วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือโดยใช้ prompt

ชุ ดกิจกรรมการเรียนรู้

เรื่อง..ความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 3

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ความน่ าเชื่อของข้อมูล ระดับชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 3

เรื่องการประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล เวลา2 ชั่วโมง

1. ผลการเรียนรู้ (LEARNING OUTCOMES) :
ข้อมูลที่นำมาใช้ในการเรียนรู้และการทำงาน ถ้าข้อมูลมีความถูกต้อง เหมาะสม และน่ า

เชื่อถือ จะทำให้เกิดการเรียนรู้และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนนำข้อมูลจากแหล่ง
ต่าง ๆ มาใช้ต้องผ่านกระบวนการประเมินความน่ าเชื่อถือด้วยการตรวจสอบและยืนยันข้อมูล
โดยอาจใช้หลักการ PROMPT

2. ความคิดรวบยอดหลัก (MAIN CONCEPT)

3. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ว. 4.2 ม.3/3 ประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่ อและผลกระทบจากการให้ข่าวสาร
ที่ผิดเพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 บอกหลักการการประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลได้(K)
4.2 ประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลได้(P)
4.3 คำนึ งถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้เหตุผลวิบัติได้(A)

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่ อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
6.1 มีวินั ย
6.2 ใฝ่ เรียนรู้
6.3 มุ่งมั่นในการทำงาน

7. กิจกรรมการเรียนรู้
7.1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
- ครู ถามนั กเรียนว่าข้อมูล ข่าวสารในอินเทอร์เน็ ตมีอยู่มากมายหากเราต้องการน าเอาข้อมูลไปใช้
ประโยชน์ นั กเรียนมีวิธีการในการคัดเลือกข้อมูลที่น่ าเชื่อถืออย่างไร

7.2 ขั้นสอน
- ครู เปิ ดตัวอย่างข่าวให้นั กเรียนดูจากนั้ นให้นั กเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่าเป็ นข้อมูลจริงหรือไม่
- ครู ถามนั กเรียนว่านั กเรียนใช้เกณฑ์ใดในการประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลบ้าง
- ครู อธิบายเนื้ อหา เรื่อง หลักการประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล จากนั้ นครู อธิบายการ ตรวจ
สอบ
ความน่ าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
- ครู น าตัวอย่างชุดข้อมูลหรือข่าวให้นั กเรียนดูเพิ่มเติม จากนั้ นให้ทุกคนช่วยกันประเมินความ
น่ าเชื่อถือ
- ครู สนทนากับนั กเรียนว่า คาบที่แล้วเราประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลด้วยหลักการการ
ประเมินความน่ าเชื่อถือ และการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล นอกจาก 6 วิธีนี้ แล้ว ยังสามารถ
ประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ PROMPT
- ครู ถามค าถามทบทวนนั กเรียนว่าจากคาบที่แล้วนั กเรียนได้วิธีการประเมินความน่ าเชื่อถือของ
- ครู น าภาพตัวอย่างการโพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กให้นั กเรียนดู และร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลว่าจาก
ตัวอย่างตังกล่าวนั กเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร (เป็ นข่าวที่มีการใช้เหตุผลวิบัติ)
-จากนั้ นครู อธิบายเนื้ อหาเรื่องการใช้เหตุผลวิบัติ และยกตัวอย่างการใช้เหตุผลวิบัติ พร้อมผลกระ
ทบที่
เกิดขึ้น
- ครู ให้นั กเรียนแบ่งกลุ่ม ๔-4 คน และให้แต่ละกลุ่มหาตัวอย่างการใช้เหตุผลวิบัติบนอินเทอร์เน็ ต
เพื่อ
วิเคราะห์ผลกระทบ หรือปั ญหาที่อาจเกิดตามมาจากนั้ นให้แต่ละกลุ่มเตรียมน าข้อมูลในรู ปแบบ
MIND MAP มาแบ่งปั นหน้ าชั้นเรียน ในหัวข้อ "เหตุผลวิบัติ และผลกระทบที่เกิดขึ้น"

7.3 ขั้นสรุ ป
- ครู ให้นั กเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแบ่งปั นข้อมูลหน้ าชั้นตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย จากนั้ นให้
นั กเรียนกลุ่มอื่น ! ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ของกลุ่มที่น าเสนอผลกระทบที่
เกิดขึ้น จากการใช้เหตุผลวิบัติ
- ครู และนั กเรียนร่วมกันสรุ ปผลกระทบที่เกิดจากเหตุผลวิบัติ

8. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการเรียนการสอน
8.1 MIND MAP

9. วิธีการวัดประเมินผล วิธีกา
ร เครื่อ
งมือ เกณฑ์กา
รประเมิน

สิ่ งที่วัดและ
ประเมิน

ความรู้
(K) การแเบรีบยนปรรู้ดะ้
เวมยินตผนลเอง ชิ้นง
าน ใช้การผ่านเกณ
ฑ์ร้อยละ 70 ปี
ทักษะ
(P) แบบประเมิน
เจตคติ
(A) แบบป
ระเมิน ผ่านเกณฑ์ระด
ับ 3 ขึ้นไป
ด้านการป
ฎิบัติ

แบบอปันรพะึ่เงมปิน
รคะุณสงลัคก์ ษณะ แบบป
ระเมิน ผ่านเกณฑ์ระ
ดับ 3 ขึ้นไป

คำชี้แจง

ชุดกิจกรรมนี้ นั กเรียนสามารถศึ กษาได้ด้วยตนเอง โดยปฎิบัติตามขั้นตอนดังนี้

1. อ่านคำชี้แจงสำหรับนั กเรียนให้เข้าใจก่อนที่จะลงมือศึ กษาชุดฝึ กกิจกรรม
2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวณ 10 ข้อ เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนั กเรียน
3. ศึ กษาใบความรู้และทำกิจกรรมตามที่กำหนดไว้
4. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 10 ข้อ
5. นั กเรัยนร่วมกับครู เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
6. นั กเรียนสามารถนำชุดกิจกรรมไปฝึ กปฏิบัติเพิ่มเติมบ่อยๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ

การประเมินความน่ าเชื่อ
ของข้อมูล....

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล
สามารถทำได้อย่างไร

สื บค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล

การสื บค้นข้อมูลด้วยมือ
เป็ นการสืบค้นตามเอกสาร

หนั งสือ ตำรา

การสื บค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

เป็ นการสืบค้นผ่านเทคโนโลยี
สารสนเทศหรือคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ

การสื บค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล

การสืบค้นเพื่อหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ ตมีวิธีการดำเนิ นการ ดังนี้

1 กำหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น

2 ดูประเภทของข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้

3 เตรียมอุปกรณ์และความรู้ที่จำเป็ นในการสืบค้น

4 เลือกบริการอินเทอร์เน็ ตที่ต้องการ เช่น อีเมล
เว็บไซต์

5 เลือกเครื่องมือหรือโปรแกรมสำหรับค้นหา

การสื บค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล

การใช้งานอินเทอร์เน็ ตบนระบบเครือข่ายควรใช้งานอย่างมี
คุณธรรมและจริยธรรมโดยการปฏิบัติ ดังนี้

ใช้ ถ้อยคำสุ ภาพ
ไม่ใช้อินเทอร์เน็ ตทำลาย
หรือหลอกลวงผู้อื่น

แจ้งผู้ปกครองเมื่อพบ
การใช้งานที่ไม่เหมาะสม

ไม่เผยแพร่ข้อมูล
ที่เป็ นเท็จ

ไม่ละเมิดสิ ทธิของผู้อื่น เคารพกฏและข้อตกลง
ไม่เปิ ดเผยข้อมูลส่วนตัว ใช้งานในทางที่ถูกต้อง

การสื บค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล

การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ ต เพื่อให้ได้แหล่งข้อมูลที่มีคุณภาพ
มีความน่ าเชื่อถือและตรงตามความต้องการของผู้สืบค้นมีขั้นตอน ดังนี้

กำหนดวัตถุประสงค์และหัวข้อให้ชัดเจน

กำหนดประเภทของข้อมูลที่ จะสื บค้น

กำหนดคำสำคัญสำหรับสื บค้นข้อมูล

ประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการ
สื บค้น

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลมีหลักสำคัญ 3 ประการ คือ

1. ประเมินว่าข้อมูลตรงตามต้องการหรือไม่ โดยสามารถประเมินได้
จากการอ่านชื่อเว็บไซต์ ชื่อเว็บเพจ ชื่อหัวเรื่อง คำนำ สารบัญ หรือ
เนื้ อหา ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะสามารถประเมินได้ตั้งแต่การอ่านชื่อ
เว็บไซต์ ชื่อเว็บเพจ หรือชื่อหัวเรื่องแล้ว
2. ประเมินความน่ าเชื่อถือ และความทันสมัยของข้อมูล

