ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2

ใบงานที่ 4.1 พุทธศาสนสุภาษิต
ใบงานที่ 4.1 พุทธศาสนสุภาษิต
 ID: 2189739
Language: Thai
School subject: พระพุทธศาสนา
Grade/level: 2
Age: 9-16
Main content: ใบงานที่ 4.1 พุทธศาสนสุภาษิต
Other contents: ใบงานที่ 4.1 พุทธศาสนสุภาษิต

ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
 Add to my workbooks (7)
ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
 Embed in my website or blog
ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
 Add to Google Classroom
ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
 Add to Microsoft Teams
ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2

care_2324


ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2

What do you want to do?

ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
ใบงานที่ 4.1 พระไตรปิฎก ม. 2
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 ชื่อหน่วย พระไตรปฎิ กและพทุ ธศาสนสุภาษิตรหสั ส 31101 วชิ า สังคมศึกษาพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 4 ชั่วโมงชอ่ื ผ้สู อน สาธิตา ครี ปี ระพาส โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ****************************************************1. สาระการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวัดสาระที่ 1 ( พระพทุ ธศาสนา ) มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชวี้ ัด ส 1.1 ม.2/7 อธิบายโครงสร้างและสาระโดยสังเขปของพระไตรปฎิ ก หรือคมั ภรี ์ของศาสนาทต่ี นนับถือ ม.2/8 อธบิ ายธรรมคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามที่กาหนด เหน็ คณุ คา่ และนาไปพัฒนาแก้ปญั หาของชุมชนและสังคม2. สาระสาคญั พระไตรปิฎก เป็นคัมภีร์ที่บรรจุหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยพระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก ส่วนพุทธศาสนสุภาษิตน้ัน เป็นส่วนหน่ึงของหลักธรรม ซึ่งชาว พุทธ ทกุ คนพงึ นาไปเปน็ แนวทางในทางปฏิบัตติ น3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) โครงสร้าง และสาระสังเขปของพระวนิ ัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปฎิ ก 2) พทุ ธศาสนสภุ าษิต - กมฺมุนา วตฺตตี โลโก : สตั วโ์ ลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม - กลยฺ าณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก : ทาดไี ด้ดี ทาชว่ั ไดช้ วั่ - สโุ ข ปุญญฺ สฺส อจุ จฺ โย : การสั่งสมบุญนาสขุ มาให้ - ปชู โก ลภเต ปชู วนฺทโก ปฏิวนทฺ น : ผบู้ ชู าเขาย่อมได้รบั การบูชาตอบ ผ้ไู หว้เขาย่อมได้รับ การไหว้ตอบ 3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา)4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการวิเคราะห์ 3) ทกั ษะการสรา้ งความรู้

2) ทกั ษะการสรุปย่อ 4) ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้4.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต5. คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์1. ซอื่ สตั ย์ สุจริต 2. มวี นิ ยั 3. ใฝ่เรยี นรู้ 4. มุ่งมน่ั ในการทางาน6. หลกั ฐานการเรยี นรู้- แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรื่อง พระไตรปฎิ กและพุทธศาสนสุภาษติ7. การวดั และประเมินผล7.1 การประเมินกอ่ นเรยี น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง พระไตรปฎิ กและพุทธศาสนสภุ าษิต7.2 การประเมินระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 4.1 เรือ่ ง พระไตรปฎิ ก 2) ตรวจใบงานท่ี 4.2 เรอ่ื ง แสวงหาธรรมะในพระไตรปิฎก 3) ตรวจใบงานที่ 4.3 เรื่อง พุทธศาสนสภุ าษติ 4) ตรวจใบงานที่ 4.4 เรื่อง ผปู้ ฏบิ ัติตนตามพทุ ธศาสนสุภาษิต 7) สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 8) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม7.3 การประเมนิ หลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 เร่อื ง พระไตรปฎิ กและพทุ ธศาสนสุภาษติ7.4การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจแผน่ พบั เรื่อง พระไตรปฎิ กและพุทธศาสนสภุ าษิตเร่อื งที่ 1 พระไตรปิฏก (2 ชั่วโมง)8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้นักเรยี นสวดมนต์บชู าพระรตั นตรัยและทาสมาธกิ ่อนเรยี นทกุ ชัว่ โมงข้ันที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)1. ครูอ่านข้อความในพระไตรปิฎกให้นักเรียนฟัง ประมาณ 2-3 ข้อความ ซ่ึงมีความยาวตามความเหมาะสม แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์เกี่ยวกับ ความหมาย ข้อคิดสาคัญ และการนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวติ2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ข้อความดังกล่าวนั้นเป็นส่วนหน่ึงของพระไตรปิฎก แล้วครูอธิบายให้นักเรยี นเขา้ ใจความหมาย ความสาคัญ และโครงสร้างของพระไตรปิฎก3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่องพระไตรปฎิ ก จากหนงั สือเรยี น ตามหวั ข้อทีก่ าหนด

ข้ันท่ี 2 อธิบายความรู้ (Explain) 4. สมาชิกแต่ละกล่มุ ผลัดกนั อธบิ ายประเดน็ สาคัญของพระวนิ ัยปฎิ ก พระสตุ ตนั ตปิฎก พระอภิธรรมปิฎกในประเดน็ ท่กี าหนด 5. นักเรียนแต่ละกล่มุ ช่วยกนั ทาใบงานท่ี 4.1 เรื่อง พระไตรปิฎก 6. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานท่ี 4.1 และช่วยกันสรุปสาระสาคัญจากการเรียนเร่ืองพระไตรปฎิ กขั้นท่ี 3 ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 7. ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างพระไตรปิฎก พระสุตตันตปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อความน่ารู้จากพระไตรปิฎก จากนั้นให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันเลอื กข้อความท่ีสมาชิกส่วนใหญม่ ีความสนใจ มาประมาณ 5-15 บรรทดั 8. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันวเิ คราะหข์ อ้ ความในพระไตรปิฎกท่ีกลุ่มของตนเลือกมา แล้วตอบคาถามในใบงานที่ 4.2 เรือ่ ง แสวงหาธรรมะในพระไตรปิฎกข้ันท่ี 4 ตรวจสอบผล (Evaluate) 9. นักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงานในใบงานท่ี 4.2 และให้นักเรียนกลุ่มอ่ืนท่ีเป็นผู้ฟังช่วยกันเสนอแนะความคิดเห็นเพิ่มเติม 10. นักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากการฟังข้อความในพระไตรปิฎก และแนวทางการนาข้อคิดไปประยกุ ตป์ ฏิบตั ิในการดาเนินชวี ติ ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งและเสนอแนะเพ่ิมเติมเรอ่ื งท่ี 2 พุทธศาสนสภุ าษติ (2 ชั่วโมง)วธิ ีสอนแบบ ธรรมสากัจฉาขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูใหน้ กั เรยี นในห้องแบ่งออกเปน็ 2 ฝา่ ย แล้วใหแ้ ตล่ ะฝ่ายเลือกตัวแทน มาฝา่ ยละ 7 คน เป็นตัวแทนในการแขง่ ขนั กนั ตอบปญั หาเก่ยี วกับความหมาย และตวั อยา่ งการกระทาตามแนวพุทธศาสนสุภาษิต 2. นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นถึงการกระทาของนักเรียนท่ีได้นาพุทธศาสนสุภาษิตท่ีเคยได้ศึกษาไปเปน็ หลักในการดาเนนิ ชวี ติ หรอื นาไปปฏบิ ตั ิจริง พร้อมทง้ั ผลท่ไี ดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิขนั้ ท่ี 2 สอน 3. ครูอธิบายความรเู้ กยี่ วกับความหมาย ความสาคญั และการกระทาตามพทุ ธศาสนสภุ าษติ ต่อไปนี้ - กมมฺ ุนา วตฺตตี โลโก : สตั วโ์ ลกยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม - กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก : ทาดีไดด้ ี ทาช่ัวไดช้ ั่ว - สโุ ข ปญุ ญฺ สฺส อุจฺจโย : การสงั่ สมบญุ นาสุขมาให้ - ปูชโก ลภเต ปชู วนฺทโก ปฏิวนฺทน : ผู้บูชาเขาย่อมได้รับการบูชาตอบ ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ 4. นักเรียนแต่ละคนในกลมุ่ ศึกษาความรเู้ รอื่ ง พทุ ธศาสนสุภาษติ จากหนงั สือเรยี น

5. สมาชิกแตล่ ะกล่มุ นาความรเู้ ก่ยี วกบั พุทธศาสนสภุ าษติ ทีไ่ ด้ศึกษามาเป็นพื้นฐานในการทาใบงานที่ 4.3เร่ือง พทุ ธศาสนสุภาษิต 6. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสบื คน้ ข้อมลู ข่าว นิทาน บุคคลตวั อย่าง กรณีศึกษา ที่สอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษติ โดยสง่ ตัวแทนออกมาจบั สลาก กลุ่มละ 1 พุทธศาสนสภุ าษิต 7. นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั ทาใบงานที่ 4.4 เรือ่ ง ผ้ปู ฏบิ ตั ติ นตามพุทธศาสนสุภาษติ 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และให้กลุ่มอื่นซ่ึงเป็นผู้ฟังช่วยเสนอแนะเพม่ิ เติม ครตู รวจสอบความถูกต้องเหมาะสมข้ันที่ 3 สรปุ ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปผลทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั ติ นตามพุทธศาสนสุภาษติ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียน ภูมิศาสตร์ ม.2 2. บตั รภาพ 3. ตรวจใบงานท่ี 4.1 เรอื่ ง พระไตรปฎิ ก 4. ตรวจใบงานที่ 4.2 เร่ือง แสวงหาธรรมะในพระไตรปฎิ ก 5. ตรวจใบงานท่ี 4.3 เรื่อง พทุ ธศาสนสุภาษิต 6. ตรวจใบงานท่ี 4.4 เรื่อง ผปู้ ฏบิ ัติตนตามพทุ ธศาสนสภุ าษติ 7. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 8. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

10. การวัดผลและประเมนิ ผลเปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ ีวดั เคร่ืองมือวดั ฯ ประเดน็ /การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบทดสอบ เกณฑก์ ารให้1) อธบิ ายความหมายและ 1. ตรวจใบงานที่ 4.1 2. สงั เกตพฤติกรรม 2. แบบสงั เกต คะแนนความสาคัญของ เร่ือง พระไตรปิฎก รายกลุม่ พฤติกรรมรายกลุ่ม ร้อยละ 60 ผา่ นพระไตรปฎิ กได้ 2. ตรวจใบงานท่ี 4.22) อธบิ ายโครงสรา้ งของ เรอ่ื ง แสวงหาธรรมะใน เกณฑ์พระไตรปฎิ กได้ พระไตรปิฎก 3. ตรวจใบงานท่ี 4.3 เรอ่ื ง พุทธศาสน สภุ าษิต 4. ตรวจใบงานท่ี 4.4 เรื่อง ผู้ปฏบิ ตั ิตนตาม พทุ ธศาสนสุภาษติ

11. จดุ เนน้ ของโรงเรียนการบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผู้เรียน 1. มภี ูมิคมุ้ กันในตัวทดี่ ี ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ 2 .เงื่อนไขความรู้ ระมัดระวงั ระมดั ระวงั สร้างสรรค์ ภูมธิ รรม : ซื่อสัตย์ สจุ ริต ขยันอดทน ภมู ธิ รรม : ซือ่ สัตย์ สจุ ริต ขยันอดทน ตรงตอ่ เวลาและแบง่ ปัน ตรงต่อเวลา เสยี สละและ แบง่ ปัน ความรอบรเู้ รอ่ื งพระไตรปิฎกและ ความรอบรู้ เรอื่ งพระไตรปิฎกและ พทุ ธศาสนสภุ าษติ เก่ยี วขอ้ งรอบดา้ น พุทธศาสนสภุ าษติ สามารถนาความรู้ ความรอบคอบทีจ่ ะนาความร้เู หล่าน้ัน เหลา่ นั้นสามารถประยุกตใ์ ชใ้ น มาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกนั เพ่ือ ชีวติ ประจาวัน ประกอบการวางแผน การดาเนินการ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรยี น ลงช่อื ผสู้ อน (นางสาวสาธติ า คีรปี ระพาส) ลงชอ่ื ………………………ครพู ี่เล้ียง (นายนกิ ร ไชยบตุ ร)

หน่วยการเรยี นท่ี 1 เรอ่ื งพระไตรปฎิ กและพุทธศาสนสภุ าษิต แบบทดสอบกอ่ นเรยี นคาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ตอ้ งที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว1. พระสตุ ตนั ตปฎิ ก จะกลา่ วเกีย่ วกับเรอ่ื งใดก. หนา้ ทขี่ องพระภกิ ษุ พระภิกษุณี และพธิ ีกรรมข. โครงสรา้ ง หลักการ และสาระสาคญั ของพระไตรปฎิ กค. หลกั ธรรมในรปู แบบวชิ าการท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงค้นพบง. พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจา้ ท่ีทรงแสดงแก่ บุคคลต่างๆ2. พระไตรปฎิ กหมวดท่ปี ระมวลสูตรโดยจดั ตามกลมุ่ เนอื้ หา คอื ข้อใดก. องั คตุ ตรนิกาย ข. มชั ฌมิ นกิ าย ค. สังยตุ นิกาย ง. ทีฆนกิ าย3. ขอ้ ความเกย่ี วกบั พระไตรปิฎกขอ้ ใดไม่ถูกต้องก. พระไตรปิฎก แบง่ ออกเปน็ 3 หมวดข. พระสตุ ตนั ตปฎิ ก แบ่งออกเปน็ 5 นิกายค. พระอภิธรรมปฎิ ก เปน็ คาสอนท่ีใช้สาหรบั สวดมนต์ง. พระวนิ ยั ปิฎก คือ สว่ นท่ีว่าด้วยสิกขาบทของพระภิกษุ และภิกษุณี4. พระวินัยปฎิ กในหมวดขันธกะ จะเป็นสว่ นทว่ี ่าดว้ ยอะไรก. การสรุปข้อความในพระวนิ ยั ปฎิ กข. หลกั ธรรมสาคัญที่พทุ ธศาสนิกชนพึงปฏิบตั ิค. ศีลสาคัญที่ภิกษุ และภิกษุณีพึงปฏิบัตกิ ่อนเผยแผ่ง. สงั ฆกรรม พิธีกรรม วัตรปฏบิ ตั ิ และมารยาทของสงฆ์

5. ขอ้ ใดคือความหมายของพุทธศาสนสภุ าษติ ทว่ี า่ กมฺมุนา วตฺตตี โลโกก. กรรมเปน็ ผลของการกระทา ข. สัตวโ์ ลกย่อมเปน็ ไปตามกรรมค. กรรมดยี อ่ มสนองตอบผู้ทาดี ง. ทาดยี ่อมได้ดี ทาชวั่ ย่อมได้ช่ัว6. ผ้ไู มป่ ฏิบตั ิตามศลี 5 ย่อมได้ไปเกดิ ในนรก ผู้ปฏบิ ัติตามศีล 5 และปฏิบัติตามธรรม 5 ย่อมได้ไปเกดิ ในสวรรค์ขอ้ ความดงั กล่าวสอดคลอ้ งกับเรอ่ื งใดก. ทาดไี ด้ดีตอบสนอง ข. ผู้ปฏิบตั ธิ รรม ย่อมเปน็ สุขค. สัตว์โลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม ง. ผ้ปู ฏบิ ัตติ ามศีล จดั เป็นกรรมดี7. คากลา่ วทว่ี า่ “ทาดีไดด้ ี ทาชว่ั ไดช้ วั่ ” สอดคล้องกบั ข้อใดก. กฎธรรมชาติ ข. กฎแหง่ กรรม ค. กฎแหง่ ธรรม ง. กฎของศาสนา8. ผ้ทู ี่มคี วามเอื้อเฟือ้ จะมีหน้าตาอิ่มเอม มนี ิสยั ดี แสดงออกในทางทีด่ ี แสดงถึงผลของกรรมในระดับใดก. ระดบั ภายในจติ ใจ ข. ระดบั บุคลิกภาพ ค.ระดบั ภายนอก ง. ระดับสงั คม9. การกระทาในข้อใด จดั เป็นการส่งั สมบุญก. ทาบญุ ดว้ ยใจบรสิ ทุ ธ์ิ ข. รกั ษาศลี ปฏิบตั ิธรรมค. ทาดอี ย่างต่อเน่ือง ง. ทาบญุ มากๆ10. การกระทาข้อใดสอดคล้องกบั พุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “ผบู้ ชู าย่อมได้รับการบูชาตอบ ผูไ้ หว้ย่อมไดร้ บั การ ไหว้ตอบ”ก. โสนต้ังใจเรยี นหนังสอื ทาให้ได้รบั ผลการเรยี นดีข. เพ่อื นๆ ชอบหัวเราะเยาะตอ้ มท่ีพดู เสยี งแปร่งค. เมอ่ื สุดายม้ิ ทกั ทายมารตี มารตกี ย็ ม้ิ ให้สุดาง. นาวินไปเล่นกีฬาฟุตบอลเป็นประจา

ตัวอย่างข้อความในพระไตรปฎิ ก สตุ รที บี่ ุรษุ ไม่ชอบใจเลย“ดูก่อนภกิ ษทุ ั้งหลาย! สตรี (มาตุคาม) ทปี่ ระกอบดว้ ยองค์ 5 ย่อมไม่เป็นท่ีพอใจ โดยส่วนเดยี วของบุรุษ องค์ 5 คือ1. ไมม่ รี ปู (รูปไมง่ าม) 3. ไมม่ ีศีล 5. ไม่มบี ตุ รกับบรุ ุษน้ัน2. ไม่มีทรพั ย์ 4. เกียจครา้ น สตรีผู้ประกอบด้วยองค์ 5 เหล่านีแ้ ลยอ่ มไมเ่ ปน็ ท่ีพอใจโดยสว่ นเดียวของบรุ ษุ ” สตรีทบี่ รุ ษุ ชอบใจแท้“ดกู ่อนภกิ ษุท้ังหลาย! สตรีทป่ี ระกอบดว้ ยองค์ 5 ย่อมเป็นที่พอใจ โดยส่วนเดยี วของบุรุษ องค์ 5 คอื1. มรี ูป (รูปงาม) 3. มศี ลี 5. มบี ตุ รกับบุรุษน้นั2. มีทรัพย์ 4. ขยนั ไมเ่ กียจครา้ นสตรผี ปู้ ระกอบดว้ ยองค์ 5 เหลา่ นแ้ี ลยอ่ มไม่เป็นที่พอใจโดยสว่ นเดียวของบุรษุ ”สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค 18/296 บุรษุ ทสี่ ตรไี ม่ชอบใจเลย“ดูก่อนภกิ ษทุ ั้งหลาย! บุรุษท่ีประกอบดว้ ยองค์ 5 ยอ่ มไม่เป็นท่ีพอใจ โดยส่วนเดียวของสตรี องค์ 5 คอื1. ไม่มีรูป (รปู ไม่งาม) 3. ไม่มศี ีล 5. ไมม่ บี ตุ รกับสตรีน้ัน2. ไมม่ ีทรัพย์ 4. เกียจครา้ น บรุ ุษผปู้ ระกอบด้วยองค์ 5 เหล่านีแ้ ลย่อมไมเ่ ป็นที่พอใจโดยส่วนเดียวของสตรี”

บุรุษท่สี ตรีชอบใจแท้“ดกู ่อนภิกษทุ ั้งหลาย! บรุ ุษท่ีประกอบดว้ ยองค์ 5 ย่อมเปน็ ที่พอใจ โดยสว่ นเดยี วของสตรี องค์ 5 คือ1. มรี ปู (รปู งาม) 3. มศี ีล 5. มีบุตรกับสตรนี ั้น2. มที รพั ย์ 4. ขยนั ไม่เกยี จครา้ นบุรุษผปู้ ระกอบดว้ ยองค์ 5 เหลา่ นแี้ ลย่อมเปน็ ท่ีพอใจโดยสว่ นเดยี วของบุรษุ ”สงั ยตุ ตนกิ าย สฬายตนวรรค 18/296ท่ีมา : การศาสนา, กรม. 2548. พระไตรปฎิ ก ฉบบั สาหรบั ประชาชน ตอน วา่ ดว้ ยพระสูตร. กรุงเทพมหานคร : กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม.