งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ppt

งานซอ่ มเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ (Electrical Appliances Repairs) รหสั วชิ า 20104 - 2110 หมวดวชิ าสมรรถนะวชิ าชีพ กลมุ่ สมรรถนะวิชาชพี เลอื ก ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขางานไฟฟ้าก�ำ ลงั หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ เรยี บเรยี งโดย ธวชั ชยั จารจุ ิตร์ คอ.บ. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ไวพจน์ ศรีธัญ อส.บ. (วศิ วกรรมศาสตร)์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ

งานซอ่ มเครอื่ งใช้ไฟฟา้ (Electrical Appliances Repairs) ISBN 978-616-495-018-4 จดั พมิ พแ์ ละจดั จ�ำหนา่ ยโดย บริษัทวังอกั ษร จำ� กดั 69/3 ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงวดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600 โทร. 0-2472-3293-5 โทรสาร 0-2891-0742 Mobile 08-8585-1521 e-Mail : [email protected] Facebook : ส�ำนักพิมพ์ วงั อกั ษร http://www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn พิมพค์ ร้งั ท่ี 1 พ.ศ. 2562 จ�ำนวนที่พิมพ์ 3,000 เล่ม สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญตั ิลขิ สทิ ธิ์ พ.ศ. 2537 โดยบรษิ ัทวังอกั ษร จำ� กดั ห้ามน�ำส่วนใดสว่ นหน่ึงของหนงั สอื เล่มน้ีไปทำ� ซ้�ำ ดดั แปลง หรอื เผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ไม่ว่ารปู แบบใด ๆ นอกจากไดร้ ับอนญุ าต เป็นลายลักษณอ์ ักษรลว่ งหนา้ จากทางบริษัทฯ เท่านั้น ชื่อและเคร่ืองหมายการค้าอนื่ ๆ ทอ่ี ้างอิงในหนงั สอื ฉบับนี้ เปน็ สทิ ธโิ ดยชอบดว้ ยกฎหมายของเจา้ ของแต่ละราย โดยบริษัทวังอกั ษร จ�ำกัด มไิ ดอ้ ้างความเป็นเจ้าของแต่อยา่ งใด

งานซอ่ มเครอื่ งใช้ไฟฟา้ (Electrical Appliances Repairs) รหัสวชิ า 20104 - 2110 จุดประสงค์รายวชิ า เพื่อให ้ 1. เข้าใจหลกั การทำ� งานของเครอื่ งใช้ไฟฟ้าชนดิ ตา่ ง ๆ 2. มีทกั ษะในการตรวจสอบและซ่อมบ�ำรุงรกั ษาเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ 3. มีเจตคติท่ีดีและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน มีความละเอียด รอบคอบ ปลอดภัย เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา มคี วามซ่อื สัตย์และมคี วามรบั ผิดชอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับโครงสรา้ ง และหลักการท�ำงานของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าชนิดต่าง ๆ 2. ตรวจซอ่ มระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งและระบบไฟฟา้ ก�ำลัง 3. ตรวจซอ่ มเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ประเภทความร้อน และมอเตอร์ 4. ตรวจซอ่ มเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ประเภทส�ำนกั งาน ค�ำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั โครงสร้าง และหลักการท�ำงาน การตรวจสอบหาสาเหตุข้อบกพร่อง งานซ่อมและบ�ำรุงรักษาของเครื่องใช้ไฟ้ฟ้าประเภทความร้อน เคร่ืองใช้ไฟฟ้าประเภทมอเตอร์ เคร่ืองใช้ ไฟฟ้าสำ� นักงาน ระบบไฟฟา้ แสงสว่าง ระบบไฟฟ้าก�ำลงั และงานบรกิ ารไฟฟ้า

