หากต้องการเปิดใช้งานเครื่องคํานวณ (Calculator) ของโปรแกรม Smartbiz จะต้องใช้ปุ่มฟังก์ชั่นใด

อาการ

เมื่อกดปุ่มการทำงานบนแป้นพิมพ์ Microsoft ปุ่มการทำงานเหล่านี้กลับไม่ทำงานตามที่คาด หรือปุ่มบางปุ่มไม่ทำงานเมื่อคุณกด ปุ่มเหล่านี้อาจได้แก่:

  • ปุ่ม NUM LOCK

  • ปุ่ม INSERT

  • ปุ่ม PRINT SCREEN

  • ปุ่ม SCROLL LOCK

  • ปุ่ม BREAK

  • ปุ่มการทำงาน F1 ถึง F12

หมายเหตุ บทความนี้จะอธิบายและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับแป้นพิมพ์ Microsoft ซึ่งติดตั้งมาพร้อมกับปุ่มสลับ F LOCK เท่านั้น ปัญหาอื่น ๆ ของแป้นพิมพ์อาจไม่เกี่ยวข้องกับบทความนี้

หากต้องการเปิดใช้งานเครื่องคํานวณ (Calculator) ของโปรแกรม Smartbiz จะต้องใช้ปุ่มฟังก์ชั่นใด

สาเหตุ

พฤติกรรมนี้อาจเกิดขึ้น หากแป้นพิมพ์นี้ติดตั้งมาพร้อมกับปุ่มสลับ F LOCK และมีการเปิดใช้ปุ่ม F LOCK

ปุ่มต่อไปนี้อาจเป็นปุ่มการทำงานเสริม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรุ่นของแป้นพิมพ์:

  • NUM LOCK

  • INSERT

  • PRINT SCREEN

  • SCROLL LOCK

  • BREAK

  • F1 ถึง F12

ปุ่ม F LOCK จะสลับระหว่างปุ่มการทำงานเสริม ปุ่มการทำงานเสริมคือปุ่มซึ่งมีคำสั่งที่เป็นไปได้สองคำสั่งโดยขึ้นอยู่กับสถานะของปุ่มสลับ F LOCK

วิธีแก้ไขปัญหาชั่วคราว

หากต้องการทำงานลักษณะนี้ ให้กดปุ่ม F LOCK ปุ่ม F LOCK จะสลับระหว่างคำสั่งของปุ่มการทำงานมาตรฐานกับคำสั่งขั้นสูงของแป้นพิมพ์ Microsoft

ข้อมูลเพิ่มเติม

ปุ่มคำสั่งเสริมจะช่วยให้แป้นพิมพ์สามารถทำงานได้เพิ่มเติมด้วยคุณสมบัติโหมดสองคำสั่งสำหรับแถวบนของปุ่ม F LOCK มาตรฐาน

ปุ่ม F LOCK และปุ่มคำสั่งเสริมจะสามารถใช้งานได้กับแป้นพิมพ์บางรุ่นเท่านั้น และประเภทของคำสั่งเสริมที่ใช้งานได้จะขึ้นอยู่กับรุ่นของแป้นพิมพ์

ปุ่ม F LOCK จะสลับระหว่างคำสั่งมาตรฐานที่จะมีป้ายกำกับอยู่ด้านหน้าของปุ่ม ได้แก่ ปุ่ม F1 หรือ INSERT และคำสั่งเสริมอาจมีป้ายกำกับบนปุ่มหรือไม่ก็ได้ เมื่อไฟของปุ่ม F LOCK ติดขึ้น ปุ่ม F LOCK จะเปิดการทำงานและปุ่มเหล่านี้จะทำงานตามคำสั่งมาตรฐาน เมื่อไฟของปุ่ม F LOCK ดับลง จะสามารถใช้คำสั่งเสริมได้ คุณสามารถเลือกโหมดที่คุณต้องการทำงาน หรือคุณสามารถสลัีบการเปิด/ปิดปุ่ม F LOCK เพื่อเข้าถึงคำสั่งที่คุณใช้งานบ่อยที่สุด