ประเมินความน่ าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
พิจารณาว่าข้อมูลได้มาจากแหล่งข้อมูลที่น่ าเชื่อถือหรือไม่

ประเมินความน่ าเชื่อถือของทรัพยากรข้อมูล
พิจารณาว่าข้อมูลอยู่ในรู ปแบบใด เช่น หนั งสือทั่วไป วารสาร
นิ ตยสาร ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ ต

ประเมินความน่ าเชื่อถือของผู้เขียน
พิจารณาว่าผู้เขียนเป็ นใคร เป็ นของสำนั กพิมพ์หรือเว็บไซต์ใด

ประเมินความทันสมัยของข้อมูล
พิจารณาวันเดือนปี ที่ข้อมูลถูกเผยแพร่ หรือผลิต

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

3. ประเมินระดับเนื้ อหาของข้อมูล โดยข้อมูลสามารถแบ่งได้
3 ระดับ ได้แก่

ข้อมูลปฐมภูมิ

เป็ นข้อมูลที่ได้จากการ
ค้นคว้าโดยตรงของผู้เขียน
เช่น รายงาน วิจัย วิทยานิ พนธ์

ข้อมูลทุติยภูมิ
เป็ นการนำข้อมูลปฐมภูมิ
มาเขียนเรียบเรียงใหม่
โดยระบุแหล่งที่มาอย่างชัดเจน

ข้อมูลตติยภูมิ

เป็ นการชี้แนะแหล่งข้อมูล
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ เช่น
บรรณานุกรม เอกสารอ้างอิง

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

แหล่งข้อมูลที่มีความน่ าเชื่อถือ ข้อมูลที่เราจะนำมาใช้งานจะ
ต้องมาจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ซึ่งมีลักษณะเป็ นแหล่งที่มีการ
รวบรวมข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์ มีแหล่งอ้างอิง เชื่อถือได้ โดยแหล่ง
ข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น

ข้อมูลจากเจ้าของข้อมูลโดยตรง

ข้อมูลจากองค์กรหรือผู้เชี่ยวชาญ

ข้อมูลจากหน่ วยงานของรัฐ

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ PROMPT
เป็ นวิธีการประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูลโดยการตั้งคำถาม

มี 6 ขั้นตอน ดังนี้

การนำเสนอ (PRESENTATION) ความสัมพันธ์ (RELEVANCE)

คำถามเช่น ข้อมูลที่ได้ คำถามเช่น ข้อมูลนั้ นมีรายละเอียด
มีความชัดเจนหรือไม่ มากเกินไปหรือไม่ ข้อมูลนั้ นมีจุดเน้ นอะไร
ภาษาที่ใช้ถูกต้องหรือไม่
ข้อมูลนั้ นมีคำสำคัญที่ต้องการหรือไม่

วัตถุประสงค์ (OBJECTIVITY) วิธีการ (METHOD

คำถามเช่น คำถามเกี่ยวกับข้อมูลที่ต้องการ คำถามเช่น ข้อมูลนี้ มีวิธีการ
ในการรวบรวมข้อมูลอย่างไร

แหล่งที่มา (PROVENANCE) เป็ นปั จจุบัน (TIMELINESS)

คำถามเช่น ข้อมูลนั้ นได้มาจากแหล่ง คำถามเช่น ข้อมูลนั้ นเผย
ข้อมูลใดและแหล่งข้อมูลนั้ นเชื่อถือ แพร่เมื่อใดตีพิมพ์เมื่อใด

ได้หรือไม่

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

การตรวจสอบ
ความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

ในการค้นหาข้อมูลเว็บไซต์หรือแหล่งที่มาของ
ข้อมูลเพื่อนำไปใช้งานและอ้างอิง จำเป็ นต้องมีการ
ตรวจสอบความน่ าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลก่อน
มิเช่นนั้ นอาจจะสร้างความเสียหายได้

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

การตรวจสอบ ความน่ าเชื่อถือของแหล่งที่มา

01 02

เว็บไซต์หรือแหล่งข้อมูล การนำเสนอเนื้ อหา

ต้องบอก วัตถุประสงค์ในการ ต้องตรงตามวัตถุประสงค์
สร้าง หรือเผยแพร่ข้อมูลใน ในการสร้างหรือเผยแพร่ของ

