ขั้นตอนการทำโครงงานขั้นตอนใดสำคัญที่สุด เพราะเหตุใด

2. ���㴤����Ӥѭ����ش㹡�èѴ���ç�ҹ�Ѳ�����䫵�
�. �֡���ѡ���¹�ӧҹ���������Ѵ���ʹ�
�. �ѡ���¹�Դ�����آ���ʹء�Ѻ��÷ӧҹ
�. �繡������������ѡ���¹����ö�ӧҹ�繡���������Ѻ��������
�. �����䫵����繻���ª���͡�����¹���ͧ���Ǫ���м��ʹ�

3. ���㴨Ѵ���������Ӥѭ����ش㹡�þԨ�óҵѴ�Թ����͡��Ǣ�ͷ��ç�ҹ
�. ������ͧ��������������ػ�ó�㹡�÷��ç�ҹ
�. ���Թ�����絷������ö�鹤��Ң��������ҧ�Ǵ���Ƿѹ�
�. ����Ҫԡ��������������ʹѺʹع��ҹ������ҳ
�. �դ��������зѡ�з�������ç�ҹ�����Ǣ������ͧ�����֡��

4. ��ѡ��þԨ�ó����͡��Ǣ������ͧ���ç�ҹ�Ѳ�����䫵����Ӥѭ����ش
�. ���͡��Ǣ������ͧ���������Ѵ��Ф���ʹ�
�. ���͡��Ǣ������ͧ�����觷���������������
�. ���͡��Ǣ������ͧ�����ҷ����ҹ�Թ�
�. ���͡��Ǣ������ͧ�����������Ѻ��������������ö

5. ����͡�˹���Ǣ������ͧ���ç�ҹ�Ѳ�����䫵����� ��鹵͹���令�èз�����
�. ��ù��ʹ�����ʴ��ç�ҹ��ҹ���͢����Թ������
�. �֡�� �鹤��� �ҡ�͡���������觢�����
�. ���ŧ��ͷ��ç�ҹ�Ѳ�����䫵�
�. �Ѵ������ç�ͧ�ç�ҹ

6. ���㴨Ѵ�������觷���Ӥѭ����ش㹡�ù��ʹͼŧҹ�ͧ�ç�ҹ�Ѳ�����䫵�
�. ����§ҹᨡ���Ѻ�ؤ�ŷ��ʹ�
�. �Ѵ�����ʴ��ŧҹ�Է��ȡ�÷ҧ�Ԫҡ��
�. �Ӣ�����������ҹ���͢����Թ������
�. ���ʹͼŧҹ˹����ͧ���¹

7. �ҡ��ͤ������仹�� "����������� �зѴ�Ѵ��ЪѴਹ ��ҷ����� �Ѻ�� ����˹ ���ҧ�� ������ ���͵�ͧ��ü�����" ���¶֧��ѡ�������
�. �����¹��鹵͹��ô��Թ�ҹ�ç�ҹ
�. �����¹�ѵ�ػ��ʧ���ç�ҹ
�. �����¹��ѡ�����з�ɮ�
�. ��õ�駪�������ͧ�ç�ҹ

8. ��ѡ�������˵ؼ��ç�ҹ�Ѳ�����䫵� ����ѡ�����¹���ҧ��
�. �͡�������繷���ͧ���ç�ҹ�����������´�ͧ��ٷ���֡�Ңͧ�ç�ҹ
�. �͡������ѧ����� �����Ӥѭ ����������л���ª�������ҡ�ç�ҹ
�. �͡��Ҿ���� � 仢ͧ�ѭ������Ըա����䢻ѭ�Ңͧ��÷��ç�ҹ
�. �͡������ͧ��÷���֡����е�Ǻ觪��֧��觷��з��ç�ҹ

9. ��á�˹�����ͧ�����ç�ҹ ��ͧ�Ѵਹ ੾���Ҩ� ���������� �º觪�� ��觷��ӷ������駤ӵͺ���Ҵ��Ҩ����Ѻ ����㹢�鹵͹㴢ͧ�����¹����ç �ç�ҹ��þѲ�����䫵�
�. �ѵ�ػ��ʧ��
�. ��ѡ�����з�ɮ�
�. ��鹵͹��ô��Թ�ҹ���Ἱ��Ժѵԧҹ
�. ��ѡ�������˵ؼ����ͷ������Ф����Ӥѭ

10. �����Ӥѭ����ش㹡�����͡�������ͧ�ͧ�ç�ҹ
�. ���͡����ͧ��赹�ͧʹ��ҡ����ش
�. ���͡����ͧ������黯Ժѵ����ԧ
�. ���͡����ͧ�������ӫ�͹�Ѻ�ç�ҹ����������
�. ���͡����ͧ������������·��ӷ��ç�ҹ��


โครงงานเป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คำตอบให้ลึกซึ้งหรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากยิ่งขึ้น โดยใช้วิธีการศึกษาอย่างมีระบบขั้นตอนมีการวางแผนศึกษาอย่างละเอียดปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุป ที่เป็นคำตอบในเรื่องนั้นๆโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์เป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คำตอบ ให้ลึกซึ้งหรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากยิ่งขึ้นโดยใช้วิธีการศึกษาอย่างมีระบบขั้นตอนมีการวางแผนศึกษาอย่างละเอียดปฏิบัติ งานตามแผนที่วางไว้จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคำตอบในเรื่องนั้นๆ

โครงงานคืออะไร

โครงงานเป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คำตอบให้ลึกซึ้งหรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากยิ่งขึ้น โดยใช้วิธีการศึกษาอย่างมีระบบขั้นตอนมีการวางแผนศึกษาอย่างละเอียดปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุป ที่เป็นคำตอบในเรื่องนั้นๆ

โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์

เป็นโครงงานประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ หรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำงาน สิ่งประดิษฐ์ดังกล่าวอาจเป็นสิ่งที่คิดขึ้นมาใหม่ทั้งหมด หรือเป็นการดัดแปลงมาจากของที่มีอยู่แล้วก็ได้เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม หรือสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายแนวคิดบางอย่าง เช่นโครงงานการสร้างแบบจำลองบ้านประหยัดไฟ แบบจำลองพัดลมไอน้ำเป็นต้น

ขั้นตอนการทำโครงงาน

การทำโครงงานเป็นกิจกรรมที่มีความต่อเนื่องและมีการดำเนินการหลายขั้นตอนแต่จะแบ่งขั้นตอนเป็นข้อหลักได้ดังนี้

1.      การคิดเลือกหัวเรื่องที่จะศึกษา

2.      การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

3.      การเขียนเค้าโครงงาน

4.      การลงมือทำโครงงาน

5.      การเขียนรายงาน

                     6. การแสดงผลงานและนำเสนอผลงาน

1..การคิดเลือกหัวข้อโครงงาน

การคิดเลือกหัวข้อเป็นขั้นตอนแรกของการทำโครงงาน หัวเรื่องทีศึกษาควรเป็นเรื่องที่เกิดจากจากความสนใจ ความสงสัย ของนักเรียนในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ครูสอนในห้องเรียนที่อยากค้นหาคำตอบ ควรเป็นเรื่องที่แปลกใหม่แสดงความคิดสร้างสรรค์

ข้อควรคำนึงเกี่ยวกับการคิดเลือกหัวข้อที่จะทำโครงงาน

1. เหมาะสมกับระดับความรู้ของนักเรียน

2. เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน

3. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้

4. งบประมาณเพียงพอ

5. ระยะเวลาที่ใช้ทำโครงงาน

6. มีคุณครูที่ปรึกษา

7. ความปลอดภัย

8. มีแหล่งความรู้หรือเอกสารเพียงพอที่จะค้นคว้า

9. ความตั้งใจที่จะทำโครงงานให้ประสบผลสำเร็จ

2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง นักเรียนควรมีสมุดจดบันทึกหรือถ่ายเอกสารไว้เป็น หลักฐานควรนำมาแสดงในวันทำโครงงานด้วย การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้นักเรียนเกิดแนวคิด สามารถวางแผนการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม ข้อความที่นักเรียนควรนำมาใช้ประกอบการทำโครงงานเช่น

- ใครเป็นผู้เขียนผู้แต่ง

- ชื่อหนังสือชื่อเรื่อง

- โรงพิมพ์ สถานที่ ปีที่พิมพ์

- หน้าที่คัดลอกมา

ข้อมูลทั้งหมดนี้นักเรียนสามารถนำไปเขียนเป็นเอกสารอ้างอิง

เช่น พรจันทร์ จันทวิมล. การพับกระดาษ แสงศิลป์การพิมพ์ . กรุงเทพฯ : 2538 ( 23 – 37 )

3. การวางแผนในการทำโครงงาน ( การจัดทำเค้าโครงงาน )

เป็นขั้นตอนในการเขียนแผนงานซึ่งต้องคิดล่วงหน้าว่าจะทำอะไรอย่างไรโดยการเขียนเป็นโครงร่างหรือเค้าโครงนำเสนอ คุณครูที่ปรึกษา เป็นการกำหนดแผนการปฏิบัติงานอย่างคร่าวๆเพื่อให้มีความเข้าใจในการทำงานอย่างเป็นระบบขั้นตอน ไม่สับสนโดยทั่วไปการวางแผนการทำโครงงานก็คือการจัดทำเค้าโครงงานนั่นเอง การจัดทำเค้าโครงงานประกอบด้วย

1. ชื่อโครงงาน ควรเขียนเป็นข้อความที่กระชับ ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรงกับงานที่นักเรียนกำลังศึกษา

2. ชื่อผู้ทำโครงงาน

3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน

4. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน อธิบายถึงความเป็นมาเกี่ยวกับปัญหาที่สนใจจะศึกษานี้ว่ามีความเป็นมาอย่างไร เหตุใดจึงได้เลือกทำโครงงานนี้ มีเหตุจูงใจอะไรที่ทำให้สนใจเป็นกรณีพิเศษ โครงงานนี้มีความสำคัญอย่างไร เป็นเรื่องที่คิดขึ้นมาใหม่ หรือเป็นการศึกษาต่อจากโครงงานเดิมที่มีคนทำไว้แล้ว เพื่อขยายปรับปรุงหรือทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล

5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า เป็นการระบุความต้องการในการศึกษา ซึ่งอาจเขียนเป็นข้อๆ โดยต้องเขียนให้ผู้อื่นทราบว่าเราจะทำการศึกษาอะไรอย่างไร แต่ไม่ใช่นำเอาประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการทำโครงงานมาเขียนเป็นจุดมุ่งหมาย

6. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี ) สมมติฐานเป็นคำตอบหรือคำอธิบายที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้แต่ต้องคำนึงไว้ด้วยว่าการเขียนสมมติฐานนั้นควรมีเหตุผล คือมีทฤษฎีหรือหลักทางวิทยาศาสตร์มา รองรับซึ่งมักเขียนเป็นข้อความที่สามารถมองเห็นแนวทางในการดำเนินงานหรือตรวจสอบได้

7. วิธีดำเนินงาน ประกอบด้วยวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ระบุว่าอุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง มีขนาดเท่าใด อะไรบ้างที่ต้องจัดซื้อ สิ่งใดที่ต้องจัดซื้อและสิ่งใดที่ต้องขอยืม

แนวการศึกษาค้นคว้า ให้อธิบายว่าจะออกแบบทดลอง อะไร ทำอย่างไร จะดำเนินการสร้างหรือประดิษฐ์อะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เก็บข้อมูลอย่างไร ที่ไหน เมื่อใด

8. แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกำหนดเวลาเริ่มต้นและเวลาเสร็จสิ้น การดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน

9. ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงานครั้งนี้ ทั้งที่จะได้กับตนเอง เพื่อนๆ และผู้อื่น

10.เอกสารอ้างอิง เป็นการบอกให้ผู้อื่นทราบว่า

นักเรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่ง

ใดบ้าง

4. การลงมือทำโครงงาน

เมื่อโครงงานผ่านความเห็นชอบจากที่ปรึกษาโครงงานแล้ว นักเรียนเริ่มลงมือทำโครงงาน สิ่งที่นักเรียนควรคำนึงถึงคือ

4.1 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม

4.2 มีการบันทึกการทำกิจกรรม

4.3 ปฏิบัติการทดลองด้วยความละเอียด รอบคอบ

4.4 คำนึงถึงความประหยัดและปลอดภัย

4.5 ทำตามแผนที่วางไว้

4.6 ควรปฏิบัติซ้ำๆเพื่อปรับปรุงผลงาน

4.7 ควรแบ่งงานให้ชัดเจน

4.8 สิ่งประดิษฐ์ต้องคำนึงถึงความคงทนแข็งแรง

5. การเขียนรายงาน

การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีบอก

ความหมายที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง

เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจแนวคิด วิธีดำเนินงาน การศึกษาค้นคว้า ข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้ ผลของการศึกษาตลอดจนประโยชน์และข้อเสนอแนะต่างๆ ที่ได้จากโครงงาน

การเขียนรายงานควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ชัดเจน และครอบคลุมหัวข้อดังนี้

1. ชื่อโครงงาน

2. ชื่อผู้ทำโครงงาน

3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน

4. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการและผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปอย่างย่อ

5. กิตติกรรมประกาศ คือการเขียนกล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความสนับสนุนในด้านต่างๆ จนโครงงานประสบผลสำเร็จ ได้แก่ที่ปรึกษา ให้คำปรึกษาต่างๆ ผู้ปรกครอง อาจให้คำปรึกษา หรือสนับสนุนค่าใช้จ่ายงบประมาณต่างๆเป็นการให้เกียรติคนที่ช่วยเหลือเขียนชื่อ สกุลจริงได้

6. ที่มาและความสำคัญ(เหมือนที่เขียนไว้ในเค้าโครงหรืออาจเพิ่มเติม)

7. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า(เหมือนกับที่เขียนไว้ในเค้าโครง)

8. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามีเหมือนกับที่เขียนไว้ในเค้าโครงวิธีดำเนินงาน(เขียนบอกตั้งแต่ใช้อุปกรณ์ใดบ้างลำดับ ขั้นตอนในการทำงานตั้งแต่ต้นจนจบทุกขั้นตอน)

9. ผลการศึกษาค้นคว้า เป็นการระบุผลที่ได้จากการสร้างสิ่งประดิษฐ์

10. สรุปผลของการศึกษาค้นคว้า เขียนอธิบายผลสรุปของการศึกษาค้นคว้าว่าได้ผลเป็นอย่างไร มีข้อบกพร่องหรือข้อจำกัดใดบ้าง

11. ข้อเสนอแนะ ให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่คิดว่าควรปรับปรุงแก้ไขและได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการทำโครงงานครั้งนี้

12. เอกสารอ้างอิง บอกชื่อหนังสือที่ใช้ศึกษาในงานครั้งนี้

6.การนำเสนอผลงาน

จัดเตรียมผลงานที่จะนำเสนอโดยมีการประชุมตกลงวางแผนการนำเสนองานตามหัวข้อสำคัญโดยทั่วไป แล้วจะประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้