เฉลย แบบฝึกหัด พระพุทธ ศาสนา ม. 3 บท ที่ 3

 ป็นเนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก ไม่มีเนื้อนาบุญอื่นยิ่งกว่า หมายถึง พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติถูกทาง ปฏิบัติสมควร และเป็นผู้บริสุทธิ สมควรได้รับการกราบไหว้บูชาแล้วการบริจาคทานแก่ท่าน

สารบัญ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ พุทธสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี พระไตรปิ ฎกและพุทธศาสนสุภาษติ ๓หน่วยการเรียนรู้ท่ี หน้าทชี่ าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาและศาสนพธิ ี ๔หน่วยการเรียนรู้ท่ี การบริหารจิตและการเจริญปัญญา ๕หน่วยการเรียนรู้ที่ พระพุทธศาสนากบั การแก้ปัญหาและการพฒั นา ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ศาสนากบั การอย่รู ่วมกนั ในประเทศไทย ๗หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙หน่วยการเรียนรู้ที่

๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา นบั ต้งั แต่สมยั พทุ ธกาล พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผจ่ ากชมพทู วปี ไปสู่ดินแดนต่างๆ โดย หลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการยอมรับวา่ เป็นหลกั สากล ไม่แบ่งแยกเช้ือชาติ สีผวิ ถา้ ชนใดมีความเชื่อมนั่ ศรัทธาและปฏิบตั ิตามหลกั คาสอนแลว้ กย็ อ่ มจะเขา้ ถึงความสุขที่ แทจ้ ริงของชีวติ ไดเ้ ช่นกนั หลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา นอกจากสอนเนน้ เรื่องการ พฒั นาตนแลว้ ยงั สอนใหร้ ู้จกั การสร้างประโยชนส์ ุขใหแ้ ก่ผอู้ ่ืน ขณะเดียวกนั กย็ งั มีส่วนช่วย สร้างสรรคอ์ ารยธรรมและสร้างความสุขใหแ้ ก่โลกอีกดว้ ย

๑. การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา การเผยแผ่ในสมยั โบราณ การเผยแผด่ ว้ ยการแสดงธรรมหรือการเทศน์ การเผยแผด่ ว้ ยการศึกษาและการปฏิบตั ิธรรม สถาบนั พระมหากษตั ริยเ์ ป็นศูนยก์ ลางในการเผยแผ่

การเผยแผ่ในสมยั ปัจจุบัน การเผยแผด่ ว้ ยการแสดงธรรมหรือการเทศน์ การเผยแผผ่ า่ นองคก์ รทางพระพทุ ธศาสนา การเผยแผด่ ว้ ยการปฏิบตั ิธรรม การเผยแผผ่ า่ นสื่อเทคโนโลยี

๒. การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ทว่ั โลก ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๓ ในสมยั พระเจา้ อโศก มหาราช ภายหลงั การทาสงั คายนาคร้ังท่ี ๓ พระองคไ์ ดส้ ่ง สมณทูต ๙ สาย ออกไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนายงั นานา ประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ดินแดนใกลเ้ คียงกบั ชมพทู วปี จากจุดเริ่มตน้ น้ีเองทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนา แผข่ ยายไปทวั่ ทุกภูมิภาคของโลก

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในทวปี เอเชีย ประเทศอนิ เดยี พระพุทธเมตตาที่มหาสถูปพทุ ธคยาในอินเดีย แสดง • เป็นดินแดนแห่งพทุ ธมาตุภูมิ ถึงการฟ้ื นฟูพระพทุ ธศาสนาในมาตุภูมิใหร้ ุ่งเรืองอีก ซ่ึงเป็นสถานท่ีประสูติของพระพทุ ธเจา้ คร้ัง • มีการเส่ือมถอยของ พระพทุ ธศาสนาเมื่อประมาณพทุ ธศตวรรษ ที่ ๑๗ • ไดก้ ลบั มาเจริญรุ่งเรืองอีกคร้ัง ในสมยั การกอบกเู้ อกราช ผฟู้ ้ื นฟู พระพทุ ธศาสนาคนสาคญั เช่น เซอร์ อเลก็ ซานเดอร์ คนั นิงแฮม เซอร์ เอด็ วนิ อาร์โนลด์ ดร.อมั เบดการ์

วดั Dambulla ประเทศศรีลงั กา ประเทศศรีลงั กา • พระพทุ ธศาสนาเริ่มเขา้ สู่ ศรีลงั กาประมาณ พ.ศ. ๒๓๖-๒๘๗ • สมยั พระเจา้ เทวานมั ปิ ยติสสะ ทรงประกาศใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนา ประจาชาติสืบมาถึงปัจจุบนั • พระพทุ ธศาสนาในศรีลงั กามี ความรุ่งเรืองและเสื่อมถอยโดยเปล่ียนแปลง ไปตามอานาจการปกครอง มีช่วงหน่ึงท่ี ศรีลงั กาส่งทูตมาขอพระสงฆไ์ ทยไปบวช ใหก้ ลุ บุตรชาวศรีลงั กา

ประเทศเนปาล วดั เจดียโ์ พธินาถ หรือพุทธนาถ มรดกโลก ประเทศ เนปาล เป็นเจดียท์ ี่ใหญ่ท่ีสุดในเนปาล บนเจดียม์ ี • ในอดีตเนปาลเป็นดินแดน ส่วนหน่ึงของอินเดีย และเป็นสถานท่ีต้งั ของ ดวงตาเห็นธรรมของพระพุทธเจา้ ท้งั ส่ีทิศ สวนลุมพินีวนั สถานที่ประสูติของ พระพทุ ธเจา้ • ในยคุ แรกพระพทุ ธศาสนา เถรวาทรุ่งเรืองมาก ต่อมาเส่ือมถอยลง ทาให้ พระพทุ ธศาสนามหายาน นิกายตนั ตระซ่ึง ผสมกบั ความเชื่อพ้นื เมืองเจริญข้ึนมาแทน • ปัจจุบนั พระพทุ ธศาสนานิกาย เถรวาทไดร้ ับการฟ้ื นฟู โดยไทยเป็นกาลงั สาคญั ในการฟ้ื นฟพู ระพทุ ธศาสนาเถรวาท

วดั ทกั ซงั หรือรังเสือ เป็นที่เคารพสกั การะยง่ิ ของ ประเทศภูฏาน ชาวพุทธในภูฏาน • พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ภูฏานราว พ.ศ. ๘๐๐-๑๒๐๐ โดยเป็นนิกายวชั รยาน และ ไดเ้ ป็นศาสนาประจาชาติภูฏาน • ในราว พ.ศ. ๑๗๖๓ ไดม้ ีการ ก่อต้งั นิกายดรุกปะกคั ยขุ ้ึน จนถึงยคุ ของท่าน งาวงั นมั เยล ไดส้ ร้างพนู าคาซองเป็นสถานที่ ประกอบพธิ ีกรรมสาคญั เช่น พิธีสถาปนา สมเดจ็ พระสงั ฆราช • ชาวภูฏานนบั วา่ มีความศรัทธา และยดึ มนั่ ในพระพทุ ธศาสนามาก

เขตปกครองตนเองทเิ บต พระราชวงั โปตาลา ต้งั อยบู่ นท่ีราบสูงทิเบต • พระพทุ ธศาสนาในทิเบตเป็น มหายานแบบวชั รยาน • พระพทุ ธศาสนาจากอินเดียเขา้ สู่ทิเบตในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ หลงั จากน้นั กษตั ริยท์ ิเบตไดท้ รงใหก้ ารอุปถมั ภเ์ ป็นอยา่ งดี • ก่อนจะรวมเขา้ เป็นดินแดน ส่วนหน่ึงของจีน พระพทุ ธศาสนาถูกแบ่ง ออกเป็น ๔ นิกาย โดยนิกายเคลุกปะเป็นที่นบั ถือแพร่หลายท่ีสุด พระสงฆใ์ นนิกายน้ีเรียกวา่ ลามะ ส่วนผนู้ าสูงสุดในการปกครอง เรียกวา่ องคด์ าไลลามะ

พระถงั ซาจง๋ั หรือพระเสวยี นจ้งั โดยสมยั ราชวงศถ์ งั ประเทศจีน ไดเ้ ดินทางไปศึกษาพระธรรมท่ีอินเดีย และอญั เชิญ พระไตรปิ ฎกกลบั มาจีน และแปลเป็นภาษาจีน • จีนเริ่มยอมรับพระพทุ ธศาสนา ในสมยั ราชวงศฮ์ น่ั • พระพทุ ธศาสนาเจริญสูงสุดใน สมยั ราชวงศถ์ งั เพราะไดร้ ับการสนบั สนุนจาก จกั รพรรดิ จากน้นั กเ็ จริญสูงสุดในบางสมยั และเส่ือมสุดในบางช่วงเวลา • ในช่วงที่จีนปกครองดว้ ย ระบอบคอมมิวนิสต์ พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับ ผลกระทบมาก ภายหลงั ต่อมากไ็ ดร้ ับการ ฟ้ื นฟใู หก้ ลบั มาดีดงั ที่เป็นอยใู่ นปัจจุบนั

ประเทศเกาหลี • ช่วงแรกชาวเกาหลีนบั ถือศาสนาชา มาน ต่อมาภายหลงั จึงนบั ถือพระพทุ ธศาสนาโดย จีนและอินเดียนามาเผยแผ่ • เม่ือราชวงศล์ ีหรือราชวงศโ์ ชซอน เขา้ มามีอานาจไดส้ นบั สนุนใหล้ ทั ธิขงจื๊อเป็น ศาสนาประจาชาติ พระพทุ ธศาสนาจึงเส่ือมโทรม ลง • เมื่อเกาหลีอยใู่ ตก้ ารปกครองของ ญี่ป่ ุน พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการฟ้ื นฟู จนกระทง่ั เกาหลีถูกแบ่งออกเป็น ๒ ประเทศ พระพทุ ธศาสนา พระพุทธรูปหินแกะสลกั ในวดั ถ้าช็อคกรู ัม เมือง คยองจู ประเทศเกาหลีใต้ จึงรุ่งเรืองเฉพาะในเกาหลีใต้