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวชิ า วิชางานซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟา้ รหสั 20104 - 2110 ท–ป–น 1-3-2 จำ� นวน 4 คาบ/สัปดาห์ รวม 72 คาบ สมรรถนะรายวิชา แสดงความ ้รูเ ่ีกยวกับโครงสร้าง และ หลักการทำ�งานของเค ื่รองใ ้ชไฟ ้ฟา บทท่ี ชนิด ่ตาง ๆ ตรวจ ่ซอมระบบไฟ ้ฟาแสงส ่วางและ 1. เคร่อื งมือสำ� หรบั งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบไฟ ้ฟา ำก� ัลง 2. มอเตอร์ไฟฟ้า ตรวจ ่ซอมเค ่ืรองใ ้ชไฟ ้ฟาประเภทความ 3. แสงสวา่ ง ้รอน และมอเตอ ์ร 4. เตาไฟฟา้ แบบธรรมดา ตรวจ ่ซอมเค ่ืรองใ ้ชไฟ ้ฟาประเภท 5. เตารีดไฟฟ้า ำส� ันกงาน 6. กาต้มน�้ำไฟฟ้า 7. เคร่อื งดดู ฝุ่น  8. พดั ลมไฟฟ้า  9. สวา่ นไฟฟ้า  10. เลื่อยฉลุไฟฟ้า   11. หม้อหุงข้าวไฟฟ้า  12. กระทะไฟฟ้า  13. เครื่องปงิ้ ขนมปงั   14. เตาอบไมโครเวฟ  15. เครื่องฉายข้ามศีรษะ  16. เคร่อื งบดอาหาร  17. เครื่องซักผา้ อตั โนมัติ      

ค�ำน�ำ วิชางานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า รหัสวิชา 20104-2110 จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่ม สมรรถนะวิชาชีพเลือก ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานไฟฟ้าก�ำลัง สาขาวิชาช่างไฟฟ้าก�ำลัง ตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผเู้ ขยี นไดบ้ รหิ ารสาระการเรยี นรแู้ บง่ เปน็ 17 บทเรยี น ไดจ้ ดั แผนการจดั การเรยี นร/ู้ แผนการสอนท่ีมุ่งเน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบูรณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา ค�ำอธิบายรายวิชา ในแต่ละบทเรียนมุ่งให้ความส�ำคัญ ส่วนที่เป็นความรู้ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบัติ และค�ำถามเพ่ือการทบทวน เพ่ือฝึกทักษะประสบการณ์ เร่งพัฒนาบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้จัดการแสวงหาความรู้ (Explorer) เป็น ผู้สอนตนเองได้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และบทบาทของผู้สอนเปล่ียนจากผู้ให้ความรู้มาเป็นผู้จัดการช้ีแนะ (Teacher Roles) จดั สงิ่ แวดลอ้ มเออ้ื อำ� นวยตอ่ ความสนใจเรยี นรู้ และเปน็ ผรู้ ว่ มเรยี นรู้ (Co–investigator) จดั หอ้ งเรยี นเปน็ สถานทที่ ำ� งานรว่ มกนั (Learning Context) จดั กลมุ่ เรยี นรใู้ หร้ จู้ กั ทำ� งานรว่ มกนั (Grouping) ฝึกความใจกว้าง มุ่งสร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ สอนความสามารถท่ีน�ำไปท�ำงานได้ (Competency) สอน ความรัก ความเมตตา (Compassion) ความเชอ่ื มน่ั ความซือ่ สตั ย์ (Trust) เปา้ หมายอาชีพอันยังประโยชน์ (Productive Career) และชวี ติ ทม่ี ศี กั ดศิ์ รี (Noble Life) เหนอื สงิ่ อน่ื ใด เปน็ คนดที งั้ กาย วาจา ใจ มคี ณุ ธรรม จรรยาบรรณทางธุรกิจและวิชาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification System) สอดคล้องตามมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) สร้างภูมิคุ้มกัน เพ่ิมขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ ก�ำลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าท่ีการงาน (Functional Analysis) เพื่อให้เกิด ผลส�ำเร็จในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชีพ เป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพประชาคม ระดับอาเซียน ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือที่ใช้ประกอบในการ เรียบเรยี งไว้ ณ โอกาสนี้ ธวัชชัย จารจุ ติ ร์ ไวพจน์ ศรธี ญั

สารบญั บทท่ี 5 เตารีดไฟฟา้ 91 บทท่ี 1 เครอ่ื งมือส�ำหรบั งานซ่อม เตารดี ไฟฟา้ แบบธรรมดา 93 เครื่องใช้ไฟฟา้ เตารดี ไฟฟา้ แบบอตั โนมัติ 94 1 เตารีดไฟฟา้ อัตโนมัติแบบไอนำ้� 103 เคร่ืองมือประเภทไขควง 2 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 108 เครอ่ื งมือประเภทคีม 5 ใบงานท่ี 5.1 การตรวจซอ่ มเตารีดไฟฟ้า 110 เครือ่ งมือประเภทประแจ เครอื่ งมือตรวจสอบวงจรไฟฟา้ 8 บทที่ 6 กาต้มน�ำ้ ไฟฟา้ 114 เครือ่ งมอื ประเภทอนื่ ๆ 10 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทกั ษะ 15 17 กาตม้ น�้ำไฟฟา้ แบบธรรมดา 115 กาต้มน้ำ� ไฟฟ้าแบบอตั โนมตั ิ 117 กาตม้ น้ำ� ไฟฟา้ แบบอัตโนมัต ิ บทท่ี 2 มอเตอร์ไฟฟา้ 19 โดยใชแ้ รงดนั อากาศ 119 ยูนเิ วอร์แซลมเตอร์ 20 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ 129 เชดเดดโพลมอเตอร์ 27 ใบงานท่ี 6.1 การตรวจซอ่ มกาต้มน้�ำไฟฟ้า 131 คาปาซเิ ตอรม์ อเตอร์ สปลิตเฟสมอเตอร์ 32 บทที่ 7 เคร่อื งดดู ฝุน่ 135 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 37 ใบงานที่ 2.1 การตรวจซอ่ ม 43 เครื่องดดู ฝุ่นแบบดดู ฝุน่ โดยตรง มอเตอร์ไฟฟ้าเบ้อื งต้น 136 ใบงานท่ี 2.2 การตรวจซ่อมเคร่อื งเป่าผม เครอื่ งดดู ฝุน่ แบบทรงกระบอก 137 45 เครอ่ื งดดู ฝุ่แบบถังหรอื กระป๋อง 138 47 หลกั การท�ำงานของเครือ่ งดูดฝนุ่ 142 บทที่ 3 แสงสวา่ ง 52 ลำ� ดบั ขน้ั ตอนการใชเ้ คร่อื งดูดฝนุ่ 142 การดูแลบำ� รงุ รักษาเครือ่ งดดู ฝนุ่ 145 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 147 หลอดอนิ แคนเดสเซนต ์ 54 ใบงานท่ี 7.1 การตรวจซอ่ มเคร่อื งดูดฝุ่น 149 หลอดฟลูออเรสเซนต ์ 62 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 70 ใบงานท่ี 3.1 การตรวจสอบวงจรของ 72 บทที่ 8 พดั ลมไฟฟา้ 152 หลอดไฟฟ้า พดั ลมไฟฟา้ แบบต้งั โตะ๊ 153 161 บทที่ 4 เตาไฟฟา้ แบบธรรมดา 76 พดั ลมไฟฟ้าแบบต้งั พืน้ 165 พดั ลมไฟฟ้าแบบตดิ เพดาน 177 พัดลมไฟฟา้ แบบติดผนัง 182 เตาไฟฟา้ แบบปรบั ความรอ้ นไดร้ ะดับเดียว 77 พดั ลมดดู และระบายอากาศ 192 เตาไฟฟ้าแบบปรับความรอ้ นไดห้ ลายระดับ 81 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 194 หลักและวิธกี ารตรวจซอ่ มเตาไฟฟ้า 83 ใบงานท่ี 8.1 การตรวจซ่อมพัดลมไฟฟา้ แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 85 ใบงานที่ 4.1 การตรวจซ่อมเตาไฟฟ้า 87

