ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            ทำให้ผลิตสินค้าได้ปริมาณมากเกินความต้องการที่จะใช้ภายในประเทศ จำเป็นต้องแสวงหาตลาดการค้าและแหล่งทุนใหม่ๆ นอกประเทศ ดังนั้นนักธุรกิจ พ่อค้า และนายธนาคารจึงสนับสนุนให้รัฐบาลแสวงอาณานิคมโพ้นทะเลเพื่อจะใช้เป็นตลาดสำหรับจำหน่ายสินค้า เป็นแหล่งวัตถุดิบ และแหล่งการลงทุน ความคิดเกี่ยวกับการแสวงหาอาณานิคมจึงกลายเป็นนโยบายต่างประเทศที่สำคัญอย่างหนึ่งของอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม และเยอรมันนี และส่วนมากมุ่งไปยังทวีปอเมริกา เอเชียและแอฟริกา มีวัตถุประสงค์เพื่อ
            1. ความต้องการวัตถุดิบและทรัพยากรธรรมชาติของดินแดนที่ยึดครอง
            2. เป็นแหล่งระบายพลเมืองไปตั้งถิ่นฐานใหม่ และเปิดตลาดการค้าใหม่

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ภาพการปฏิวัติอุตสาหกรรม

            ในครั้งศตวรรษที่ 19 เกิด ลัทธิจักรวรรดินิยม  

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ซึ่งสืบเนื่องจากการล่าอาณานิคม ทำให้ประเทศมหาอำนาจขยายอิทธิพลเข้าไปครอบครองดินแดนของชาติอื่น ไม่ว่าในรูปการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม และนำไปสู่การแข่งขันแย่งชิงผลประโยชน์ การแข่งขันของประเทศจักรวรรดินิยมมีผลกระทบต่อโครงสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศโดยเฉพาะภายหลัง ค.ศ.1870 เป็นต้นมา ได้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเฉพาะภายหลัง ค.ศ.1870 เป็นต้นมา ได้สร้างความขัดแย้งให้กับประเทศมหาอำนาจมากขึ้น ดังเช่น การแข่งขันระหว่างอังกฤษกับเยอรมันมณี การแข่งขันระหว่างสองชาตินี้ในดินแดนต่างๆ เป็นผลให้มีการแบ่งกลุ่ม พันธมิตรของประเทศมหาอำนาจในยุโรป จนนำไปสู่ สงครามโลก 
ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ในที่สุด

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ที่มา : http://history-ofthailand.blogspot.com/2012/07/blog-post.php

            ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ชาติยุโรปต่างแข่งขันกันแสวงอาณานิคมในดินแดนทวีปเอเชียและแอฟริกา และให้ความสนใจแอฟริกาเนื่องจากเป็นดินแดนที่มั่งคั่งด้วยทรัพยากรธรรมชาติพืชต่างๆ เนื้อสัตว์ งาช้าง ทองคำและเพชร ชาวยุโรปใช้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แข่งขันกันยึดดินแดนแอฟริกา และเอเชีย ประเทศที่ประสบความสำเร็จในการหาอาณานิคม ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และสเปน ฝรั่งเศส มีอาณานิคมมากที่สุดในทวีปแอฟริกา
            อังกฤษได้ปกครองดินแดนเอเชียใต้ อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา พม่า มาลายู ฝรั่งเศสปกครอง เวียดนาม ลาว และกัมพูชา ฮอลันดาปกครองอินโดนีเซีย โปรตุเกสปกครองติมอร์

            เอเชียตะวันออก จีนได้ทำสงครามสู้รบกับชาติตะวันตก ทำให้เสียดินแดนบางส่วนและสิทธิพิเศษให้แก่ชาติต่างๆ เช่นเปิดเมืองท่าให้ชาวยุโรปเข้าไปค้าขายยอมให้อังกฤษเช่าเกาะฮ่องกงเป็นเวลา 99 ปี ฝรั่งเศสได้สิทธิการสร้างทางรถไฟในจีนตอนใต้ เพื่อเชื่อมโยงกับอาณานิคมฝรั่งเศสในอินโดจีน จีนยอมให้เยอรมนีควบคุมแหลมชานตุง และมีสิทธิ์สร้างทางรถไฟบริเวณนี้ และได้สิทธิ์สร้างทางรถไฟสายแมนจูเรีย รัสเซียได้สิทธิในการปกครองพอร์ท อาร์เธอร์ในแหลมเลียวตุง
            ดินแดนอเมริกาเหนือ มูลเหตุจูงใจให้คนอพยพมายังทวีปอเมริกาคือ ความปรารถนาในการสร้างฐานะ ความอดอยาก ที่จะเผชิญโชค ความใฝ่ฝันที่จะมีเสรีภาพทางการเมืองละการนับถือศาสนา
            ดินแดนลาตินอเมริกา ส่วนใหญ่เป็นของสเปนและโปรตุเกสแต่มีดินแดนบางแห่งได้แก่ เปอร์โตริโก 

