ใครเป็นคนกู้เอกราชของกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ.2127

วันที่ ๖ พฤศจิกายน วันกอบกู้เอกราชไทย การสงครามกอบกู้เอกราชครั้งนั้น เริ่มต้นขึ้นในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๓๑๐ ้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกกองทัพเรือจากจันทบุรีเข้ามาทางปากแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าโจมตีข้าศึกที่เมืองธนบุรี ทรงยึดเมืองธนบุรีคืนได้และประหารนายทองอินคนไทยที่เป็นไส้ศึก แล้วจึงเคลื่อนทัพต่อไปที่กรุงศรีอยุธยา เข้ายึดค่ายโพธิ์สามต้น ปราบข้าศึกจนราบคาบ กอบกู้กรุงศรีอยุธยากลับคืนมาได้ เมื่อวันศุกร์ เดือน ๑๒ ขึ้น ๑๕ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๒๙ ปีกุน นพศก เวลาบ่ายโมงเศษ ซึ่งตรงกับวันศุกร์ที่ ๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๓๑๐ เวลาประมาณ ๑๓.๐๐ น. ใช้เวลา ๗ เดือนหลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาในการทรงกอบกู้เอกราช

ใครเป็นคนกู้เอกราชของกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ.2127
ใครเป็นคนกู้เอกราชของกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ.2127

Show

ร้อยกรองและภาพ จากหนังสือเรื่อง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ฉบับเยาวชน

นางดาวรัตน์ ชูทรัพย์ ประพันธ์

ภาพ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชตีค่ายโพธิ์สามต้น

จิตรกร นายลาภ อำไพรัตน์ นายช่างศิลปกรรมปฎิบัติงาน สำนักช่างสิบหมู่

คราวเสียกรุงครั้งที่ 1 พม่าได้ราชาภิเษก พระมหาธรรมราชาธิราช(ขุนพิเรนทรเทพ) เป็นพระเจ้าแผ่นดินอยุธยา ข้าขอบขัณฑสีมาของกรุงหงสาวดี ต่อมาพระนเรศ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีสรรเพชญ์ (พระมหาธรรมราชาธิราช-ขุนพิเรนทรเทพ) ทรงเสด็จหนีออกจากพม่าได้และประกาศเอกราช ครั้งนั้นพระบรมชนกนาถยังคงมีพระชนมชีพอยู่ การกอบกู้เอกราชนั้นมากระทำในสมัยพระนเรศ ได้รับพระราชบัณฑูรเป็นสมเด็จพระมหาอุปราช ประทับ ณ พระราชวังจันทรฯ(วังหน้า) ฉะนั้นพระวีรกรร

กรุงเทพฯ--28 มี.ค.--ศูนย์สรรพสินค้า 3 เหตุการณ์หัวเลี้ยวหัวต่อ บนวิกฤติที่จะชี้ความเป็นความตายของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และเอกราชของชาติไทยในสมัยที่มีกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี นั่นก็คือ เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ การประกาศอิสรภาพ และการทำศึกยุทธหัตถี ในครั้งทรงพระเยาว์ เมื่อสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระราชบิดา ซึ่งขณะนั้นครองเมืองพิษณุโลก ได้เข้ากับหงสาวดี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หรือที่รู้จักกันในเวลานั้นว่าพระองค์ดำ ต้องเสด็จพร้อมพระเชษฐภคินีพระสุพรรณกัลยา ไปเป็นองค์ประกันที่หงสาวดี ในปีพ.ศ. 2107 โดยมีพระชนมายุเพียง 9 พรรษาเท่านั้น ไม่ต้องจินตนาก็สามารถคาดเดาถึงความอันตรายบนดินแดนอริราชศัตรู จวบจนพระชนมายุได้ 17 พรรษา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จึงได้เสด็จกลับมา ณ กรุงศรีอยุธยา หรือเป็นระยะเวลานานกว่า 8 ปี บนเส้นทางอันตรายนี้ หลังจากพระเจ้าบุเรงนองตีกรุงศรีอยุธยาแตก ในปีพ.ศ. 2112 ได้สถาปนาสมเด็จพระมหาธรรมราชาครองกรุงศรีอยุธยาในฐานะประเทศราชของหงสาวดี เมื่อครั้นที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ได้เสด็จหนีกลับมายังกรุงศรีอยุธยา พระองค์จึงได้พระราชทานนามว่า "พระนเรศวร" และโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระมหาอุปราช ไปปกครองเมืองพิษณุโลก จนกระทั่งในปีพ.ศ.2126 เกิดความวุ่นวายในหงสาวดี เมื่อพระเจ้าอังวะก่อการกบฏ พระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง จึงได้เรียกระดมหัวเมืองขึ้นให้ยกกองทัพมาช่วยปราบ ซึ่งกรุงศรีอยุธยาก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย นี่คือวิกฤติที่สอง จนมานำสู่การประกาศอิสรภาพ ขณะที่สมเด็จพระนเรศวร ยกทัพมาถึงเมืองแครง ได้ระแคะระคาย ถึงแผนการของหงสาวดีที่จะประทุษร้ายพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ได้ทรงหลั่งน้ำลงสู่แผ่นดินด้วยสุวรรณภิงคาร (พระน้ำเต้าทองคำ) ประกาศอิสรภาพจากหงสาวดี ต่อหน้าชุมนุมผู้เกี่ยวข้องทั้งปวง เพื่อเป็นสักขีพยาน จากนั้นก็ยกกองทัพมุ่งหน้าหวังเข้าตีกรุงหงสาวดี แต่ประจวบเหมาะกับที่ศึกอังวะทางฝั่งหงสาวดีสามารถคลี่คลาย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเปลี่ยนพระทรัย ยกทัพกลับ โดยอพยพชาวไทย และชาวมอญที่สมัครใจกลับมายังกรุงศรีอยุธยาด้วย แม้กองทัพหงสาวดี จะทุ่มเทกำลังไล่ล่าเพียงใด สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ก็ทรงนำกองทัพ และประชาชน หนีรอดปลอดภัยกลับมายังกรุงศรีอยุธยาสำเร็จ หลังจากสมเด็จพระนเรศวร ขึ้นครองราชย์ในปีพ.ศ. 2133 เพียง 2 ปี คือในปีพ.ศ. 2135 พระเจ้าหงสาวดี นันทบุเรง โปรดให้พระมหาอุปราชา ยกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยา ซึ่งนำไปสู่การสงครามยุทธหัตถี ครั้งสุดท้ายของประวัติศาสตร์ชาติไทย และเป็นสงครามชี้ชะตาความเป็นเอกราชของกรุงศรีอยุธยา ซึ่งด้วยพระปรีชาสามารถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงดำรงเอกราชของกรุงศรีอยุธยาไว้ได้ กองทัพหงสาวดี ประสบความพ่ายแพ้อย่างย่อยยับ ต้องถอยทัพออกไป และถูกไล่ตีร่นไปจนถึงกรุงหงสาวดีอีกด้วย เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์ไทยผู้ทรงกอบกู้เอกราชแห่งชาติไทย ซีคอน บางแค จึงได้ร่วมกับ ไทยประกันชีวิต จัดงาน "ตำนานกษัตริย์ผู้กอบกู้เอกราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช" ย้อนอดีตสู่ห้วงเวลาสำคัญแห่งประวัติศาสตร์ชาติไทย เนรมิตบรรยากาศสมจริงแห่งเมืองอโยธยา และหงสาวดี ในแบบฉบับ Living Museum ให้ได้สัมผัสเหล่าแม่ทัพนายกอง และนักรบอย่างสมจริง ที่จะโชว์แสงสีเสียง บอกเหล่าเรื่องราว ตั้งแต่เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ การประกาศอิสรภาพ การทำศึกยุทธหัตถี อลังการกับสถานที่สำคัญที่จำลองมาไว้ในงานนี้โดยเฉพาะ อาทิ ค่ายบัญชาการรบ คลังอาวุธ, การทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา, บังลังค์นันทบุเรง, กุฏิมหาเถรคันฉ่อง, วัดธรรมมิกราช, หอกลอง, โรงช้าง, โรงเสบียง, ลานชนไก่ รวมถึงการสัมผัสวิถีชีวิตชุมชน เสมือนหลุดเข้าไปในยุคแห่งการกอบกู้เอกราช ร่วมสักการะพระบรมรูปองค์จำลองเนื้อโลหะของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และพระสุพรรณกัลยา พร้อมชมนิทรรศการพระราชประวัติ และเลือกซื้อสินค้า อาหาร ของที่ระลึก ที่รวบรวมไว้ในงาน เข้าชมฟรี! ตั้งแต่วันนี้ – 27 มีนาคม ศกนี้ บริเวณลานกลาง ชั้น1 ศูนย์สรรพสินค้า ซีคอน บางแค ถนนเพชรเกษม


คุณกำลังอ่าน: “ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2” นี่เป็นหัวข้อ “ร้อนแรง” ที่มีการค้นหา 109,000 ครั้ง/เดือน. วันนี้ Eyelight.vn จะช่วยให้คุณเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ในบทความนี้

Contents

  • ผลการค้นหาของ Google:
  • การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง – วิกิพีเดีย
  • การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก – วิกิพีเดีย
  • การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง – วิกิพีเดีย
  • สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ทรงกอบกู้เอกราชให้ …
  • ผู้กอบกู้เอกราชครั้งที่ 2 – MaLeeZa – Google Sites
  • การกอบกู้เอกราชครั้งที่ 1 – อโยธยาเมืองเก่า – Google Sites
  • สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ – Google Sites
  • เบื้องหลังการกอบกู้เอกราช ของพระเจ้าตาก ณ หัวเมืองตะวันออก
  • 28 ธันวาคม วันสมเด็จพระเจ้าตากสิน พระมหากษัตริย์ผู้ทรงกอบกู้ …
  • ความหมายที่คล้ายกัน: “ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2”
  • ข้อกำหนดในการค้นหาอื่นๆ:
    • ข้อมูลอ้างอิงอื่นๆ
  • สมเด็จพระนเรศวรมหาราช – วิกิพีเดีย
  • อาณาจักรธนบุรี – วิกิพีเดีย
  • สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี – วิกิพีเดีย
  • หลักฐานว่าด้วยการเสียกรุงครั้งที่ 2 ของกรุงศรีอยุธยา – Sanook
  • วันนี้ในอดีต การกอบกู้เอกราชของพระเจ้าตาก – Nation TV
    • หัวข้อเดียวกัน: ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2
  • อาณาจักรธนบุรี – วิกิพีเดีย
  • สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี – วิกิพีเดีย
  • หลักฐานว่าด้วยการเสียกรุงครั้งที่ 2 ของกรุงศรีอยุธยา – Sanook
  • วันนี้ในอดีต การกอบกู้เอกราชของพระเจ้าตาก – Nation TV
  • ประวัติศาสตร์ “กรุงธนบุรี” – ทัพเรือภาคที่ ๒
  • การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง – วิกิพีเดีย คืออะไร

ผลการค้นหาของ Google:

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง – วิกิพีเดีย

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่างอาณาจักรตองอูและอาณาจักรอยุธยา …. => อ่านเลย

การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก – วิกิพีเดีย

การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก นับเป็นเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย … ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง อันส่งผลให้เกิดสภาพจลาจลโดยทั่วไป …. => อ่านเลย

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง – วิกิพีเดีย

นอกอยุธยา: 50,000 นาย. ล้อมกรุงอยุธยา: 40,000+ นาย. ความสูญเสีย. ทหารและพลเรือนเสียชีวิตประมาณ 200,000 คน …. => อ่านเลย

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ทรงกอบกู้เอกราชให้ …

18 พ.ค. 2019 — วันที่ 17 เมษายน คือ … กษัตริย์ผู้ทรงกอบกู้เอกราชให้กรุงศรีอยุธยาจากการเสียกรุงศรีฯ ครั้งที่ 2 … และอีกครั้งหนึ่งคือยุทธนาวีที่เกาะช้าง …. => อ่านเลย

ผู้กอบกู้เอกราชครั้งที่ 2 – MaLeeZa – Google Sites

การกอบกู้เอกราชของเจ้าตาก นับเป็นเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย … ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง อันส่งผลให้เกิดสภาพจลาจลโดยทั่วไป …. => อ่านเพิ่มเติม

การกอบกู้เอกราชครั้งที่ 1 – อโยธยาเมืองเก่า – Google Sites

คราวเสียกรุงครั้งที่ 1 พม่าได้ราชาภิเษก พระมหาธรรมราชาธิราช(ขุนพิเรนทรเทพ) เป็นพระเจ้าแผ่นดินอยุธยา ข้าขอบขัณฑสีมาของกรุงหงสาวดี.. => อ่านเพิ่มเติม

สมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ – Google Sites

สมัยอาณาจักรอยุธยา กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ … ประชาชนพากันหลบหนีไปอยู่ตามป่า และหัวเมืองห่างไกล อย่างไรก็ตาม การเสียกรุงครั้งที่ 2 …. => อ่านเพิ่มเติม

เบื้องหลังการกอบกู้เอกราช ของพระเจ้าตาก ณ หัวเมืองตะวันออก

7 ส.ค. 2017 — ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 พระเจ้าตากและพวกได้ฝ่าวงล้อมของพม่า ยกทัพมายังดินแดนเมืองท่าชายฝั่งทะเลตะวันออก เพื่อรวบรวมผู้คน …. => อ่านเพิ่มเติม

28 ธันวาคม วันสมเด็จพระเจ้าตากสิน พระมหากษัตริย์ผู้ทรงกอบกู้ …

28 ธ.ค. 2020 — 1. การกู้เอกราช เมื่อปี พ.ศ. 2309 พม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในสมัยพระเจ้าเอกทัศ และได้เสียกรุงแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2 ใน พ.ศ.. => อ่านเพิ่มเติม

ความหมายที่คล้ายกัน: “ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2”

การเสียกรุง ครั้งที่ เป็น และ การกอบกู้เอกราช เป็นเหตุการณ์ การเสียกรุง ครั้งที่ กรุง เสีย และ เสีย ที่ กอบกู้เอกราช การเสียกรุง ครั้งที่ 2 และ ครั้ง ที่ การกอบกู้เอกราช เป็นเหตุการณ์ การเสียกรุง ครั้งที่ เสียกรุงครั้งที่ 1 เป็น และ และ การเสียกรุงครั้งที่ 2 เสียกรุง ครั้งที่ 2 ใน และ ผู้ 1 การกู้เอกราช กรุง ใน และ กรุง เป็นครั้งที่ 2 ใน กรุง ครั้ง เป็น ที่ การ ที่ 1 ที่ 2 และ ที่ .

