผ่ ู้ท่มี ี NP สงู มากเกนิ ไป ก็จะเป็นคนใจออ่ นและไม่กล้า ตดั สนิ ใจ สภาวะผ้ใู หญ่ (Adult Ego State)

เป็นลักษณะบุคลิกภาพท่ีพฤติกรรมของของผู้ที่มีวุฒิภาวะ ใช้หลักแห่งเหตุผล ดาเนินชีวิตพิจารณา และแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วย สติปัญญาสามารถรู้จักตนเองตามความเป็นจริง มีความสามารถใน การปรับตัวได้ดี การแสดงออกจะมคี วามจรงิ ใจ ตรงไปตรงมา ซงึ่ เป็น พฤติกรรมท่ีสังคมทั่วไปยอมรับ ซึ่งบุคคลมีการจดจา และสามารถ เรยี นรูไ้ ดจ้ ากการศึกษา การทางาน เชน่ การให้เกียรตผิ อู้ ่ืน ตัง้ คาถาม และแก้ปัญหาด้วยเหตุ และผล แต่งกายสง่างามสมวัย ยืน เดิน น่ัง อย่าง สารวม แต่ถ้ามีสภาวะของความเป็นผู้ใหญ่สูง ก็จะ เป็นผู้ที่ไม่ คานึงถงึ ความนกึ คิดและความร้สู ึกของ ผอู้ ื่นเหมือนคนที่มจี ิตใจแขง็ กระด้าง และไม่อ่อนโยน สภาวะเดก็ (Child Ego State) เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกคล้ายคลึงกบั กับเด็ก ซ่ึงลักษณะ ที่เป็นเด็กน้ีจะมีอยู่ในตัวของบุคคลทุกคน แต่จะมีอยู่มากหรือน้อย แตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล เป็นบุคลิกภาพในส่วนที่เป็นอารมณ์ ความรู้สึก ความ ต้องการ ความใฝ่ฝัน ความรื่นเริง จินตนาการ เช่น ร้องไห้ กรีดร้อง พูดอ้อน เม่ือต้องการได้ส่ิงของ ร่าเริง สดช่ืน กระตือรอื รน้ ในการเรยี นรู้ อยากรูอ้ ยากเหน็ ข้ีอาย กลัว สภาวะเด็กแบ่งได้เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี o สภาวะเด็กแบบปรับตัว (Adapted Child) หรือ AC เป็นบุคลิกภาพได้รับการเรียนรู้ใน วัยเยาว์ จากการ อบรมสั่งสอนของพอ่ แม่ ครูอาจารย์ ได้แก่ พฤติกรรมสภุ าพเรียบร้อย ออ่ นนอ้ ม เช่ือฟัง เขา้ สงั คมได้ดี กริ ิยามารยาทเหมาะสม ตามกาลเทศะ ถ้ามี AC สูง จะทาใหข้ าดความเปน็ ตวั ของตัวเอง มกั พงึ่ พาผอู้ ื่น เช่อื คนงา่ ยเกนิ ไป เพราะขาดการ ไตร่ตรองและ วจิ ารณญาณ o สภาวะเดก็ แบบเดก็ อสิ ระ (Free Child) หรือ FC บุคลิกภาพในลักษณะน้ีสังเกตได้จากความมี ชีวิตชีวา สนุกสนานร่ืน เรงิ กระตอื รอื ร้น อยากรู้ อยากเห็น มักควบคุมอารมณ์และความรู้สึก ไดไ้ ม่ดี ถ้าผดิ หวังหรือเสยี ใจอาจร้องไห้ฟูมฟายหรอื เอะอะ โวยวาย ผู้ ท่ีมี FC สูง มักไม่คานึงถึงอารมณ์ความ รู้สึกของผอู้ ่ืน ให้ความสาคัญ กับตนเองมากเกินไป ไม่คานึงถึงกาลเทศะ เล่นไม่เลิก ไม่จริงจังกับ งาน ไม่รับผิดชอบ แนวคดิ จุดยืนแหง่ ชีวติ (Life Positon) จดุ ยืนแห่งชีวิต (Life position) เปน็ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ตนเอง การรจู้ ัก ตนเอง ความรสู้ กึ ทีบ่ คุ คลมีตอ่ ตนเอง และผู้อื่น จะสะท้อนให้เห็นจากการเลือก จุดยืนหรือตาแหน่งของชีวิตในแต่ละบคุ คลซึ่งการเลือกจดุ ยืนนี้มีพ้ืนฐานมาจาก ผล ของการอบรมเลี้ยงดสู ภาพแวดล้อม ภูมหิ ลังของบคุ คลในอดีต ซ่ึงเมอื่ บคุ คล เผชญิ กับปญั หาจากสงั คม บุคคลจะตัดสินใจเลือก จุดยนื แห่งชีวิตจุดยนื ใด จุดยนื หนึง่ จาก 4 ประเภท ดังต่อไปน้ี ฉนั ดี คุณดี (I'm O. K. You're O.K.) เป็นการพูดหรือการแสดงออกในลกั ษณะท่ีส่งผลใหท้ ั้งตนเองและผู้อ่ืนรูส้ กึ มคี วามสุขสบายใจ ซ่ึงการ พูดหรือ การแสดงออกเชน่ น้ีถือเป็นสง่ิ ท่ีอีริก เบิร์น ปรารถนาใหท้ ุกคนปฏิบัติตอ่ กัน บุคคลท่ีมีการแสดงออก เช่นนี้ แสดงถึงการไดร้ ับ การอบรมเลย้ี งดูและอยสู่ ภาพแวดล้อมที่ดีเป็นคนที่มองโลกในแง่ดี สามารถยอมรบั ตนเองและผอู้ ื่น ยอมรบั ในความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คล ฉนั ดี คุณดอ้ ย (I'm O. K. You're not O.K.) เป็นการพูดหรือการแสดงออกในลกั ษณะท่ีวางตนเองเหนือกว่าผู้อนื่ ทาให้ผู้อ่ืนรู้สึกไมส่ บายใจ เป็นคนที่มอง และยดึ ม่ันว่าความคิดของตนเองดี แต่ไม่ยอมรับความสามารถผู้อ่ืน มกั ดถู ูกเหยยี ดหยามวา่ ผอู้ ่นื ด้อยกวา่ ตน ไมไ่ ว้วางใจผู้อ่ืน ว่ามีความสามารถ บุคคลที่มีการแสดงออกเช่นน้ี สะท้อนว่าในวัยเด็กอาจ ไม่ได้รับการเอาใจใส่ ถูกดุด่าตาหนิ บุคคลท่ีวาง ตนเองอยใู่ นตาแหน่งชวี ิตแบบนี้ มกั จะเป็นคนประจบสอพลอ เพราะเป็นวิธกี ารทีเ่ ขาจะได้มาซง่ึ ความเอาใจใส่

ฉันดอ้ ย คุณดี (I'm not O. K. You're O.K.) เป็นการพูดหรือการแสดงออกในลักษณะที่วางตนเองในตาแหน่งที่ด้อยกว่าผู้อ่ืน บุคคลประเภทน้ี มักไม่เห็น คุณคา่ ในตนเอง ขาดความมนั่ ใจในตัวเอง คดิ วา่ ตนเองไมม่ ีความสามารถมองตนเองในเชิงลบ แต่ มองผู้อนื่ ว่าทาดกี วา่ ตัวเองมี ความสามารถ เกง่ กว่าตนเองเสมอ เมื่อเผชิญปัญหาจะหลกี หนี ไม่กล้าเผชิญหน้า และทาใหไ้ มม่ คี วามสุขในชีวิต บุคคลทม่ี ีการ แสดงออกเช่นนเ้ี กิดจากวยั เดก็ ได้รบั การชว่ ยเหลือจาก ผู้อนื่ เสมอ จึงคดิ ว่าผู้อ่นื ดี แตต่ นไม่ดไี ร้ความสามารถ ฉันด้อย คุณต้อย (I'm not O. K. You're not O.K.) เปน็ การพดู หรือการแสดงออกในลกั ษณะที่ไมม่ ีฝ่ายใดร้สู ึกดี เป็นการมองตนเองและผอู้ ื่นในแง่รา้ ย มองว่าไม่มี คุณค่า ไม่มีความสามารถ การแสดงออกเช่นนี้จะทาให้ตนเองและคนรอบข้างไมม่ ีความสขุ อาจนาไปสู่การทารา้ ยตนเองและ ผู้อ่ืนโดยไม่รู้สึกว่าผิด เพราะคิดว่าชีวิตไม่มีความหวังและไม่มีความหมาย ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตประสาทหรือบุคคลท่ีได้รับ การทอดทิ้ง จะวางตนเองอยู่ในตาแหน่งน้ี เพราะพวกเขา ไม่เคยได้รับการดูแลการเอาใจใส่ หรือได้รับการแสดงความรักหรือ ผูกพันจากพ่อแม่หรือบุคคลท่ีใกล้ชดิ ทาให้พวกเขาเกิดความรู้สึกฉันด้อยขึ้นมา รวมถึงรู้สึกว่าคณุ ด้อย เพราะพวกเขา ไม่รูจ้ ัก การเอาใจใส่ผู้ใด ทุกคนโหดรา้ ยและกไ็ ม่ดเี ช่นเขาเหมือนกัน

คำถำมท้ำยหน่วยกำรเรยี นรู้บทท่ี 5 ตอนท่ี 1 คำช้ีแจง : จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. การร้จู กั ตนเองมีความสาคัญอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. อัตมโนทศั น์ หมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. ตามแนวคดิ อัตมโนทัศน์ของคาร์ล อาร์ โรเจอร์ เพราะเหตุใดตนที่ตนเองรับรู้จงึ อาจไม่ตรงกับภาพท่ี ผู้อนื่ เหน็ หรือรับรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. การพฒั นาตนเองโดยการสารวจตนเอง สามารถกระทาไดด้ ว้ ยวิธกี ารใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. ถา้ เพ่อื นรว่ มห้องของผูเ้ รียนเป็นคนอารมณ์รอ้ น พูดไม่มหี างเสียง จึงทาให้ไมค่ ่อยมีเพ่อื นคบ ผู้เรียนจะแนะนาเพ่อื นให้ พฒั นาตนเองให้ดขี ้ึนด้วยวิธีการใด พร้อมอธิบายเหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..