เว็บไซต์อย่างชัดเจน เว็บไซต์

03 04

เนื้ อหาเว็บไซต์ไม่ขัดต่อ มีการ ระบุชื่อ

กฎหมาย ศี ลธรรม ผู้เขียนบทความหรือผู้ให้
และจริยธรรม ข้อมูลบนเว็บไซต์

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

การตรวจสอบ ความน่ าเชื่อถือของแหล่งที่มา

05 06

มีการอ้างอิงแหล่งที่มา สามารถเชื่อมโยง (LINK)

หรือต้นตอของข้อมูล เพื่อเชื่อไปยังเว็บอื่นที่อ้างอิง
ที่มีเนื้ อหาปรากฏบนเว็บไซต์ เพื่อตรวจสอบแหล่งที่ของข้อมูล

ได้

07 08

มีการระบุ การให้ที่อยู่หรืออีเมล

วัน เวลา ในการเผยแพร่ ที่ผู้อ่านสามารถติดต่อผู้
บนเว็บไซต์ข้อมูล ดูแลเว็บไซต์ได้

การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล

การตรวจสอบ ความน่ าเชื่อถือของแหล่งที่มา

09 10

มีช่องทางที่ให้ผู้อ่าน มีข้อความเตือนผู้อ่าน

สามารถแสดงความคิด ให้ใช้วิจารณญาณในการใช้
เห็นได้ ข้อมูลที่ปรากฏบนเว็บไซต์

การรู้เท่าทันสื่ อ

สื่ อดิจิทัล เป็ นสื่ อที่นั กเรียนสามารถเข้าถึงได้รวดเร็วที่สุด
ทั้งสื่ อจากทางวิทยุ โทรทัศน์ หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยการ

รู้เท่าทันสื่ อดิจิทัล สามารถแบ่งออกได้ 8 ด้าน ดังนี้

การรู้เท่าทันสื่ อ

ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในปั จจุบัน ที่มีการพัฒนาไป
อย่างมาก โดยเฉพาะสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ซึ่งอาจส่งผลให้

เกิดปั ญหาจากการใช้สื่ อของคนในสังคมมากขึ้นและรวดเร็ว เช่น

การเล่นเกมออนไลน์

พฤติกรรมการ
ลอกเลียนแบบ

ปั ญหาความรุ นแรง ปั ญหาพฤติกรรมก้าวร้าว ปั ญหาทางอารมณ์

การรู้เท่าทันสื่ อ

การรับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ จะต้องมีการวิเคราะห์ว่า สิ่ งที่เผยแพร่
นั้ นเป็ นจริงหรือไม่ ซึ่งถ้าหากข้อมูลนั้ นเป็ นเท็จอาจทำให้ผู้รับข้อมูลได้รับ
ผลกระทบได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

นายบอยได้รับอีเมลจากธนาคารแจ้งว่า บัญชีธนาคารมีความ
เคลื่อนไหวผิดปกติ ให้นายบอยส่งเลขบัตรประจำตัวประชาชน
พร้อมเบอร์โทรศั พท์กลับมาที่อีเมลนี้ มิเช่นนั้ นบัญชีธนาคารจะ
ไม่สามารถใช้งานได้

แบบทดสอบก่อนเรียน

1.ข้อใดเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ 6.ถ้ามีการแชร์ข้อมูลจากเว็บไซต์หนึ่ งมายังนั กเรียน การ

ตรวจสอบความน่ าเชื่อถือของข้อมูลเบื้องต้น บนเว็บไซต์นั้ น
สามารถทำได้อย่างไร
ก. การสอบถามน้ำหนั กและส่วนสูงของเพื่อนในห้องเรียน ก. หาแหล่งอ้างอิง
ข. การสรุ ปประเด็นข่าวสำคัญจากการรายงานข่าวของนั กข่าว ข. ตรวจสอบ URL
ค. การศึ กษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนปี ปั จจุบัน ค. นำไปค้นหาด้วย SEARCH ENGINE
ง. การค้นหาข้อมูลโรคไข้หวัดใหญ่จากข้อมูลที่ระบุในเอกสารอ้างอิง ง. สอบถามผู้ส่งมาว่าได้ข้อมูลมาจากแหล่งใด

2.เว็บไซต์ใดมีความน่ าเชื่อถือของข้อมูลน้ อยที่สุด 7.การวิเคราะห์สื่ อมีความสำคัญอย่างไร
ก. เว็บไซต์ที่เป็ นหน่ วยงานของรัฐหรือหน่ วยงานการศึ กษา ก. เกิดความเข้าใจสื่ อนั้ นมากขึ้น
ข. เว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาสาระเรื่องต่าง ๆ อธิบายไว้อย่างละเอียด ข. ทำให้เห็นคุณค่าหรือประโยชน์ ของสื่ อนั้ น
ค. เว็บไซต์ที่นำเสนอข่าวสารในแบบของวีดิทัศน์ และมีข้อมูลอ้างอิง ค. ทำให้ทราบวัตถุประสงค์ในการนำเสนอของสื่ อนั้ น
ง. เว็บไซต์นำเสนอวิธีการเล่นเกมพร้อมภาพประกอบการเล่น โดยมี ง. สามารถนำไปใช้ในการนำเสนอหรือขยายผลได้
การระบุผู้ให้ข้อมูล

3.ข้อใดไม่ใช่วิธีประเมินความน่ าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง 8.เครื่องหมาย TRUST บนเว็บไซต์แสดงถึงอะไร
ก. เนื้ อหาไม่ขัดต่อศี ลธรรม กฎหมาย ก. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือของเว็บไซต์ในภาพรวม
ข. ตรวจสอบแหล่งอ้างอิงที่มาของข้อมูล ข. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือในการนำข้อมูลไปใช้ต่อ
ค. ผู้เขียนหรือผู้นำเสนอข้อมูลเป็ นเจ้าของเว็บไซต์นั้ น ๆ ค. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือในการชำระเงินออนไลน์
ง. นำเสนอเนื้ อหาได้ตรงกับวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ ง. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือของผู้เขียนข้อมูลบนเว็บไซต์

4.เพราะเหตุใดจึงควรมีช่องทางสำหรับแสดงความคิดเห็นบนเว็บไซต์ 9.หากนั กเรียนนำเสนอข้อมูลผ่านสื่ อที่ไม่ถูกต้อง จะเกิด
ผลกระทบโดยตรงอย่างไร
ก. เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูล ก. ความน่ าเชื่อถือของตนเองลดลง
ข. เพื่อให้ทุกคนสามารถสื่ อสารกับเจ้าของเว็บไซต์ได้ ข. ผู้ที่นำข้อมูลไปใช้เกิดผลกระทบในด้านลบ
ค. เพื่อให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ค. ความน่ าเชื่อถือขององค์กรหรือโรงเรียนลดลง
ง. เพื่อให้เว็บไซต์มีความน่ าเชื่อถือ และเป็ นสื่ อสังคมออนไลน์ สำหรับทุกคน
ง. เกิดปั ญหาในด้านการนำข้อมูลไปใช้ในระบบใหญ่

5.ข้อใดไม่ใช่เหตุผลวิบัติ 10. หากข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ของประชาชนในประเทศไทยไม่
ถูกต้อง เช่น พบว่ารายได้ที่ตรวจสอบจริงน้ อยกว่ารายได้ที่
ก. การอาบน้ำบ่อย ๆ ทำให้ผิวขาว ทุกคนจึงนิ ยมอาบน้ำบ่อย ๆ รายงานไปยังรัฐบาล จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนในประเทศ
ข. การดื่มน้ำมะนาวบ่อย ๆ ทำให้ร้องเพลงเพราะ ทุกคนจึงนิ ยมดื่มน้ำมะนาว อย่างไร
ค. การใช้โทรศั พท์ราคาแพงทำให้บุคลิกดี ทุกคนจึงนิ ยมซื้อโทรศั พท์ราคาแพง
ง. การเข้าแถวตามลำดับทำให้เกิดระเบียบวินั ย ทุกคนจึงเข้าแถวตามลำดับเสมอ ก. รัฐบาลขาดความน่ าเชื่อถือต่อสังคมโลก

ข. ทุกคนในประเทศต้องเสียภาษีเพิ่มมากขึ้น

ค. การกำหนดนโยบายมีความผิดพลาดและไม่สามารถแก้
ปั ญหาได้

ง. รัฐบาลต้องเก็บข้อมูลซ้ำอีกครั้งทำให้ประชาชนเสียโอกาส
และเวลา

แบบทดสอบหลังเรียน

1.ข้อใดเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ 6.ถ้ามีการแชร์ข้อมูลจากเว็บไซต์หนึ่ งมายังนั กเรียน การ

ตรวจสอบความน่ าเชื่อถือของข้อมูลเบื้องต้น บนเว็บไซต์นั้ น
สามารถทำได้อย่างไร
ก. การสอบถามน้ำหนั กและส่วนสูงของเพื่อนในห้องเรียน ก. หาแหล่งอ้างอิง
ข. การสรุ ปประเด็นข่าวสำคัญจากการรายงานข่าวของนั กข่าว ข. ตรวจสอบ URL
ค. การศึ กษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนปี ปั จจุบัน ค. นำไปค้นหาด้วย SEARCH ENGINE
ง. การค้นหาข้อมูลโรคไข้หวัดใหญ่จากข้อมูลที่ระบุในเอกสารอ้างอิง ง. สอบถามผู้ส่งมาว่าได้ข้อมูลมาจากแหล่งใด

2.เว็บไซต์ใดมีความน่ าเชื่อถือของข้อมูลน้ อยที่สุด 7.การวิเคราะห์สื่ อมีความสำคัญอย่างไร
ก. เว็บไซต์ที่เป็ นหน่ วยงานของรัฐหรือหน่ วยงานการศึ กษา ก. เกิดความเข้าใจสื่ อนั้ นมากขึ้น
ข. เว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาสาระเรื่องต่าง ๆ อธิบายไว้อย่างละเอียด ข. ทำให้เห็นคุณค่าหรือประโยชน์ ของสื่ อนั้ น
ค. เว็บไซต์ที่นำเสนอข่าวสารในแบบของวีดิทัศน์ และมีข้อมูลอ้างอิง ค. ทำให้ทราบวัตถุประสงค์ในการนำเสนอของสื่ อนั้ น
ง. เว็บไซต์นำเสนอวิธีการเล่นเกมพร้อมภาพประกอบการเล่น โดยมี ง. สามารถนำไปใช้ในการนำเสนอหรือขยายผลได้
การระบุผู้ให้ข้อมูล

3.ข้อใดไม่ใช่วิธีประเมินความน่ าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง 8.เครื่องหมาย TRUST บนเว็บไซต์แสดงถึงอะไร
ก. เนื้ อหาไม่ขัดต่อศี ลธรรม กฎหมาย ก. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือของเว็บไซต์ในภาพรวม
ข. ตรวจสอบแหล่งอ้างอิงที่มาของข้อมูล ข. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือในการนำข้อมูลไปใช้ต่อ
ค. ผู้เขียนหรือผู้นำเสนอข้อมูลเป็ นเจ้าของเว็บไซต์นั้ น ๆ ค. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือในการชำระเงินออนไลน์
ง. นำเสนอเนื้ อหาได้ตรงกับวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ ง. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือของผู้เขียนข้อมูลบนเว็บไซต์

4.เพราะเหตุใดจึงควรมีช่องทางสำหรับแสดงความคิดเห็นบนเว็บไซต์ 9.หากนั กเรียนนำเสนอข้อมูลผ่านสื่ อที่ไม่ถูกต้อง จะเกิด
ผลกระทบโดยตรงอย่างไร
ก. เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูล ก. ความน่ าเชื่อถือของตนเองลดลง
ข. เพื่อให้ทุกคนสามารถสื่ อสารกับเจ้าของเว็บไซต์ได้ ข. ผู้ที่นำข้อมูลไปใช้เกิดผลกระทบในด้านลบ
ค. เพื่อให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ค. ความน่ าเชื่อถือขององค์กรหรือโรงเรียนลดลง
ง. เพื่อให้เว็บไซต์มีความน่ าเชื่อถือ และเป็ นสื่ อสังคมออนไลน์ สำหรับทุกคน
ง. เกิดปั ญหาในด้านการนำข้อมูลไปใช้ในระบบใหญ่

5.ข้อใดไม่ใช่เหตุผลวิบัติ 10. หากข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ของประชาชนในประเทศไทยไม่
ถูกต้อง เช่น พบว่ารายได้ที่ตรวจสอบจริงน้ อยกว่ารายได้ที่
ก. การอาบน้ำบ่อย ๆ ทำให้ผิวขาว ทุกคนจึงนิ ยมอาบน้ำบ่อย ๆ รายงานไปยังรัฐบาล จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนในประเทศ
ข. การดื่มน้ำมะนาวบ่อย ๆ ทำให้ร้องเพลงเพราะ ทุกคนจึงนิ ยมดื่มน้ำมะนาว อย่างไร
ค. การใช้โทรศั พท์ราคาแพงทำให้บุคลิกดี ทุกคนจึงนิ ยมซื้อโทรศั พท์ราคาแพง
ง. การเข้าแถวตามลำดับทำให้เกิดระเบียบวินั ย ทุกคนจึงเข้าแถวตามลำดับเสมอ ก. รัฐบาลขาดความน่ าเชื่อถือต่อสังคมโลก

ข. ทุกคนในประเทศต้องเสียภาษีเพิ่มมากขึ้น

ค. การกำหนดนโยบายมีความผิดพลาดและไม่สามารถแก้
ปั ญหาได้

ง. รัฐบาลต้องเก็บข้อมูลซ้ำอีกครั้งทำให้ประชาชนเสียโอกาส
และเวลา

กิจกรรมที่ 1 เรื่อง... ชื่อ

การประเมินความ วันที่
น่ าเชื่ อถื อของข้อมู ล คะแนน

คำชี้แจง : ให้นั กเรียนบอกองค์ประกอบของความความน่ าเชื่อถือของข้อมูล
อย่างน้ อย 5 ข้อ

ภาคผนวก

เฉลย

1.ข้อใดเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ 6.ถ้ามีการแชร์ข้อมูลจากเว็บไซต์หนึ่ งมายังนั กเรียน การ

ตรวจสอบความน่ าเชื่อถือของข้อมูลเบื้องต้น บนเว็บไซต์นั้ น
สามารถทำได้อย่างไร
ก. การสอบถามน้ำหนั กและส่วนสูงของเพื่อนในห้องเรียน ก. หาแหล่งอ้างอิง
ข. การสรุ ปประเด็นข่าวสำคัญจากการรายงานข่าวของนั กข่าว ข. ตรวจสอบ URL
ค. การศึ กษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนปี ปั จจุบัน ค. นำไปค้นหาด้วย SEARCH ENGINE
ง. การค้นหาข้อมูลโรคไข้หวัดใหญ่จากข้อมูลที่ระบุในเอกสารอ้างอิง ง. สอบถามผู้ส่งมาว่าได้ข้อมูลมาจากแหล่งใด

2.เว็บไซต์ใดมีความน่ าเชื่อถือของข้อมูลน้ อยที่สุด 7.การวิเคราะห์สื่ อมีความสำคัญอย่างไร
ก. เว็บไซต์ที่เป็ นหน่ วยงานของรัฐหรือหน่ วยงานการศึ กษา ก. เกิดความเข้าใจสื่ อนั้ นมากขึ้น
ข. เว็บไซต์ที่มีเนื้ อหาสาระเรื่องต่าง ๆ อธิบายไว้อย่างละเอียด ข. ทำให้เห็นคุณค่าหรือประโยชน์ ของสื่ อนั้ น
ค. เว็บไซต์ที่นำเสนอข่าวสารในแบบของวีดิทัศน์ และมีข้อมูลอ้างอิง ค. ทำให้ทราบวัตถุประสงค์ในการนำเสนอของสื่ อนั้ น
ง. เว็บไซต์นำเสนอวิธีการเล่นเกมพร้อมภาพประกอบการเล่น โดยมี ง. สามารถนำไปใช้ในการนำเสนอหรือขยายผลได้
การระบุผู้ให้ข้อมูล

3.ข้อใดไม่ใช่วิธีประเมินความน่ าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง 8.เครื่องหมาย TRUST บนเว็บไซต์แสดงถึงอะไร
ก. เนื้ อหาไม่ขัดต่อศี ลธรรม กฎหมาย ก. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือของเว็บไซต์ในภาพรวม
ข. ตรวจสอบแหล่งอ้างอิงที่มาของข้อมูล ข. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือในการนำข้อมูลไปใช้ต่อ
ค. ผู้เขียนหรือผู้นำเสนอข้อมูลเป็ นเจ้าของเว็บไซต์นั้ น ๆ ค. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือในการชำระเงินออนไลน์
ง. นำเสนอเนื้ อหาได้ตรงกับวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ ง. แสดงถึงความน่ าเชื่อถือของผู้เขียนข้อมูลบนเว็บไซต์

4.เพราะเหตุใดจึงควรมีช่องทางสำหรับแสดงความคิดเห็นบนเว็บไซต์ 9.หากนั กเรียนนำเสนอข้อมูลผ่านสื่ อที่ไม่ถูกต้อง จะเกิด
ผลกระทบโดยตรงอย่างไร
ก. เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อมูล ก. ความน่ าเชื่อถือของตนเองลดลง
ข. เพื่อให้ทุกคนสามารถสื่ อสารกับเจ้าของเว็บไซต์ได้
ค. เพื่อให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ข. ผู้ที่นำข้อมูลไปใช้เกิดผลกระทบในด้านลบ
ง. เพื่อให้เว็บไซต์มีความน่ าเชื่อถือ และเป็ นสื่ อสังคมออนไลน์ สำหรับทุกคน ค. ความน่ าเชื่อถือขององค์กรหรือโรงเรียนลดลง

ง. เกิดปั ญหาในด้านการนำข้อมูลไปใช้ในระบบใหญ่

5.ข้อใดไม่ใช่เหตุผลวิบัติ 10. หากข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ของประชาชนในประเทศไทยไม่
ถูกต้อง เช่น พบว่ารายได้ที่ตรวจสอบจริงน้ อยกว่ารายได้ที่
ก. การอาบน้ำบ่อย ๆ ทำให้ผิวขาว ทุกคนจึงนิ ยมอาบน้ำบ่อย ๆ รายงานไปยังรัฐบาล จะเกิดผลกระทบต่อประชาชนในประเทศ
ข. การดื่มน้ำมะนาวบ่อย ๆ ทำให้ร้องเพลงเพราะ ทุกคนจึงนิ ยมดื่มน้ำมะนาว อย่างไร
ค. การใช้โทรศั พท์ราคาแพงทำให้บุคลิกดี ทุกคนจึงนิ ยมซื้อโทรศั พท์ราคาแพง
ง. การเข้าแถวตามลำดับทำให้เกิดระเบียบวินั ย ทุกคนจึงเข้าแถวตามลำดับเสมอ ก. รัฐบาลขาดความน่ าเชื่อถือต่อสังคมโลก

ข. ทุกคนในประเทศต้องเสียภาษีเพิ่มมากขึ้น

ค. การกำหนดนโยบายมีความผิดพลาดและไม่สามารถแก้
ปั ญหาได้

ง. รัฐบาลต้องเก็บข้อมูลซ้ำอีกครั้งทำให้ประชาชนเสียโอกาส
และเวลา

บรรณานุ กรม

จีระพงษ์ โพพันธุ์.(2562) การประเมินความน่ าเชื่อถือของข้อมูล.สืบค้น 27 พฤศจิกายน 2562,
จาก HTTPS://KRU-IT.COM/COMPUTING-SCIENCE-M3/ASSESSING-INFORMATION/

กระทรวงศึ กษาธิการ.(2552).หลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั กราช
2551;กรุ งเทพ:โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.


การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้หลักการ Prompt มีอะไรบ้าง

ใช้หลักการ PROMPT Relevance การพิจารณาความสัมพันธ์ ความสอดคล้องของข้อมูลกับสิ่งที่ต้องการ Objectivity ข้อมูลที่นำมาใช้ต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ไม่มีเจตนาแอบแฝง หรือเป็นข้อมูลที่แสดงความคิดเห็น Method มีการวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ Provenance มีการระบุแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน เชื่อถือได้

การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลควรพิจารณาแบบใด

การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลจะต้อง พิจารณาข้อมูลที่มาจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน หรืออาจใช้เครื่องมือในการประเมินความน่าเชื่อถือ เช่น PROMPT.

พรอมท์ คืออะไร

(พรอมพฺทฺ) adj. รวดเร็ว, ฉับพลัน, โดยพลัน, ทันทีทันใด, (เงิน) จ่ายได้ทันที. vt. กระตุ้น, ให้กำลังใจ, สนับสนุน, ถือหาง, บอกบท. vi. บอกบท. n. เวลาจำกัดในการชำระหนี้, การกระตุ้น, การให้กำลังใจ, การบอกบท, สิ่งเตือนใจ., See also: promptness n. prompter.

Prompt มีอะไรบ้าง

ประเด็นพิจารณาตามหลักการ "พรอมท์ (PROMPT)" มีอะไรบ้าง การนำเสนอ ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา เวลา ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา ความกระชับ การนำเสนอ