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ปานามา ถูกปกครองโดยสหรัฐอเมริกา จาเมกา บาฮามา และฮอนดูรัส ปกครองโดยอังกฤษ และหมู่เกาะบางแห่งปกครองโดยฝรั่งเศสและฮอลันดา
            ชาติตะวันตกที่ยึดครองดินแดนอาณานิคม นอกจากได้ครอบครองทรัพยากร และสิทธิพิเศษแล้วยังได้รับสิทธิสภาพนอกอาณาเขตอีกด้วย

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            ปฏิกิริยาของชาวอาณานิคมที่มีต่อชาติตะวันตกมีทั้งยอมรับ ต่อต้าน และประนีประนอม ดังเช่น สภาพสังคมโลกตะวันออก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมาก คือ ญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรม จีนเป็นสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ อินเดียเป็นประชาธิปไตย 

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ที่มั่นคง เกือบทุกสังคมได้เปลี่ยนไปสู่สังคมสมัยใหม่ ดังปรากฎให้เห็นในด้านวัตถุ ระบอบการปกครองความคิดและวิทยาการ แต่ที่เด่นชัดคือความเจริญทางด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่วนวัฒนธรรมทางความคิด ความเชื่อทางศาสนา ความคิดทางการเมืองและนิสัยการดำรงชีวิตยังมีอิทธิพลน้อยมาก ดังนั้น สังคมตะวันออกสมัยใหม่ จึงเป็นสังคมที่มีรูปแบบภายนอกหลายอย่างเป็นตะวันตก ขณะเดียวกันภายในจิตใจยังมีนิสัยตะวันออกซึ่งเห็นจากความเชื่อไสยศาสตร์ ความศักดิ์สิทธิ์ของอำนาจที่มองไม่เห็นและมีพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านั้น

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

          

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ที่มา : http://www.nma6.obec.go.th/korat6/view.php?article_id=8157

            1. การเกิดรัฐสมัยใหม่ที่ประกอบด้วยประชากร ดินแดน บุคคลและอำนาจอธิปไตย
            2. การเกิดสถาบันการเมืองแบบตะวันตก คือรัฐบาลกลาง ทำหน้าที่บริหารราชการตามแบบวิธีการสมัยใหม่แทน วิธีการแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
                 1) การผลิตสินค้าชนิดใหม่ที่สำคัญ ได้แก่ ยางพารา ข้าว ดีบุก ยาสูบ กาแฟ อ้อย
                2) การผลิตเพื่อส่งออก ทำให้เกิดระบบการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเพื่อยังชีพกลายเป็นการผลิตเพื่อการค้าและส่งออก
                3) ชาวจีนเข้ามาประกอบอาชีพโดยเสรี และกลายเป็นผู้ควบคุมการค้าและอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของประเทศขณะที่ชาวพื้นเมืองยังยากจนและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเช่นเดิม
                4) ระบบเศรษฐกิจที่ต้องพึ่ง ระบบเศรษฐกิจของโลก
ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
  และสัมพันธ์กับนานาชาติมากขึ้น
            4. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
                1) มีการนำวิทยาการตะวันตกมาศึกษาอย่างแพร่หลาย แนวทางการพัฒนาประเทศให้ทันสมัยนั้นดำเนินตามแบบตะวันตก
                2) เกิดการขยายตัวของชุมชนเมือง กลายเป็นเมืองมหานครที่มีขนาดใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งขยายตัวทางการคมนาคมการสื่อสาร อาคารและสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่
                3) เกิดสังคมที่ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลายภาษา เนื่องจากชาติตะวันตกได้นำเอาแรงงานจากภูมิภาคอื่นเข้ามาทำงานในอาณานิคมของตนเป็นจำนวนมาก

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ทวีปแอฟริกา

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            ดินแดนในทวีปแอฟริกาถูกแบ่งแยกออกเป็นส่วนๆ โดยการเข้าครอบครองของอังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และเยอรมนี ส่วนโปรตุเกสนั้นยังคงรักษาสถานีการค้าของตนไว้ได้ที่อังโกลาและ โมซัมบิก 

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            สาเหตุการเข้ายึดครอง

            การเข้ายึดครองแอฟริกาของชาวยุโรปในครั้งนั้นมีข้ออ้าง 3 ประการ คือ
            1. เพื่อเปิดประตูการค้าให้กว้างขวางตลอดทั่วภาคพื้นทวีป
            2. เพื่อปลดปล่อยชนเผ่าต่างๆให้เป็นอิสระจากพวกนักค้าทาสชาวอาหรับ
            3. เพื่อเผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนที่ชาวยุโรปเรียกว่า กาฬทวีป ( Dark Continent )
            หลังจากนั้นเพียง 30 ปี ของการเข้าแย่งชิงผลประโยชน์แอฟริกาทั้งทวีป ยกเว้นไลบีเรียกับเอธิโอเปีย ก็ตกเป็นอาณานิคมของชาวยุโรปจนหมดสิ้น

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            การกำหนดเขตแดนของแอฟริกาโดยชาวยุโรป กระทำไปโดยไม่คำนึงถึงภาษาและ เผ่าพันธุ์ของประชากร 

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ในพื้นที่นั้นๆ จะเห็นได้จากอาณาเขตของหลายประเทศที่ปรากฏในแผนที่จะมีการลากเป็นเส้นตรง ด้วยเหตุนี้ภายหลังที่ชาติเหล่านี้ได้เอกราชจึงเกิดปัญหาความเป็นเอกภาพภายในชาติมาจนถึงทุกวันนี้

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            การเข้าครอบครองของชาติตะวันตกได้ทำให้เกิดความทุกข์ยากแก่ชาวแอฟริกาทั้งมวล เดิมทีชาวพื้นเมืองดำรงชีพด้วยการทำไร่ เลี้ยงสัตว์ตามแบบดั้งเดิมที่เคยทำกันมา ชาวแอฟริกา 

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
มีภาษาเขียนไม่มากนักแต่มีงานทางด้านศิลปะ คือ รูปปั้นสำริด การแกะสลักไม้และงาช้าง มีภาพวาดตามแบบพื้นเมืองจำนวนมาก ชาวพื้นเมืองไม่เคยรู้เรื่องของวิทยาการสมัยใหม่ ไม่รู้จักระบบการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ไม่รู้จักระบบการปกครอง กฎหมายและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ชาวยุโรปได้เข้าเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชาวพื้นเมือง ด้วยการบังคับแรงงานชาวพื้นเมืองให้สร้างถนน ขุดเหมืองแร่ ขุดดิน ด้วยเวลาการทำงานที่ยาวนานกว่าปกติมีการนำเอาพืชใหม่ๆมาปลูก เช่น ยางพารา โกโก้ แทนที่พื้นดินที่เคยใช้เป็นที่เลี้ยงสัตว์ ล่าสัตว์ และที่อยู่อาศัยของชาวพื้นเมือง มีการกวาดต้อนเผ่าชนทั้งเผ่าไปอยู่ในบริเวณที่กำหนดไว้ แยกผู้ชายออกจากครอบครัวแล้วส่งไปทำงานยังที่ห่างไกล ถ้าใครขัดขืนก็จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง เช่น ตัดมือ ยิงเป้า เป็นต้น
            หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศส่วนใหญ่ในแอฟริกาได้เอกราชกลับคืนมาแต่ประเทศที่เกิดใหม่เหล่านี้เกิดขึ้นตามแบบฉบับของชาวตะวันตก คือ มีเมืองเป็นศูนย์กลางของความทันสมัย อิทธิพลทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการศึกษาแผนใหม่ ทำให้วิถีชีวิตของชนเผ่าต่างๆเปลี่ยนแปลงไปตลอดกาล

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

            ข้อดี ทำให้เกิดความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ เช่น การสร้างถนน ทางรถไฟ และการบริการขนส่งทางอากาศ ทำให้หมู่บ้านต่างๆในทวีปเอเชีย และแอฟริกาสามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ แร่และพืชผลชนิดต่างๆ ได้ถูกส่งเป็นสินค้าออก ระบบการเกษตรได้เปลี่ยนมาเป็นการผลิตแบบการค้า และเกิดรูปแบบบริการด้านสาธารณสุขสมัยใหม่ ส่งผลให้ประชากรในอาณานิคมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
            ข้อเสีย เศรษฐกิจของอาณานิคมกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจของประเทศเมืองแม่ โดยเน้นการดำเนินการผลิตตามความต้องการของประเทศเมืองแม่ นอกจากนี้การที่ประเทศจักรวรรดินิยมนำเอาแรงงานจากแหล่งอื่นเข้ามาใช้ เมื่อแรงงาน ชาวพื้นเมือง 

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป
ไม่เพียงพอ เป็นการสร้างปัญหาเรื่องชนกลุ่มน้อยให้กับดินแดนเหล่านั้นในระยะต่อมา

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป

ผล ที่เกิดขึ้นจากการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป