วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ


������ͼ�� ���¶֧ ��÷�����ѡɳ������������������׹�ѹ���������ǡѹ�Դ�ҡ
������ҧ���� 2 ��Դ�����Ҽ���ѹ��������è��¡�ѹ����ǹ �
����¡������ͼ���Ҩ���Ըա�õ�ҧ � �� ��á�ͧ ���������¡ ������ӹҨ������� �������Դ �������¨���� ����繡���¡������Ըշҧ����Ҿ������ ��÷���¡��������ѵ�����͹���
1. ��á�ͧ ���Ըա���¡����͡�ҡ�ѹ�����ҧ�ͧ�秡Ѻ�ͧ���� �������¡����ǹ����͡�ҡ��� �����ѹ�ҡ㹷ҧ��� ��੾�����ͧ��Ժѵԡ�÷���ͧ���㹻���ҳ���� � ��á�ͧ��鹨е�ͧ���ü�ҹ��д�ɡ�ͧ ͹��Ҥ�ͧ�秷���ʹ��ҹ�١�д�ɡ�ͧ���������躹��д�ɡ�ͧ ��ǹ��������÷������¹����м�ҹ��д�ɡ�ͧŧ����Ҫ��
2. ���������¡ ���Ըշ�����¡������ͼ������繢ͧ���� 2 ��Դ������������͡�ҡ�ѹ �¢ͧ���Ƿ���ͧ����¡�繪�������Ѵਹ �� ��ӡѺ����ѹ �繵� ����¡���Ըչ��йӢͧ�������㹡����¡ ����䢢ͧ���Ƿ������㹪����ҧ����դ���˹����ҡ���Ҫ��
���͡����Ҫ�Ш���� ���Ǩ֧���� � 䢢ͧ���Ƿ�������������Ҫ������
3. ������ӹҨ������� ���Ըշ�����¡ͧ���Сͺ�ͧ������ͼ�����ͧ���Сͺ˹�������ѵ�㹡�ö١������硴ٴ�� �� �ͧ��������ҧ�����硡Ѻ�����жѹ ����������硶���Һ��蹡�д�ɷ���ҧ�Ѻ�ͧ�������ͧ ������硨дٴ�������¡�͡��
4. �������Դ ��� ��ҡ���ó����������¹ʶҹШҡ�ͧ�秡����繡�ҫ���������������¹ʶҹ��繢ͧ���ǡ�͹ ���¡������ͼ������繢ͧ���͡�ҡ�ѹ �¢ͧ�秪�Դ˹�������ѵ�����Դ�� �� �١���� ����ʹ �������� ��ú�áѺ����ᡧ �������������͹��ú�èС��������¡�͡�ҡ����ᡧ �ѡ�ͧ͢��ú�ô����Ҫ�з����繨����ú���繢ͧ���¡�͡��
5. ����������Ժ�͡���������͡ ���¡�ͧ������ͼ�� ���ͧ����բ�Ҵ⵾ͷ��
����Ժ�͡���������͡�� �� ������÷�������索������͡������
6. ��õ��С͹ ���¡�ͧ����׷�ͼ������繢ͧ���ǹ�������㹢ͧ���� �����¹Ӣͧ�������ҧ�������������ǹ��¤��� � ���С͹�͹�� 㹡óշ��С͹���ҡ��ҵ�ͧ�����鵡�С͹���Ǣ���Ҩ������ ����õ�ǡ�ҧ���͹��Ҥ�ͧ�С͹����� �����������ҡ��� ���˹ѡ���ҡ��鹨е��С͹�����Ǣ�� �� ����������� ͹��Ҥ�ͧ�������з�˹�ҷ���繵�ǡ�ҧ������š�Ţͧ��÷���ͧ��õ��С͹����� �С͹�е����Ǣ��


วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ
วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

3. การแยกสารเนื้อผสม และสารเนื้อเดียว

การแยกสาร หมายถึง

การที่แยกสารที่ผสมกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปออกจากกัน เพื่อนำสารที่ได้นั้นไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ ซึ่งสามารถจำแนกได้คือ การแยกสารเนื้อผสม และการแยกสารเนื้อเดียว

สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่มีลักษณะเนื้อสารไม่ผสมกลมกลืนกันเป็นเนื้อเดียวกันเกิดจาก

สารอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันโดยเนื้อสารจะแยกกันเป็นส่วน ๆ

การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อำนาจแม่เหล็ก การระเหิด การระเหยจนแห้ง ซึ่งเป็นการแยกสารโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกได้จะมีสมบัติเหมือนเดิม

1. การกรอง

เป็นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือใช้แยกสารแขวนลอยออกจากน้ำ ซึ่งใช้กันมากในทางเคมี โดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการที่กรองสารในปริมาณน้อย ๆ การกรองนั้นจะต้องเทสารผ่านกระดาษกรอง อนุภาคของแข็งที่ลอดผ่านรูกระดาษกรองไม่ได้จะอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนน้ำและสารที่ละลายน้ำได้จะผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

2. การใช้กรวยแยก

เป็นวิธีที่ใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของเหลว 2 ชนิดที่ไม่ละลายออกจากกัน โดยของเหลวทั้งสองนั้นแยกเป็นชั้นเห็นได้ชัดเจน เช่น น้ำกับน้ำมัน เป็นต้น การแยกโดยวิธีนี้จะนำของเหลวใส่ในกรวยแยก แล้วไขของเหลวที่อยู่ในชั้นล่างซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าชั้น

บนออกสู่ภาชนะจนหมด แล้วจึง

ค่อย ๆ ไขของเหลวที่ที่เหลือใส่ภาชนะใหม่

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

3. การใช้อำนาจแม่เหล็ก

เป็นวิธีที่ใช้แยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่งมีสมบัติในการถูกแม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผงเหล็กกับผงกำมะถัน โดยใช้แม่เหล็กถูไปมาบนแผ่นกระดาษที่วางทับของผสมทั้งสอง แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา 

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

4. การระเหิด

คือ ปรากฏการณ์ที่สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นก๊าซหรือไอโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็น

ของเหลวก่อน ใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งออกจากกัน โดยของแข็งชนิดหนึ่งมีสมบัติระเหิด

ได้ เช่น ลูกเหม็น พิมเสน น้ำแข็งแห้ง การบูรกับเกลือแกง เมื่อให้ความร้อนการบูรจะกลายเป็นไอแยก

ออกจากเกลือแกง ดักไอของการบูรด้วยภาชนะที่เย็นจะได้การบูรเป็นของแข็งแยกออกมา

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

ภาพการระเหิดของน้ำแข็งแห้ง

5. การใช้มือหยิบออกหรือเขี่ยออก

ใช้แยกของผสมเนื้อผสม ที่ของผสมมีขนาดโตพอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได้ เช่น ข้าวสารที่มีเมล็ด

ข้าวเปลือกปนอยู่

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

6. การตกตะกอน

ใช้แยกของผสมเนื้อผสมที่เป็นของแข็งแขวนลอยอยู่ในของเหลว ทำได้โดยนำของผสมนั้นวางทิ้งไว้ให้

สารแขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณีที่ตะกอนเบามากถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึ้นอาจ

ทำได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึ้น น้ำหนักจะมากขึ้นจะตก

ตะกอนได้เร็วขึ้น เช่น ใช้สารส้มแกว่ง อนุภาคของสารส้มจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้โมเลกุลของสารที่

ต้องการตกตะกอนมาเกาะ ตะกอนจะตกเร็วขึ้น

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

การแยกสารเนื้อเดียว 

สารเนื้อเดียว เป็นสารทีเกิดขึ้นโดยทั่วไป มองเห็นเป็นเนื้อเดียวกันโดยตลอด แบ่งเป็นพวก 

ได้แก่ ธาตุ สารละลาย และสารประกอบ ในการแยกสารเนื้อเดียวที่อยู่ในรูปของสารละลายนั้น สามารถ

ทำได้โดย

วิธีการดังต่อไปนี้

1. การระเหยจนแห้ง

ใช้ในกรณีที่ตัวถูกละลายเป็นของแข็งและตัวทำละลายเป็นของเหลว หรือของแข็งละลายในของเหลว เช่น เมื่อนำเกลือแกงซึ่งเป็นของแข็งมาละลายในน้ำจะได้ของผสมเนื้อเดียวกัน เรียกว่า สารละลายเกลือแกง ในกรณีที่เราต้องการแยกเกลือแกงและน้ำออกจากสาระลายเกลือแกงทำได้โดยการนำสารดังกล่าวมาให้ความร้อน เพื่อระเหยตัวละลาย ในที่นี้คือน้ำออกไป สิ่งที่เหลืออยู่ในภาชนะคือตัวถูกละลาย ที่เป็นของแข็งในที่นี้คือ เกลือแกง 

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

2. โครมาโตกราฟี (Chromatography)

เป็นเทคนิคการแยกสารเนื้อเดียวออกจากกันให้เป็นสารบริสุทธิ์ โดยอาศัยหลักการที่ว่า "สารแต่ละชนิดมีความสามารถในการละลายต่างกัน และถูกดูดซับต่างกัน จึงทำให้สารแต่ละชนิดแยกออกจากกันได้" ดังนั้นการแยกสารด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟี จึงต้องอาศัยสมบัติของสารดังนี้

     2.1 สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้ดี ไม่เท่ากัน สารที่ละลายได้ดีจะเคลื่อนที่ไปได้เร็ว

     2.2 สารต่างชนิดกันถูกดูดซับโดยตัวดูดซับได้ดีไม่เท่ากันสารที่ถูกดูดซับได้ดีจะเคลื่อนที่ได้ช้า

     2.3 สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดี และถูกดูดซับน้อยจะเคลื่อนที่ได้เร็วไปได้ไกล

     2.4 สารที่ละลายในตัวทำละลายได้น้อยและถูกดูดซับมากจะเคลื่อนที่ช้าไปได้ไม่ไกล

ประโยชน์ของโครมาโตกราฟี

     1. ใช้ในการแยกสารเนื้อเดียวที่มีส่วนผสมหลาย ๆ ชนิด ให้ได้เป็นสารบริสุทธิ์

     2. ใช้ในการวิเคราะห์หาปริมาณและชนิดของสาร

     3. ใช้ทดสอบหรือแยกสารตัวอย่างที่มีปริมาณน้อย ๆ ได้

     4. ใช้แยกสารได้ทั้งสารที่มีสีและไม่มีสี 

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

3. การกลั่น

เป็นกระบวนการที่ทำให้ของเหลวได้รับความร้อนจนกลายเป็นไอ ทำให้แยกตัวทำละลายและตัวถูกละลายที่ต่างก็เป็นของเหลวออกจากกันได้โโยอาศัยความแตกต่างกันของจุดเดือด การกลั่นจะใช้ได้ผลต่อเมื่อตัวทำละลายและตัวถูกละลายเดือดที่อุณหภูมิต่างกันค่อนข้างมาก(ต่างกันอย่างน้อย 20 ๐C) เช่น การแยกน้ำจากน้ำทะเล การแยกน้ำจากน้ำคลอง การแยกน้ำจากน้ำเกลือ หรือน้ำเชื่อม เป็นต้น 

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

4. การตกผลึก

เป็นกระบวนการแยกของแข็งที่ละลายในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัวที่

อุณหภูมิสูง แล้วปล่อยให้สารละลายเย็นลง ของแข็งจะตกผลึกออกมา

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ

วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ
  
วิธีที่ใช้แยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสม 5 ข้อ


การแยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารเนื้อผสมทําได้อย่างไรบ้าง

เมื่อบดข้าวเปลือกด้วยสาก พบเปลือกข้าว สีเหลืองแตกออกจากเมล็ดข้าวเปลือกและ พบเมล็ดข้าวสารที่มีสีขาวขุ่น Page 14 นาสารผสมมาร่อนไปมาในแนวราบ วิธีการแยกลักษณะนี้เรียกว่า การร่อน หรือนาสารผสมมาฝัดโดยใช้กระด้ง วิธีการนี้เรียกว่า การฝัด Page 15 หลังจากนั้นจึงใช้มือหยิบเอาเมล็ด ข้าวเปลือกออกจากเมล็ดข้าวสาร วิธีการแยกลักษณะนี้ ...

การแยกเปลือกข้าวออกจากเมล็ดข้าว ใช้วิธีใด

2. การกะเทาะเปลือก เพื่อที่จะแยกเอาเปลือกหุ้มเมล็ด ซึ่งเรียกว่า แกลบ (husk) ออกจากเมล็ดข้าว ในขั้นตอนนี้จะใช้เครื่องกะเทาะ (huller) ซึ่งเป็นลูกยางสองลูกหมุนเข้าหากันด้วยความเร็วต่างกัน หรือใช้เครื่องกะเทาะที่ทำด้วยแผ่นโลหะสองแผ่นบุด้วยหินหยาบ เพื่อให้เกิดการเสียดสี กะเทาะให้แกลบหลุดออกจากตัวเมล็ดข้าว ข้าวที่ได้จากขั้น ...

การซาวข้าวเป็นการแยกสารด้วยวิธีการใด

ทาได้โดยเทสารผสมระหว่างข้าวสารและน้าลงในหวด สารที่ค้างอยู่ในหวดคือข้าวสารมีลักษณะเป็นของแข็ง มีขนาดใหญ่กว่ารูของหวด ส่วนสารที่ผ่านหวดได้คือ ของเหลวสีขาวขุ่น วิธีการแยกสารนี้เรียกว่า การกรอง ใช้แยก สารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งปนกับของเหลว โดยของแข็งไม่ละลายในของเหลว Page 15 Page 16 กระบวนการบาบัดน้าเสีย

วิธีการในข้อใดที่ใช้แยกสารเนื้อผสม

1.การกรอง (filtration) ใช้แยกของแข็งออกจากของเหลว โดยที่สารนั้นต้องไม่ละลายและทำปฏิกิริยากับตัวทำละลาย 2.การใช้แม่เหล็ก เป็นการแยกสารออกจากของผสม โดยสารที่แยกต้องมีสมบัติดึงดูดกับแม่เหล็กได้ 3.เมื่อมีของผสมระหว่างผงตะไบเหล็กและผงกำมะถัน จะแยกออกจากกันโดยการกรอง