บทที่ 9 สว่านไฟฟ้า 198 บทท่ี 12 กระทะไฟฟา้ 240 สวา่ นไฟฟ้าแบบธรรมดา 199 โครงสรา้ งและสว่ นประกอบที่ส�ำคญั ของ สว่านไฟฟา้ แบบโรตาร่ี 200 กระทะไฟฟา้ 250 โครงสรา้ งและสว่ นประกอบทีส่ ำ� คัญ 200 โครงสร้างและสว่ นประกอบของกระทะไฟฟา้ 252 ของสวา่ นไฟฟา้ 204 หลักการท�ำงานเบื้องต้นของกระทะไฟฟา้ 253 วงจรการทำ� งานของสวา่ นไฟฟ้า 205 การดูแลบำ� รุงรกั ษากระทะไฟฟา้ 254 ลำ� ดบั ขัน้ ตอนการใชง้ านสวา่ นไฟฟ้า 206 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 256 ขอ้ แนะนำ� และขอ้ ควรระวังในการใช้งาน 208 ใบงานท่ี 12.1 การตรวจซ่อมกระทะไฟฟ้า 258 สว่านไฟฟ้า 208 261 การดูแลและการบำ� รงุ รักษาสวา่ นไฟฟ้า 209 บทที่ 13 เคร่อื งป้ิงขนมปัง การตรวจซอ่ มแก้ไขสวา่ นไฟฟ้า 211 263 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ โครงสรา้ งและสว่ นประกอบที่ส�ำคัญของ 265 ใบงานท่ี 9.1 การตรวจซ่อมสวา่ นไฟฟ้า เคร่อื งปิง้ ขนมปัง 266 267 บทท่ี 10 เล่อื ยฉลุไฟฟา้ 215 หลกั การท�ำงานเบ้ืองตน้ ของเครือ่ งปง้ิ ขนมปัง 269 ลำ� ดบั ข้ันตอนวธิ ีการใชเ้ ครือ่ งปิ้งขนมปัง 271 216 การบำ� รุงดแู ลรักษาเครื่องปิ้งขนมปัง โครงสร้างและส่วนประกอบทีส่ ำ� คญั 218 ของเลื่อยฉลไุ ฟฟ้า 220 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ 221 ใบงานที่ 13.1 การตรวจซอ่ มเครือ่ งปง้ิ ขนมปัง หลกั การทำ� งานเบอื้ งตน้ ของเลอ่ื นฉลไุ ฟฟ้า 223 โครงสรา้ งและส่วนประกอบเลื่อยฉลไุ ฟฟ้า 223 ลำ� ดับขั้นตอนการตรวจสอบเล่อื ยฉลุไฟฟ้า 225 บทที่ 14 เตาอบไมโครเวฟ 275 227 276 กอ่ นใช้งาน รปู ลักษณภ์ ายนอกเตาอบไมโครเวฟ 277 ข้ันตอนและวธิ กี ารใช้เลอ่ื ยฉลุไฟฟา้ 286 การบ�ำรุงดูแลรกั ษาเลื่อยฉลุไฟฟ้า โครงสรา้ งและส่วนประกอบทวั่ ไปของ 287 เตาอบไมโครเวฟ 288 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ วงจรการทำ� งานของเตาอบไมโครเวฟ 298 ใบงานที่ 10.1 การตรวจซอ่ ม 299 เลื่อยฉลไุ ฟฟ้า โครงสร้างการท�ำงานเบอ้ื งตน้ ของวงจรดิจิตอล 307 เตาอบไมโครเวฟ หน้าท่ีของวงจรควบคมุ เตาอบไมโครเวฟ บทท่ี 11 หมอ้ หงุ ข้าวไฟฟ้า 231 ขอ้ แนะนำ� และข้อควรระวังในการใช้งาน โครงสรา้ งและส่วนประกอบทว่ั ไปของ 236 เตาอบไมโครเวฟ 236 ขัน้ ตอนและวธิ ีการถอดเปลยี่ นอปุ กรณ์ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 238 เตาไมโครเวฟ หลักการทำ� งานของหม้อหงุ ขา้ วไฟฟา้ 240 วธิ กี ารใชห้ มอ้ หุงข้าวไฟฟ้าในการหงุ ขา้ ว 241 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทักษะ 243 การทำ� ความสะอาดและบ�ำรุงรกั ษา 245 หมอ้ หุงขา้ วไฟฟ้า ข้อควรระวงั การใช้หมอ้ หุงข้าวไฟฟา้ แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ ใบงานท่ี 11.1 การตรวจซ่อมหมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟ้า

บทท่ี 15 เครอ่ื งฉายขา้ มศรี ษะ 309 บทที่ 17 เครอื่ งซักผา้ อัตโนมตั ิ 340 โครงสร้างและส่วนประกอบท่ีส�ำคญั ของ สว่ นประกอบทีส่ �ำคัญของเคร่ืองซักผ้า 342 เครอ่ื งฉายขา้ มศรี ษะ 311 อัตโนมตั ิ 346 วงจรการทำ� งานเครอื่ งฉายข้ามศรี ษะ 315 โครงสรา้ งและส่วนประกอบทว่ั ไปของ 348 หลกั การทำ� งานของเครอ่ื งฉายขา้ มศีรษะ 316 เครอ่ื งซกั ผา้ อตั โนมตั ิ 350 ข้ันตอนการเตรียมเครอ่ื งฉายขา้ มศีรษะ การบ�ำรุงดูแลรักษาเคร่อื งซักผ้า 351 ก่อนใช้งาน 316 ขอ้ แนะนำ� และข้อควรระวงั ในการใช้งาน 353 วิธกี ารใช้งานของเคร่ืองฉายข้ามศีรษะ 317 วิธีการใช้งานเครอ่ื งซักผา้ 356 การดแู ลบ�ำรงุ รักษาเครอื่ งฉายข้ามศีรษะ 318 การดูแลบ�ำรงุ รกั ษาเคร่อื งซกั ผ้าท่วั ไป 358 ขน้ั ตอนการเปล่ียนหลอดไฟภายใน แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ 362 เครอ่ื งฉายขา้ มศรี ษะ 318 ใบงานท่ี 17.1 การตรวจซ่อมเคร่อื งซกั ผ้า 369 ข้อควรระวังและการปอ้ งกันความปลอดภยั 374 จากเครือ่ งฉายขา้ มศีรษะ 319 ค�ำถามเพือ่ ทบทวน แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 320 คำ� ศัพท์ ใบงานที่ 15.1 การตรวจซ่อม บรรณานกุ รม เครอื่ งฉายขา้ มศรี ษะ 322 บทท่ี 16 เครื่องบดอาหาร 326 328 โครงสรา้ งและส่วนประกอบท่สี ำ� คญั ของ 331 เครอ่ื งบดอาหาร 334 หลักการทำ� งานของเครื่องปั่นผลไม้ 336 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ ใบงานที่ 16.1 การตรวจซ่อมเครอ่ื งบดอาหาร

1 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) หลงั จากศึกษาจบบทเรียนน้ีแล้ว นักศกึ ษาจะมีความสามารถดงั น้ี 1. อธิบายการใช้งานไขควง 2. เลือกใช้งานเครื่องมือประเภทคีม 3. ทดสอบเครื่องมือประเภทประแจ 4. ทดสอบเคร่ืองมือตรวจสอบวงจรไฟฟ้า 5. ปฏิบัติทดลองบัดกรีโดยใช้หัวแร้งแช่แบบปากกา  และหัวแร้ง แบบปืน

1 ในงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ซ่ึงในการเลือกใช้ เครื่องมือนน้ั จำ� เปน็ ต้องใชใ้ ห้เหมาะสมกบั งาน เช่น ตัดสายไฟ ขนั ยึดนอต สกรู การตรวจสอบวงจรไฟฟา้ เป็นต้น ดังน้ัน ก่อนท�ำการใช้เคร่ืองมือชนิดใด ควรศึกษาและท�ำความเข้าใจถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้ง ลกั ษณะการใชง้ านใหถ้ กู ตอ้ งและมคี วามปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยแบง่ ลกั ษณะการใชง้ านของเครอ่ื งมอื สำ� หรับงานซ่อมเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ดงั น้ี 1. เครอ่ื งมอื ประเภทไขควง (Screwdrivers) 2. เครื่องประเภทคีม (Pliers) 3. เครือ่ งประเภทประแจ (Wrenches) 4. เคร่อื งมือตรวจสอบวงจรไฟฟา้ (Electric Tester Circuit) 5. เครอ่ื งมอื ประเภทอื่น ๆ เครอ่ื งมอื ประเภทไขควง เครื่องมือประเภทไขควงนี้ใช้สำ� หรับการขันยึดหรือถอดสกรูและนอต  แบ่งตามลักษณะการใช้งาน คือ ไขควงปากแบน (Straight-Edge Screwdrivers) ไขควงปากแฉก (Phillips-Head Screwdrivers) ไขควงปากบล็อก (Hexagonal Socket)

งานซ่อมเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า 3 1 ไขควงปากแบน ใชส้ �ำหรบั ขนั หวั สกรทู ่ีเป็นแบบหัวผา่ ดงั รปู ที่ 1.1 และ 1.2 โดยในการขนั ต้องให้ปากของไขควง ลงไปในร่องของหัวสกรูพอดี เพราะถ้าปากไขควงใหญ่เกินไปจะท�ำให้หัวสกรูสึกหรือเยินได้ และถ้าปาก ไขควงเลก็ เกินไปจะทำ� ใหป้ ากไขควงบิดงอ หรอื ไมม่ ีแรงขนั มากพอท�ำให้ไขควงเสยี หายได้ รูปที่ 1.1 ลกั ษณะไขควงปากแบนขนาดตา่ ง ๆ รูปท่ี 1.2 ลักษณะการใช้ไขควงปากแบนขนั หัวสกรู 2 ไขควงปากแฉก มลี ักษณะเป็นปากแฉก (Phillips-Head) ใช้สำ� หรับขนั ยึดนอตหรือสกรูทีเ่ ป็นหัวส่ีแฉก ดังรูปท่ี 1.3 การเลอื กใชไ้ ขควงปากแฉกตอ้ งใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดของหวั สกรู ลกั ษณะดงั รปู ท่ี 1.4

4 บทที่ 1 เครอื่ งมือส�ำหรับงานซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟ้า รปู ท่ี 1.3 ลกั ษณะของใช้ไขควงปากแฉกแบบตา่ ง ๆ รูปท่ี 1.4 แสดงลกั ษณะการใช้ไขควงปากแฉกขันหวั สกรู 3 ไขควงปากบล็อก ปลายไขควงแบบนี้มีลักษณะเป็นบล็อก หกเหล่ียม  ใช้ส�ำหรับสวมขันนอตหรือสกรูท่ีเป็นหัว แบบหกเหลีย่ ม มคี วามสะดวกในการขนั หรอื คลาย หวั นอตไดด้ ี ลักษณะดงั รปู ท่ี 1.5 รปู ที่ 1.5 ลักษณะของไขควงปากบลอ็ ก

งานซ่อมเครอื่ งใช้ไฟฟา้ 5 เครอื่ งประเภทคมี คีม (Pliers) เป็นเครือ่ งมือท่ใี ชง้ านไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ ตัดสายไฟ จบั อปุ กรณ์ชิน้ ส่วนตา่ ง ๆ การเลือกใช้คีมควรให้เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน  คีมท่ีใช้ส�ำหรับงานซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ด้ามจับของคีมควรมีฉนวนห่อหุ้มและไม่สึกหรือเส่ือมสภาพเพ่ือความปลอดภัยในการทำ� งาน  คีมท่ีใช้งาน โดยท่วั ไป ได้แก่ คมี ตดั คมี ปากยาว คีมช่างไฟฟ้า คมี ลอ็ ค คมี เล่อื น คมี ตดั และปอกสายไฟ เป็นตน้ 1 คีมตัด คีมตัด (Cutting Pliers) ใชส้ ำ� หรบั ตัดสายไฟ ขาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และปอกสายไฟ สามารถ ใชใ้ นการตัดสายไฟในพน้ื ที่แคบ ๆ ไดส้ ะดวก ขอ้ ควร ระวังในการใช้งานคือ  ไม่ควรน�ำไปใช้ตัดวัสดุท่ีมี ความแขง็ เชน่ ตะปู หัวสกรู ลวดหรือสายไฟขนาด ใหญ่ เพราะอาจท�ำให้คีมหมดความคม หรือช�ำรุด เสยี หายได้ ลกั ษณะดงั รปู ท่ี 1.6 รูปที่ 1.6 ลกั ษณะของคีมตดั รปู ท่ี 1.7 ลกั ษณะของคีมปากยาว 2 คมี ปากยาว คีมปากยาว (Long-Nose Pliers) มลี กั ษณะ ปากยาวเพ่อื ใช้ขนั นอต สกรู หรือจับชิ้นงานในพื้นท่ี จำ� กดั นอกจากนี้ ยังใช้ตัดสายไฟไดด้ ้วย การใชง้ าน ไม่ควรใช้ปากของคีมงัดส่ิงของเพราะปากคีมอาจหัก และเสียหายได้ ลกั ษณะดังรปู ที่ 1.7

6 บทที่ 1 เคร่ืองมือสำ� หรับงานซ่อมเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า 3 คีมช่างไฟฟ้า คีมช่างไฟฟ้า (Lineman’s Pliers) บางทเี รยี กวา่ คมี รวม เนอ่ื งจากใช้งานไดห้ ลากหลาย เช่น ตดั สายไฟ ต่อสายไฟ งานซ่อมบำ� รงุ อุปกรณไ์ ฟฟา้ สามารถใช้ตัดสายไฟขนาดไมเ่ กิน 10 ตารางมลิ ลเิ มตร มแี รงบีบเพอื่ การตดั สายมากกว่าคีมตดั และคีมปากยาว ลกั ษณะดังรูปที่ 1.8 รูปท่ี 1.8 แสดงลกั ษณะคีมช่างไฟฟ้า 4 คีมตัดและปอกสายไฟ คีมตัดและปอกสายไฟ (Stripper Cutter Pliers) เปน็ คีมที่สามารถใช้งานไดท้ ง้ั ตัดและปอกสายไฟ ปากของคมี มลี ักษณะเป็นรอ่ งมคี วามคมและมชี อ่ งส�ำหรบั ใชป้ อกสายไฟท�ำใหส้ ะดวกในการใช้งาน ลักษณะ ดังรูปที่ 1.9 รูปที่ 1.9 ลกั ษณะคมี ตัดและปอกสายไฟ 5 คีมลอ็ ค คีมล็อค (Lever-Wrench Pliers) เป็นคีมเอนกประสงค์ใช้ส�ำหรับจับชิ้นงานให้ล็อคแน่น มี เกลียวสำ� หรบั หมนุ ปรับระยะ เพื่อใหส้ ามารถจับขนาดชนิ้ งานได้อย่างเหมาะสม ลกั ษณะปากจบั ช้นิ งานมี หลายแบบ ดงั รูปท่ี 1.10

งานซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟา้ 7 (ก) แบบปากธรรมดา (ข) แบบปากแบน (ค) แบบปากปากยาวหรือปากจ้งิ จก (ง) แบบปากคีบก้ามปู (จ) แบบปากคีบปากยาว รูปที่ 1.10 ลกั ษณะคีมลอ็ คแบบต่าง ๆ 6 คมี เลื่อน คีมเลื่อน (Slip Joint Pliers) เป็นคีมท่ีสามารถปรับเลื่อนปากของคีมให้จับช้ินงานได้พอดี ใช้ส�ำหรับงานท่ีต้องการถอดประกอบช้ินส่วน มีความคล่องตัวและสะดวกในการใช้งาน ลักษณะดังรูป ที่ 1.11

8 บทที่ 1 เครอื่ งมอื สำ� หรบั งานซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟ้า รูปที่ 1.11 ลกั ษณะคมี เลอ่ื นแบบต่าง ๆ เครอ่ื งประเภทประแจ ประแจ ถือเป็นเคร่ืองมืออีกประเภทหนึ่งที่ใช้ในงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า การถอดช้ินส่วนต่าง ๆ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน ได้แก่ ประแจปากตาย ประแจแหวน ประแจเล่ือน ประแจหกเหล่ียม ประแจบลอ็ ก เปน็ ต้น 1 ประแจปากตาย ประแจปากตาย (Open-End Wrenches) ใช้ส�ำหรับขันหัวนอตหรือสกรูท่ีเป็นเหลี่ยม มีหลาย ขนาดใหเ้ ลอื กใชต้ ามขนาดของหวั นอต ปากของประแจไมส่ ามารถเลอื่ นได้ ลักษณะดงั รปู ที่ 1.12 รูปที่ 1.12 ลักษณะของประแจปากตาย

งานซ่อมเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า 9 2 ประแจเลือ่ น ประแจเลื่อน (Adjustable Wrenches) โดยปากของประแจเล่ือนสามารถปรับเลื่อนให้ได้ ตามขนาดของหวั นอต ลักษณะดังรูปที่ 1.13 รูปท่ี 1.13 ลักษณะของประแจเล่อื น 3 ประแจแหวน ประแจแหวน (Ring Wrenches) มลี ักษณะ เป็นห่วงวงแหวน  ภายในห่วงวงแหวนมีล็อคและ เหลี่ยมเพื่อจับยึดหัวนอตและสกรูได้ดี  เหมาะ ส�ำหรับการขันยึด ถอดหรือคลายนอต สะดวกและ คลอ่ งตัวในการทำ� งาน ลกั ษณะดงั รูปท่ี 1.14 รูปที่ 1.14 ลกั ษณะของประแจแหวนแบบตา่ ง ๆ 4 ประแจหกเหลยี่ ม ประแจหกเหลี่ยม (Allen Wrenches) มี ลักษณะเป็นหกเหลี่ยมใช้ขันหรือถอดหัวนอตที่อยู่ ในรอ่ งลึก ลกั ษณะดังรูปท่ี 1.15 รูปท่ี 1.15 ลักษณะของประแจหกเหล่ยี ม ขนาดตา่ ง ๆ

10 บทท่ี 1 เคร่ืองมอื ส�ำหรบั งานซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟ้า 5 ประแจบล็อก ประแจบล็อก (Block Wrenches) เปน็ ประแจท่ีสามารถเปล่ียนหัวประแจตามขนาดของ นอตหรือสกรูท่ีต้องการขัน  ซ่ึงหัวของประแจปรับ เลือ่ นบลอ็ กได้ ลักษณะดังรปู ท่ี 1.16 รปู ท่ี 1.16 ลกั ษณะของประแจบลอ็ ก และหวั บลอ็ ก เคร่ืองมอื ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า เครื่องมือท่ีใช้ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า (Electric Tester Circuit) โดยท่ัวไป ได้แก่ มัลติมิเตอร์ แคลมป์ออนมิเตอร์ ไขควงทดสอบไฟฟ้า เปน็ ต้น 1 มัลตมิ เิ ตอร์ มัลติมิเตอร์ (Multimeter) เป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าท่ีนิยมใช้งานกันทั่วไป เนื่องจากสามารถ วัดไดท้ ั้งแรงดันไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความตา้ นทานไฟฟ้า โดยท่วั ไปแบ่งลักษณะการทำ� งานได้ 2 แบบ คือ มัลตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มช้ี (Pointer) และแบบดิจติ อล (Digital) ดังรูปท่ี 1.17 (ก) แบบเขม็ ชี้ (Pointer) (ข) แบบดจิ ติ อล (Digital) รูปท่ี 1.17 ลักษณะของมัลติมิเตอร์แบบต่าง ๆ

งานซอ่ มเคร่อื งใช้ไฟฟ้า 11 การใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าความต้านทาน แสดงดงั รูปที่ 1.18 มขี นั้ ตอนปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ปรับสวิตชเ์ ลอื กยา่ นการวดั มาทตี่ ำ� แหน่งย่านวดั ความต้านทาน 2. ปรบั สวติ ชเ์ ลือกยา่ นการวัดมาทย่ี า่ นวดั R x 1 3. ทดสอบเครื่องวัดโดยน�ำปลายสาย เคร่ืองวัดมาแตะกัน  หากเข็มมิเตอร์ ชี้ไม่ถึงต�ำแหน่งศูนย์ให้ปรับที่ปุ่มปรับ ศูนยโ์ อหม์ (Zero-Ohm Adjust) เพ่อื ใหเ้ ข็มช้ีตำ� แหนง่ ศนู ย์ 4. น�ำสายมิเตอร์ขั้วบวก (สีแดง) และ ข้ัวลบ (สีด�ำ) มาต่อคร่อมหรือขนาน กับความต้านทานดงั รูปท่ี 1.18 5. อ่านค่าจากสเกลโอห์มให้สัมพันธ์กับ ยา่ นที่ตัง้ ไว้ 6. หากเข็มมิเตอร์ไม่เบี่ยงเบนแสดงว่าค่า รูปท่ี 1.18 การใช้มัลตมิ เิ ตอร์ ความตา้ นทานเสยี ในลักษณะขาดวงจร วดั คา่ ความตา้ นทาน การใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แสดงดังรปู ที่ 1.19 มีขั้นตอนปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ปรับสวติ ชเ์ ลอื กยา่ นการวดั มาที่ตำ� แหนง่ ย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV) 2. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดอยู่ในต�ำแหน่งการวัดสูงท่ีสุดไว้ก่อน  แล้วค่อยปรับย่านการวัด ลงมาให้เหมาะสมกบั แรงดันไฟฟา้ ท่ตี ้องการวัด 3. น�ำสายมิเตอร์วัดคร่อมหรือขนานกับโหลดโดยให้ข้ันบวก (สีแดง) ของมัลติมิเตอร์ ต่อเข้ากับ ข้วั บวก ( + ) ของแหลง่ จ่ายไฟฟา้ และขวั้ ลบ (สดี ำ� ) ของมลั ตมิ เิ ตอร์ต่อเข้ากับขว้ั ลบ ( – ) ของ แหล่งจ่ายไฟฟา้ ดงั กล่าว 4. อา่ นค่าแรงดันไฟฟ้าทีว่ ัดไดจ้ ากสเกลมัลตมิ ิเตอร์ โดยให้สัมพนั ธ์กับย่านการวัดที่ต้ังไว้

12 บทที่ 1 เครื่องมือสำ� หรับงานซอ่ มเครื่องใชไ้ ฟฟ้า RL URL RL URL V รปู ท่ี 1.19 แสดงการใช้มัลตมิ ิเตอรว์ ัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง การใช้มัลติมิเตอร์วัดค่ากระแสไฟตรง แสดงในรูปที่ 1.20 มีขั้นตอนปฏบิ ัติดังน้ี 1. ปรับสวติ ช์เลือกย่านการวัดมาท่ีตำ� แหน่งยา่ นวัดกระแสไฟตรง (DCA) 2. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดอยู่ในต�ำแหน่งการวัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดไว้ก่อน  แล้วค่อยปรับลด ย่านการวัดกระแสไฟฟ้าให้เหมาะสมกับกระแสไฟฟา้ ทว่ี ัด 3. วดั กระแสไฟตรงโดยต่อมัลติมเิ ตอรอ์ นกุ รมกบั โหลด โดยให้ข้วั บวก (สแี ดง) ของมัลตมิ ิเตอร์ ต่อเขา้ กับขั้วบวก ( + ) ของแหลง่ จ่ายไฟฟา้ และขัว้ ลบ (สดี ำ� ) ของมลั ติมเิ ตอรต์ ่อเข้ากับโหลด 4. อ่านค่ากระแสไฟตรงทไ่ี ด้จากการวดั บนสเกลมัลตมิ ิเตอร์ IL A RL RL รูปท่ี 1.20 แสดงการใชม้ ลั ติมิเตอรว์ ัดค่ากระแสไฟตรง