พระพุทธรูปไดบุทซึท่ีวดั โทได ประเทศญ่ีป่ ุน แสดงถึง ประเทศญปี่ ่ ุน แรงศรัทธาของชาวญ่ีป่ ุนท่ีมีต่อพระพทุ ธศาสนา • พระพทุ ธศาสนาในญี่ป่ ุน เริ่มตน้ ข้ึนในช่วงพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๓ และเจริญรุ่งเรืองข้ึนตามลาดบั โดยเริ่มนบั ถือ ในหมู่ชนช้นั สูงก่อนแลว้ ค่อยแพร่หลายไปสู่ ประชาชน • ในปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ พระพทุ ธศาสนาแบ่งเป็น ๓ นิกายหลกั และ เป็นท่ีนบั ถือกนั มาจนถึงปัจจุบนั ไดแ้ ก่ นิกายโจโดหรือสุขาวดี นิกายเซน และนิกาย นิชิเรน

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในทวปี ยุโรป ประเทศองั กฤษ วดั พุทธปทีปในกรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ • การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเร่ิมข้ึน ใน พ.ศ. ๒๓๙๓ เมื่อสเปนเซอร์ อาร์ดี ไดพ้ ิมพ์ หนงั สือชื่อ ศาสนจกั รแห่งบูรพาทิศออกเผยแพร่ • ใน พ.ศ. ๒๔๒๒ เซอร์ เอด็ วนิ อาร์โนลด์ ไดเ้ ขียนประทีปแห่งเอเชีย ทาให้ ไดร้ ับความสนใจจากชาวองั กฤษมาก • ต่อมาองคก์ รทางพระพทุ ธศาสนา ไดเ้ ป็นศูนยก์ ลางในการเผยแผ่ จนเกิดวดั พทุ ธ จานวนมาก

วดั ธรรมบารมี เมืองดอร์ทมุนด์ ประเทศเยอรมนี ประเทศเยอรมนี • ใน พ.ศ. ๒๔๖๔ ดร.คาร์ล ไซ เกนสติคเกอร์ ไดก้ ่อต้งั พทุ ธสมาคมเยอรมนั ข้ึน แต่ต่อมาพระพทุ ธศาสนาเส่ือมลงในยคุ ที่นาซี เรืองอานาจ • หลงั สงครามโลกคร้ังที่ ๒ สิ้นสุด ไดม้ ีการฟ้ื นฟูพระพทุ ธศาสนาโดยกลุ่มเอกชน ร่วมกบั พระสงฆจ์ ากญี่ป่ ุน ไทย ศรีลงั กา และ ทิเบต มีการจดั พมิ พห์ นงั สือเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา และแปลเป็นภาษาต่างๆ รวมท้งั ภาษาไทย

ประเทศฝรั่งเศส วดั ธรรมปทีป ต้งั อยชู่ านเมืองปารีส ประเทศฝร่ังเศส • การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา เร่ิมข้ึนโดยกลุ่มพทุ ธศาสนิกชนชาวฝรั่งเศส นาโดย น.ส. คอนสแตนต์ ลอนสเบอรรี ไดร้ ่วมกนั ก่อต้งั พทุ ธสมาคมข้ึนภายใตช้ ่ือ เล ซามีดู บุดดิสเม ในนครปารีส มีการจดั กิจกรรม ออกวารสาร รวมท้งั นิมนต์ พระสงฆจ์ ากไทย พม่า ลาว ไปแสดงธรรม และฝึกสมาธิวปิ ัสสนา • ปัจจุบนั การเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาไม่รุ่งเรืองมากนกั

การฝึกปฏิบตั ิธรรมในวดั อภิธรรมพทุ ธวิหาร นคร ประเทศรัสเซีย เซนตป์ ี เตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย • พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่สหภาพ โซเวยี ตในอดีต ต้งั แต่เม่ือคร้ังตกอยใู่ ตก้ าร ปกครองของมองโกลแต่ไม่แพร่หลายมากนกั • ภายหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี ๑ มีกลุ่มบุคคล เช่น มาดามเซอร์บาตรสกี มร. โอเบอร์มิลเลอร์ พยายามนา พระพทุ ธศาสนาเขา้ ไปเผยแผผ่ า่ นกลุ่ม ปัญญาชนชาวรัสเซีย • ปัจจุบนั พทุ ธศาสนิกชนได้ กระจายไปอยใู่ นประเทศต่างๆ ท่ีแยกออกมา จากสหภาพโซเวยี ต

ประเทศเนเธอร์แลนด์ วดั พุทธบารมีเนเธอร์แลนด์ • พระพทุ ธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ มา ผา่ นการคา้ โดยพอ่ คา้ ชาวดตั ชแ์ ละชาว พ้ืนเมืองจากอินโดนีเซียและศรีลงั กา แต่ผนู้ บั ถือมีนอ้ ย • ใน พ.ศ. ๒๔๙๘ ชาวพทุ ธใน กรุงเฮกไดฟ้ ้ื นฟชู มรมชาวพทุ ธข้ึน • ใน พ.ศ. ๒๕๐๘ มีการก่อต้งั กลุ่มพทุ ธศาสนศ์ ึกษาข้ึนในกรุงเฮก และ พ.ศ. ๒๕๑๒ มีการจดั ต้งั พทุ ธสมาคมแห่ง ใหม่ข้ึน

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในทวปี อเมริกาเหนือ วดั นิวยอร์กธมั มาราม สหรัฐอเมริกา • ภายหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี ๒ มีชาวเอเชียอพยพเขา้ มาในสหรัฐอเมริกาและ แคนาดาเพ่ิมมากข้ึน และไดเ้ ผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาดว้ ย • ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ ชาวพทุ ธญี่ป่ ุน ไดส้ ร้างวดั นิกายสุขาวดีท่ีซานฟรานซิสโก ต่อมามีการก่อต้งั สมาคมพระพทุ ธศาสนาแห่ง อเมริกา รวมท้งั มหาวทิ ยาลยั พทุ ธธรรมข้ึน • ปัจจุบนั มีวดั ไทยใน สหรัฐอเมริกาและแคนาดาหลายแห่ง

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในทวปี อเมริกาใต้ • ส่วนมากเป็นการนบั ถือของ ชาวญี่ป่ ุนท่ีเขา้ ไปต้งั ถิ่นฐานในประเทศบราซิลไดส้ ร้าง ผอู้ พยพยา้ ยถ่ินฐานจากทวปี เอเชียเขา้ ไป วดั พทุ ธข้ึน ทามาหากินในประเทศต่างๆ ในทวปี อเมริกาใต้ โดยเฉพาะชาวจีน ญี่ป่ ุน โดยมี การจดั ต้งั องคก์ รทางพระพทุ ธศาสนาเป็น จานวนมาก • การนบั ถือพระพทุ ธศาสนา ยงั คงจากดั ในหมู่ชาวเอเชีย ส่วนชาว พ้ืนเมืองนบั ถือกนั นอ้ ย

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในทวปี ออสเตรเลยี วดั พุทธรังสี (แอนนนั เดล) นครซิดนีย์ ประเทศ ประเทศออสเตรเลยี ออสเตรเลีย • ใน พ.ศ. ๒๔๕๓ พระศาสนธชะ (มร.อี.สตีเวนสนั ) พระภิกษชุ าวองั กฤษได้ เดินทางไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในออสเตรเลีย • ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ มีการจดั ต้งั พทุ ธ สมาคมข้ึนในรัฐควนี ส์แลนด์ นิวเซาทเ์ วลส์ และ วกิ ตอเรีย และมีการต้งั องคก์ รทาง พระพทุ ธศาสนาอีกหลายแห่ง • ปัจจุบนั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ในออสเตรเลียเป็นไปดว้ ยดี

ประเทศนิวซีแลนด์ วดั พทุ ธสามคั คี เมืองไครสตเ์ ชิร์ช ประเทศ นิวซีแลนด์ • การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ส่วนใหญ่เป็ นการดาเนินการโดยพระสงฆ์ ชาวองั กฤษ ทิเบต ญ่ีป่ ุน และไทย โดยการ สนบั สนุนของพทุ ธสมาคมแห่งเมือง โอกแลนด์ • ปัจจุบนั แมว้ า่ การนบั ถือ พระพทุ ธศาสนาจากดั เฉพาะในเมืองใหญ่ เช่น เวลลิงตนั ไครสตเ์ ชิร์ช เป็นตน้ แต่ ประชาชนกห็ นั มาสนใจศึกษาหลกั คาสอน และอุปถมั ภบ์ ารุงวดั มากข้ึน

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในทวปี แอฟริกา วดั ไทยโยฮนั เนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ • ร่องรอยการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาพอมีอยบู่ า้ งในประเทศอียปิ ต์ และเคนยา แต่เป็นแบบไม่เป็นทางการ • ในอียปิ ต์ พระพทุ ธศาสนา เขา้ ไปพร้อมกบั ชาวญ่ีป่ ุน เกาหลี ไทย ศรีลงั กา อินเดีย ซ่ึงเดินทางไปศึกษา ทางาน และ ท่องเที่ยว • ในเคนยา ไดม้ ีการก่อต้งั ชมรม ชาวพทุ ธ และมีการนิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากจีน ญ่ีป่ ุน ไทย เดินทางไปแลกเปล่ียนและเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาบา้ ง

๓. ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาในฐานะทช่ี ่วยสร้างสรรค์อารยธรรมให้แก่โลก ด้านการปกครอง การปกครอง • พระพทุ ธศาสนามีหลกั คาสอนสาหรับ ระบอบ พระมหากษตั ริยเ์ พอ่ื ใหเ้ ป็นผนู้ าท่ีดี มีคุณธรรม ไดแ้ ก่ ทศพิธราชธรรม จกั รวรรดิวตั ร ราชาธิปไตย การปกครอง • พระพทุ ธศาสนามีหลกั อปริหานิยธรรมเพ่อื ระบอบ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปกครอง เช่น หมนั่ ประชมุ กนั เนืองนิตย์ พร้อมเพรียงกนั ประชุม เป็นตน้ สามคั คธี รรม

ด้านการจดั ระเบยี บสังคม พระพทุ ธศาสนาสอนหลกั ธรรมเพือ่ ความเจริญมน่ั คงแห่งสถาบนั ทางสงั คมต่างๆ เช่น ทิศ ๖ สถาบนั ครอบครัว สถาบนั สังคม สถาบนั การศึกษา สถาบนั ศาสนา ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ ง ระหวา่ งบิดามารดา ระหวา่ งนายจา้ ง ครูอาจารยก์ บั ระหวา่ ง ศิษย์ พระสงฆก์ บั กบั บุตรธิดา กบั ลูกจา้ ง ประชาชน ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งสามีกบั ระหวา่ งมิตร ภรรยา กบั มิตร

ด้านการสร้างสรรค์อารยธรรมให้แก่โลก ด้านจติ ใจ ด้านวชิ าการ ด้านวตั ถุ แมว้ า่ คนเราลว้ น พระพทุ ธศาสนามี พระพทุ ธศาสนาได้ ตอ้ งการปัจจยั ๔ เพื่อ ลกั ษณะเป็นปรัชญา โดย สร้างสรรคส์ ่ิงที่เป็นวตั ถุ ตอบสนองความตอ้ งการ อธิบายสรรพส่ิงท้งั ปวง ใหเ้ ป็นมรดกแก่อารย- ทางกาย แต่กต็ อ้ งการ ดว้ ยวธิ ีการของเหตุผล ธรรมของโลกดว้ ย เช่น แสวงหาความสุขทาง ซ่ึงมหาวทิ ยาลยั ช้นั นา พระพทุ ธรูป เจดีย์ วดั จิตใจดว้ ย ดงั จะเห็นไดว้ า่ ของโลกไดเ้ ปิ ดสอนวชิ า สถูป ซ่ึงลว้ นเกิดจาก คนพากนั สนใจศึกษา พระพทุ ธศาสนากนั แรงศรัทธาใน พระพทุ ธศาสนาเพมิ่ ข้ึน แพร่หลาย พระพทุ ธศาสนา

พระพทุ ธศาสนาในฐานะท่ีช่วยสร้างความสงบสุขให้แก่โลก • พระพทุ ธศาสนาสอนไม่ใหเ้ บียดเบียนท้งั ตนเองและผอู้ ื่น • พระพทุ ธศาสนาสอนใหม้ ีเมตตาต่อกนั ท้งั ต่อหนา้ และลบั หลงั • พระพทุ ธศาสนาสอนใหม้ ีความเสียสละ • พระพทุ ธศาสนาสอนใหม้ ีความอดทน (ขนั ติ) และไม่ยดึ มนั่ ในตนเองเกินไป (อนตั ตา) • พระพทุ ธศาสนาสอนใหเ้ ป็นคนใจกวา้ ง • พระพทุ ธศาสนาสอนใหเ้ อาชนะความชว่ั ดว้ ยความดี

๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก หลงั จากพระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้แลว้ ก็ทรงมีพระกรุณาส่งั สอนสตั วโลกใหป้ ฏิบตั ิตามจน สามารถละความทุกข์ สร้างความสุขแก่ตนเองและสร้างสนั ติสุขแก่สงั คม การศึกษาพทุ ธประวตั ิ ประวตั ิพระสาวกและชาดกต่างๆ จึงสะทอ้ นวา่ ทุกอยา่ งสาเร็จ ไดด้ ว้ ยความเพียรและสติปัญญา จริยาวตั รอนั ดีงามและคุณธรรมของแต่ละท่านเป็นผลจากการ ฝึ กฝนและพฒั นาตนในทางที่ถูกตอ้ งดีงาม ซ่ึงชาวพุทธควรดาเนินตาม เพ่ือประโยชน์สุขแก่ ตนเองและสงั คมต่อไป

๑. พทุ ธประวตั ิ หลงั จากตรัสรู้ พระพทุ ธเจา้ ทรงมี พระมหากรุณาสงสารสตั วโลก จึงทรงมี การแสดงปฐมเทศนา พระประสงคจ์ ะไปแสดงธรรมโปรด อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุททกดาบส พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรด รามบุตร แต่ท่านท้งั สองสิ้นชีพ ไปแลว้ ปัญจวคั คีย์ จึงตดั สินพระทยั จะไปโปรด ปัญจวคั คีย์ ซ่ึงเคยรับใชพ้ ระองคข์ ณะทรงบาเพญ็ ทุกกร กิริยา โดยพระองคท์ รงแสดงปฐมเทศนาที่ เรียกวา่ ธมั มจกั กปั ปวตั นสูตร

ธัมมจักกปั ปวตั นสูตร ทรงช้ีทางสุดโต่ง ๒ ทางท่ีบรรพชิต ไม่พงึ ปฏิบตั ิ ทรงแสดงทางสาย กลาง คือ อริยมรรค มีองคแ์ ปด ทรงแสดงอริยสจั ๔ หลงั การแสดงธรรมจบลง ไดแ้ ก่ ทุกข์ สมุทยั โกณฑญั ญะไดด้ วงตาเห็น ธรรม และทูลขอบวชเป็น นิโรธ มรรค พระสาวกรูปแรก