ข้อกำหนดในการค้นหาอื่นๆ:

  • การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เกิดขึ้นในรัชสมัยของกษัตริย์พระองค์ใด
  • เสียกรุงครั้งที่ 2 ในสมัยใด
  • เสียกรุงครั้งที่ 2 พระเจ้าตาก
  • เสียกรุงครั้งที่ 1 และ 2 แตกต่างกันอย่างไร
  • กรุงศรีอยุธยาแตกเพราะอะไร
  • ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2

คุณกำลังอ่าน: ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 อยู่ในหัวข้อ Finance (Thai) ถ้าคุณชอบหัวข้อนี้โปรดแชร์บน Facebook เพื่อให้เพื่อนของคุณรู้

ข้อมูลอ้างอิงอื่นๆ

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช – วิกิพีเดีย

ราชการสงครามในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่และสำคัญยิ่งของชาติไทย พระองค์ได้กู้อิสรภาพของไทยจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งแรก … => อ่านเพิ่มเติม

อาณาจักรธนบุรี – วิกิพีเดีย

… ภายหลังอาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ …. => อ่านเพิ่มเติม

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี – วิกิพีเดีย

เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อมา พ.ศ. 2310 เกิดการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระองค์ได้เป็นผู้นำขับไล่ทหารพม่าที่ยึดครอง … => อ่านเพิ่มเติม

หลักฐานว่าด้วยการเสียกรุงครั้งที่ 2 ของกรุงศรีอยุธยา – Sanook

13 ต.ค. 2019 — เป็นประเด็นถกเถียงกันมาตลอดกับประวัติศาสตร์ไทยที่มักจะเขียนไม่ตรงกัน สอนไม่ตรงกัน หรือเราที่เขียนไม่ตรงกับชาวบ้าน. => อ่านเพิ่มเติม

วันนี้ในอดีต การกอบกู้เอกราชของพระเจ้าตาก – Nation TV

5 พ.ย. 2020 — 2309 ก่อนเสียกรุง พระยาตากได้นำทหารในบังคับบัญชาตีฝ่าวงล้อมของกองทัพ … และศักยภาพที่มีอยู่เหนือกว่าชุมนุมอื่น ๆ ในการกอบกู้กรุงศรีอยุธยา => อ่านเพิ่มเติม

หัวข้อเดียวกัน: ใครเป็นผู้กอบกู้เอกราชในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2

อาณาจักรธนบุรี – วิกิพีเดีย

… ภายหลังอาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ … => อ่านเพิ่มเติม

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี – วิกิพีเดีย

เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อมา พ.ศ. 2310 เกิดการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระองค์ได้เป็นผู้นำขับไล่ทหารพม่าที่ยึดครอง … => อ่านเพิ่มเติม

หลักฐานว่าด้วยการเสียกรุงครั้งที่ 2 ของกรุงศรีอยุธยา – Sanook

13 ต.ค. 2019 — เป็นประเด็นถกเถียงกันมาตลอดกับประวัติศาสตร์ไทยที่มักจะเขียนไม่ตรงกัน สอนไม่ตรงกัน หรือเราที่เขียนไม่ตรงกับชาวบ้าน. => อ่านเพิ่มเติม

วันนี้ในอดีต การกอบกู้เอกราชของพระเจ้าตาก – Nation TV

5 พ.ย. 2020 — 2309 ก่อนเสียกรุง พระยาตากได้นำทหารในบังคับบัญชาตีฝ่าวงล้อมของกองทัพ … และศักยภาพที่มีอยู่เหนือกว่าชุมนุมอื่น ๆ ในการกอบกู้กรุงศรีอยุธยา => อ่านเพิ่มเติม

ประวัติศาสตร์ “กรุงธนบุรี” – ทัพเรือภาคที่ ๒

23 พ.ย. 2020 — โดยกลุ่มชุมนุมเจ้าตากหรือพระยาตาก(สิน)ถือเป็นกลุ่มชุมนุมที่สำคัญ ที่ทำให้ประเทศไทยสามารถกอบกู้เอกราชกลับคืนมาจากพม่าได้ โดยพระยาตากใช้เวลาในการ … => อ่านเพิ่มเติม