วเิ คราะห์พทุ ธประวตั ิ ตอน แสดงปฐมเทศนา • เมื่อพระพทุ ธเจา้ ทรงมีพระดาริจะไม่เสดจ็ ไปสอนใครชว่ั ขณะจิตหน่ึง ทา้ วสหมั บดีพรหม ไดม้ าอญั เชิญใหท้ รงเสดจ็ ไปสอน พระพทุ ธองคจ์ ึงทรงเปรียบเทียบกบั ดอกบวั ๓ เหล่า ทรง เห็นวา่ สตั วโลกมีระดบั สติปัญญาจะเขา้ ใจพระธรรม จึงทรงรับคาอาราธนา ขอ้ ความตรงน้ีเป็นบุคลาธิษฐาน ถอดเป็นภาษาธรรมไดว้ า่ พรหมเป็นสญั ลกั ษณ์แทน พรหมวหิ ารธรรมอนั มีเมตตากรุณาเป็นหลกั การที่ทา้ วสหมั บดีพรหมมาเชิญ หมายถึง พระพทุ ธองคท์ รงมีพระมหากรุณาสงสารสตั วโลกท่ีตกอยใู่ นหว้ งทุกข์ จึงตดั สิน พระทยั เสดจ็ ออกไปโปรด

• การท่ีพระพทุ ธองคท์ รงมุ่งมน่ั ที่จะไปสอนปัญจวคั คียใ์ หไ้ ด้ เนื่องจากเหตุผลท่ีวา่ ทรงตอ้ งการแกค้ วามเขา้ ใจผดิ ของปัญจวคั คียใ์ หเ้ ขา้ ใจแจ่มแจง้ วา่ การทรมานตวั เองดว้ ย การอดอาหารมิใช่ทางบรรลุมรรคผล อริยมรรคมีองคแ์ ปดเท่าน้นั ที่จะทาใหบ้ รรลุ นิพพานได้ และทรงตอ้ งการสกั ขีพยานแห่งการตรัสรู้ • เหตุท่ีพระธรรมเทศนาน้ีมีชื่อวา่ ธมั มจกั กปั ปวตั นสูตร เป็นการเปรียบเทียบกบั ทางโลก ที่มหาราชผยู้ ง่ิ ใหญจ่ ะทาพิธีอศั วเมธปล่อยมา้ ไปยงั เมืองต่างๆ เม่ือมา้ ผา่ นไปเมืองใด ถา้ เจา้ เมืองเกรงบารมีจะยอมสยบเป็นเมืองข้ึน แต่ถา้ ไม่ยอมกจ็ ะฆ่ามา้ น้นั และมหาราชจะยกทพั ไปปราบ ลอ้ รถศึกของมหาราชผา่ นไปใน ทิศทางใด กย็ ากท่ีใครจะตา้ นทานได้ เม่ือพระพทุ ธองคท์ รงแสดงอริยสจั ๔ เท่ากบั ทรง หมุนกงลอ้ แห่งธรรมท่ีไม่มีใครคดั คา้ นได้

โอวาทปาฏโิ มกข์ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกขใ์ นวนั เพญ็ ในวนั เพญ็ เดือน ๓ พระสงฆ์ เดือน ๓ จานวน ๑,๒๕๐ รูป ไดม้ าเฝ้า พระพทุ ธเจา้ ท่ีวดั พระเวฬุวนั โดย มิไดน้ ดั หมายกนั ท่านเหล่าน้นั เป็นเอหิภิกขุ (พระสงฆท์ ี่ พระพทุ ธเจา้ ประทานอุปสมบท ให)้ เป็นพระอรหนั ต์ พระพทุ ธเจา้ จึงทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์

โอวาทปาฏิโมกข์ : หัวใจพระพทุ ธศาสนา • ทรงแสดงอุดมการณ์ของพระพทุ ธศาสนา คือ พระนิพพาน • ทรงแสดงหลกั การทว่ั ไปของพระพทุ ธศาสนา ๓ ประการ ไดแ้ ก่ การไม่ทาความชวั่ ท้งั ปวง การทา ความดีใหพ้ ร้อม และการทาจิตของตนใหผ้ อ่ งแผว้ • ทรงแสดงวธิ ีการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาโดยเนน้ ไม่วา่ ร้ายผอู้ ื่น ใชข้ นั ติธรรม • ทรงตรัสถึงคุณสมบตั ิของผเู้ ผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา

วเิ คราะห์พุทธประวตั ิ ตอนโอวาทปาฏิโมกข์ • เพราะเหตุใดภิกษุจานวนมากถึง ๑,๒๕๐ รูป จึงมาประชุมกนั ในวนั น้ี และมาโดยมิได้ นดั หมายกนั มาก่อนจริงหรือ พระพทุ ธองคท์ รงส่งภิกษเุ หล่าน้นั ไปประกาศพระพทุ ธศาสนายงั แวน่ แควน้ ต่างๆ เม่ือทางานไดผ้ ลหรือพบอุปสรรคใดกป็ ระสงคจ์ ะมาเฝ้าพระพทุ ธองค์ เม่ือทราบวา่ พระพทุ ธองคป์ ระทบั อยทู่ ี่วดั พระเวฬุวนั ประกอบกบั ตรงกบั วนั เพญ็ ซ่ึงมีแสงสวา่ ง เหมาะสาหรับการประชุมใหญ่ กเ็ ป็นเหตุผลท่ีทาใหต้ ่างรูปต่างเดินทางมาวดั พระ เวฬุวนั โดยมิไดน้ ดั หมายมาก่อน

• ในวนั เพญ็ เดือน ๓ พระสารีบุตรไดบ้ รรลุพระอรหนั ต์ จากน้นั ไม่นานพระพทุ ธองคท์ รง แต่งต้งั ใหพ้ ระสารีบุตรและพระโมคคลั ลานะเป็นพระอคั รสาวกเบ้ืองขวาและเบ้ืองซา้ ย ทาใหบ้ างท่านคิดวา่ พระพทุ ธองคท์ รงลาเอียง ไม่แต่งต้งั พระผใู้ หญ่รูปอ่ืน พระพทุ ธองคท์ รงเห็นวา่ งานเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเป็นงานสาคญั จึงทรงมองหา บุคคลที่จะช่วยทางาน และทรงเห็นวา่ ท้งั สองท่านเหมาะกบั งานน้ี เพราะพระสารีบุตร และพระโมคคลั ลานะเป็นพราหมณ์มาก่อน มีความเช่ียวชาญไตรเพทดี และรู้วธิ ีการ โตเ้ ถียงหกั ลา้ งกนั ดว้ ยเหตุผล หาใช่เพราะทรงลาเอียง

พทุ ธประวตั จิ ากพระพทุ ธรูปปางต่างๆ ปางมารวชิ ัย ขณะท่ีพระพทุ ธองคท์ รงนงั่ สมาธิ อยใู่ ตต้ น้ โพธ์ิ พญาวสวตั ตีมารไดม้ า ขบั ไล่พระองค์ และอา้ งวา่ บลั ลงั กเ์ ป็น ของตน พระพทุ ธองคท์ รงแยง้ วา่ บลั ลงั กเ์ ป็นของพระองค์ และทรงเรียก นางวสุนธราพระแม่ธรณี มาเป็นพยาน ทนั ใดน้นั พระแม่ธรณีไดผ้ ดุ ข้ึนมาจาก แผน่ ดินและบีบมวยผมบนั ดาลใหเ้ กิด กระแสน้าไหลท่วมกองทพั พญามาร จนพา่ ยแพ้ ชาวพทุ ธจึงสร้างปางน้ีข้ึน

ปางลลี า ปางน้ีมีความเกี่ยวโยงกบั ปางเสดจ็ ลงมาจากดาวดึงส์ กล่าวคือ หลงั จาก พระพทุ ธองคเ์ สดจ็ ข้ึนไปจาพรรษา ณ สวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์ แสดงธรรมโปรด พทุ ธมารดาตลอด ๓ เดือนแลว้ กเ็ สดจ็ ลงมาจากดาวดึงส์ ซ่ึงพระพทุ ธลีลา นอกจากบ่งบอกถึงความงามอนั อ่อนชอ้ ย แลว้ ยงั หมายถึงการเคลื่อนไหวดว้ ย พระมหากรุณา เพ่อื โปรดเวไนยสตั วใ์ ห้ หลุดพน้ จากความทุกข์

ปางปฐมเทศนา หลงั จากตรัสรู้แลว้ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ดาเนินดว้ ยพระบาทไปยงั ป่ าอิสิปตน- มฤคทายวนั แขวงเมืองพาราณสี ทรงแสดงธมั มจกั กปั ปวตั นสูตรวา่ ดว้ ย อริยสจั ๔ แก่ปัญจวคั คีย์ การแสดงปฐม เทศนาน้ี เรียกอีกอยา่ งวา่ ทรงหมุนกงลอ้ ธรรมชาติ ซ่ึงเป็นเครื่องหมายแห่งการ ประกาศพระพทุ ธศาสนาเป็นคร้ังแรก

พระประจาวนั อาทติ ย์ ปางถวายเนตร หลงั ตรัสรู้ใหม่ๆ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ออก จากโคนตน้ พระศรีมหาโพธ์ิไปทาง ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ทรง ทอดพระเนตรตน้ พระศรีมหาโพธ์ิโดย ไม่กระพริบพระเนตรเป็นเวลา ๗ วนั เพ่ือราลึกถึงคุณประโยชน์ของตน้ พระศรี มหาโพธ์ ิที่อานวยช่วยพระองค์ จนไดต้ รัสรู้เป็นพระพทุ ธเจา้

พระประจาวนั จันทร์ ปางห้ามสมุทร ขณะท่ีพระพทุ ธเจา้ ประทบั ที่โรงไฟเมื่อ คราวเสดจ็ ไปโปรดชฎิลสามพี่นอ้ งแลว้ เกิดฝนตกหนกั น้าหลากท่วมบริเวณ ท่ีประทบั อยู่ พวกชฎิลสามพี่นอ้ งหนีข้ึน บนท่ีดอน ส่วนพระพทุ ธเจา้ มิไดเ้ สดจ็ หนี เชา้ มาพวกชฎิลสามพน่ี อ้ งไดอ้ อก ตามหาจนพบพระพทุ ธองคท์ รงยนื อยู่ ภายในวงลอ้ มของน้าท่ีท่วม

พระประจาวนั องั คาร ปางไสยาสน์ เมื่อคร้ังพระพทุ ธเจา้ ประทบั อยู่ ณ วดั เชตุวนั เมืองสาวตั ถี คร้ังน้นั อสุรินทราหูแสดง ความกระดา้ งกระเดื่องไม่ยอมอ่อนนอ้ ม พระพทุ ธองคท์ รงมีพระประสงคจ์ ะลดทิฐิของ จอมอสูร จึงทรงเนรมิตกายจนใหญก่ วา่ อสุรินทราหูจึงยอมอ่อนนอ้ ม

พระประจาวนั พุธ (กลางวนั ) ปางอุ้มบาตร เมื่อคร้ังพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปโปรด พระประยรู ญาติกรุงกบิลพสั ดุ์ รุ่งข้ึน อีกวนั จากวนั เสดจ็ ไปถึงในเวลาเชา้ พระพทุ ธองคก์ ท็ รงบาตรพาภิกษสุ งฆ์ ออกไปโปรดสตั ว์ เสดจ็ พทุ ธดาเนิน ไปตามถนนในกรุงกบิลพสั ดุ์

พระประจาวนั พธุ (กลางคืน) ปางป่ าลไิ ลยก์ เมื่อคร้ังพระภิกษเุ มืองโกสมั พีทะเลาะ กนั ขนานใหญ่ พระพทุ ธองคเ์ สดจ็ ไป หา้ มปราม แต่ไม่มีใครฟัง พระองคจ์ ึง เสดจ็ หลีกไปประทบั อยใู่ นป่ าโดยมีพญา ชา้ งปาลิไลยกะและลิงคอยปรนนิบตั ิ

พระประจาวนั พฤหัสบดี ปางสมาธิ ภายหลงั จากทรงการาบพญามารลงได้ แลว้ พระองคจ์ ึงไดต้ ้งั พระทยั เจริญ สมาธิจนไดญ้ าณข้นั ต่างๆ และในที่สุด กไ็ ดบ้ รรลุอนุตรสมั มาสมั โพธิญาณ ตรัสรู้เป็นพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในเวลา เชา้ ตรู่ของวนั เพญ็ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ (วนั วสิ าขบูชา)

พระประจาวนั ศุกร์ ปางราพงึ เมื่อพระพทุ ธองคท์ รงราพงึ ถึงธรรมะที่ ตรัสรู้วา่ มีความลึกซ้ึงคมั ภีรภาพ ยากท่ี คนทว่ั ไปจะเขา้ ใจได้ กท็ รงรู้สึกอ่อน พระทยั ในการออกไปโปรดสตั ว์ แต่เม่ือ ทา้ วสหมั บดีพรหมมาทูลอญั เชิญ จึงทรง ตดั สินพระทยั ไปเทศนาสง่ั สอน ประชาชน

พระประจาวนั เสาร์ ปางนาคปรก เม่ือคร้ังพระพทุ ธเจา้ ประทบั ใตต้ น้ จิก (มุจลินท)์ บงั เอิญในช่วงน้นั มีฝนตก พราๆ ตลอด ๗ วนั พญานาคมุจลินท์ ไดเ้ ล้ือยมาทาขนดลอ้ มพระวรกายของ พระพทุ ธองค์ ๗ ช้นั แลว้ แผพ่ งั พานปก ไวใ้ นเบ้ืองบนเหมือนก้นั ฉตั ร ดว้ ย ประสงคจ์ ะกาบงั ลมฝนมิใหต้ อ้ ง พระวรกาย

๒. ประวตั พิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า โกณฑญั ญะทานายพระลกั ษณะของ เจา้ ชายสิทธตั ถะ พระอญั ญาโกณฑญั ญะ • เดิมชื่อ โกณฑญั ญะ เกิดในสกลุ พราหมณ์ • เป็นพราหมณ์ท่ีมาทานายพระลกั ษณะของ เจา้ ชายสิทธตั ถะหลงั ประสูติ ๕ วนั โดย ทานายวา่ “ เจา้ ชายนอ้ ยน้ีต่อไปจะเสดจ็ ออกผนวชและไดเ้ ป็นศาสดาเอกของโลก แน่นอน” • ภายหลงั เม่ือพระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้แลว้ โกณฑญั ญะไดฟ้ ังธรรมจนไดธ้ รรมจกั ษุ และทูลขออุปสมบทเป็นพระสงฆร์ ูปแรก ในพระพทุ ธศาสนา

คุณธรรมทคี่ วรถือเป็ นแบบอย่าง • เป็นผมู้ ีประสบการณ์มาก • เป็นคนสนั โดษ • ทาตนเป็นแบบอยา่ งที่ดีในดา้ นความประพฤติ • เป็นผเู้ ห็นการณ์ไกล