ปุ่มการทำงาน F1 ถึง F12 จะมีคำสั่งเสริมพิเศษ เรามักเรียกปุ่มดังกล่าวว่าปุ่มการทำงานขั้นสูง ปุ่มการทำงานขั้นสูงจะช่วยให้สามารถเข้าถึงคำสั่งที่ใช้งานบ่อยได้เร็วขึ้นเพื่อช่วยเพิ่มผลิตภาพในการทำงานของคุณ โดยทั่วไปคำสั่งเหล่านี้มักจะพิมพ์ไว้เหนือหรือบนปุ่ม

ตารางต่อไปนี้จะระบุถึงการกำหนดปุ่มการทำงานขั้นสูงค่าเริ่มต้นที่สามารถใช้งานได้บนแป้นพิมพ์ Microsoft อย่างไรก็ตาม คุณสามารถกำหนดปุ่มใหม่ได้หลายปุ่มโดยใช้ซอฟต์แวร์สำหรับปุ่มพิมพ์ Microsoft IntelliType Pro แป้นพิมพ์ต่างๆ อาจมีี่ปุ่มเสริมแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น แป้นพิมพ์บางรุ่นจะมีปุ่มอย่าง เครื่องคิดเลข การควบคุมเสียง หน้าหลักอินเทอร์เน็ต หน้าการค้นอินเทอร์เน็ต เมล และอื่น ๆ

ปุ่มการทำงานขั้นสูง

การทำงาน

ปิด

F6: ปิดเอกสารหรือแฟ้มในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

ส่งต่อ

F8: ส่งต่ออีเมลในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

ล็อคการทำงาน (F LOCK)

สลับระหว่างคำสั่งของปุ่มการทำงานมาตรฐาน (ไฟ F LOCK ติดขึ้น) และคำสั่งขั้นสูงของแป้นพิมพ์ Microsoft (ไฟ F LOCK ดับลง) เปิดหรือปิดปุ่มนี้ทิ้งไว้้ หรือสลับระหว่างโหมดต่างๆ เพื่อการทำงานด้วยการกดปุ่มเร็วยิ่งขึ้น

วิธีใช้

F1: เปิดระบบวิธีใช้ในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

ใหม่

F4: สร้างเอกสารใหม่ในโปรแกรมที่สนับสนุนคำสั่งนี้

ปุ่มหลักของ Office

เริ่มต้นเว็บเบราว์เซอร์และไปยังเว็บไซต์ของ Microsoft Office (ปุ่มนี้สามารถใช้ได้กับแป้นพิมพ์เพียงบางรุ่น)

เปิด

F5: เปิดเอกสารในโปรแกรมที่สนับสนุนคำสั่งนี้

พิมพ์

F12: พิมพ์แฟ้มในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

Redo

F3: ยกเลิกการเลิกทำก่อนหน้านี้

ตอบ

F7: ตอบอีเมลในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

บันทึก

F11: บันทึกแฟ้มในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

ส่ง

F9: ส่งอีเมลในหน้าต่างที่ทำงานอยู่

สะกด

F10: เริ่มต้นโปรแกรมตรวจสอบตัวสะกดในเอกสารที่ทำงานอยู่ หากโปรแกรมของเอกสารมีคุณสมบัตินี้

บานหน้าต่างงาน

แสดงหรือซ่อนบานหน้าต่างงานของ Office ที่เคยแสดงก่อนหน้านี้ (ปุ่มนี้สามารถใช้ได้กับแป้นพิมพ์เพียงบางรุ่น)

เลิกทำ

F2: ยกเลิกการทำงานก่อนหน้านี้


ในการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ล่าสุดของแป้นพิมพ์ ให้ไปยังเว็บไซต์ของ Microsoft:

https://www.microsoft.com/accessories/th-th/downloads

ต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติมหรือไม่

บทที่ 2 การใช้โปรแกรมในการคำนวณ

หากต้องการเปิดใช้งานเครื่องคํานวณ (Calculator) ของโปรแกรม Smartbiz จะต้องใช้ปุ่มฟังก์ชั่นใด

      ชนิดข้อมูลใน Microsoft Excel

โปรแกรม  Microsoft Excel สามารถแบ่งชนิดข้อมูลที่ใช้คำนวณได้เป็น 2 ชนิด คือ

   1. ค่าคงที่ (Constant) คือ ข้อมูลที่ใส่ลงในเซลล์โดยตรง อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความ โดยข้อมูลนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงค่า นอกจากผู้ใช้จะมีการแก้ไขข้อมูลเองนอกจากนั้น  ยังสามารถกำหนดค่าคงที่ไว้เพื่อใช้ในการคำนวณได้อีกด้วย

   2. สูตรการคำนวณ  (Formula) คือ นิพจน์ที่อาจเกิดจากค่าคงที่  ฟังก์ชัน  หรือการนำค่าคงที่ที่อยู่ในเซลล์มาคำนวณเพื่อให้ได้ค่าใหม่

   การป้อนข้อมูลชนิดข้อความ (Text)

   กฎเกณฑ์การป้อนข้อมูล

-  ข้อความสามรถใช้ได้ทั้งตัวอักษร  ตัวเลข  หรืออักขระพิเศษ

-  แต่ละเซลล์จะป้อนข้อความได้ไม่เกิน 255 ตัวอักษร

-  การป้อนตัวเลข  เช่น  001  ถ้าจะให้เป็นแบบข้อความโดยนำมาคำนวณไม่ได้  ให้ใส่เครื่องหมาย นำหน้า เช่น ‘001

การป้อนข้อมูลชนิดตัวเลข  (Number)

   กฎเกณฑ์การป้อนข้อมูล

-  ข้อมูลตัวเลขสามารถใช้ได้ตั่งแต่  0 - 9  และสัญลักษณ์พิเศษ+   -  ( )  ,   /  $  %  e  E

-ถ้าข้อมูลที่มีค่าเป็นบวก  ไม่ต้องใส่เครื่องหมาย  +  นำหน้าตัวเลข

-  ถ้าข้อมูลที่มีค่าเป็นลบ  ต้องใส่เครื่องหมาย -  นำหน้าตัวเลข

การป้อนสูตรการคำนวณ   (Formula

ตำแหน่งเซลล์ในการป้อนสูตร

 การป้อนสูตรให้ตรงตำแหน่งเซลล์ที่ถูกต้องนั้น 

เราต้องการนับตำแหน่งเซลล์ก่อน  ในการนับตำแหน่งเซลล์นั้นจะเริ่ม

ตั้งแต่ A1  (ในที่นี้คือ  คอลัมน์ A แถวที่ 1)  ละจะเห็นได้ว่าในช่องชื่อเซลล์จะปรากฏตำแหน่งที่เราใช้งานอยู่ให้ดูด้วย

การป้อนสูตรการคำนวณสามารถป้อนสูตรที่เซลล์ที่จะให้เกิดผลลัพธ์โดยตรงหรือป้อนสูตรที่แถบสูตรก็ได้

หากต้องการเปิดใช้งานเครื่องคํานวณ (Calculator) ของโปรแกรม Smartbiz จะต้องใช้ปุ่มฟังก์ชั่นใด

กฎเกณฑ์การป้อนสูตร

1.       สูตรการคำนวณต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย  =  เสมอ

2.       เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการคำนวณมีดังนี้  บวก (+) , ลบ  (-) , คูณ  (*) ,  หาร (/) , ยกกำลัง (^)  และเปอร์เซ็นต์ (%)

3.       เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบมีดังนี้<(น้อยกว่า)  ,  <= (น้อยกว่าหรือเท่ากับ)  ,   > (มากกว่า)    ,  >= (มากกว่าหรือเท่ากับ)  ,  = (เท่ากับ)              ,  <>(ไม่เท่ากับ)

4.       เครื่องหมายที่ใช้กับข้อความมีดังนี้ & ใช้ในการรวมข้อความ เช่น ความ” & “สุขผลลัพธ์ที่ได้คือ ความสุข

5.       การคำนวณใน Microsoft Excel  จะทำตามลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย คือจะทำการคำนวณจากข้อมูลที่มีลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย ดังนี้ ยก                    กำลัง(^) ,  คูณ  (*), หาร (/)  , บวก (+) , ลบ  (-)

เครื่องมือบนแถบสูตรคำนวณ

 
     
เครื่องหมายยกเลิกการป้อนสูตร

เครื่องหมายสำหรับกดเพื่อใส่สูตรในเซลล์

เครื่องหมายสำหรับใส่ฟังก์ชั่นในการคำนวณ

  การพิมพ์สูตรคำนวณ

1.   คลิกเลือกเซลล์ที่เราต้องการป้อนสูตร

2.   กดปุ่ม = บนคีย์บอร์ด

3.      จากนั้นคลิกเซลล์ที่ต้องการนำมาคำนวณ แล้วกดปุ่มเครื่องหมายบวก (+) , ลบ  (-) , คูณ  (*) ,  หาร (/)หรือ ยกกำลัง(^)  บนคีย์บอร์ดที่ต้องการสร้างสูตร ในที่นี้ใช้การบวกทั้งหมด  ดังรูป

4.      เมื่อได้สูตรคำนวณแล้ว ให้กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด

5.      ผลลัพธ์ที่ได้

  เราสามารถป้อนสูตรในแถบสูตร หรืออาจป้อนสูตรในเซลล์ก็ได้เช่นกัน

   ตัวอย่าง

1.       กรอกข้อมูลลงในเซลล์ดังต่อไปนี้

2.       ช่องที่ต้องการแสดงผลการคำนวณให้กรอกสูตรการคำนวณลงไปดังนี้

-ช่อง C4 เป็นผลการรวมของรายรับ สูตรที่กรอกลงไปคือ =  C2 + C3

-ช่อง C8 เป็นผลรวมของรายจ่าย สูตรที่กรอกลงไปคือ  = C5 + C6 + C7

-ช่อง C9 เป็นยอดเงินคงเหลือ สูตรที่กรอกลงไปคือ= C4 – C8

จะได้ผลลัพธ์ตามตาราง

1.       ทดลองแก้ไขข้อมูลในช่องC1 , C2 , C5 ,C6 จะเห็นได้ว่า ผลลัพธ์เปลี่ยนตามไปด้วย เนื่องจากได้กำหนดสูตรโดยใช้การอ้างอิงจากตำแหน่งของข้อมูลว่าอยู่ที่เซลล์ใดบ้าง ฉะนั้น เมื่อข้อมูลในเซลล์นั้นเปลี่ยนไป ผลลัพธ์จึงเปลี่ยนตาม

การใช้เครื่องมือรวมอัตโนมัติ (Auto Sum)

     เป็นการหาผลรวมในช่วงเซลล์ที่ต้องการ การใช้เครื่องมือหาผลรวมอัตโนมัติจะสามารถทำได้ในช่วงเซลล์เดียวกัน

ตัวอย่าง

ให้กรอกข้อมูลในแต่ละเซลล์ ดังรูป

จากตารางข้างต้นต้องการหาผลรวมของเงินค่าจัดทำหนังสือแต่ละเล่ม โดยผลรวมหาได้จากค่าทำหนังสือรวมกับค่าพิมพ์ ผลลัพธ์การหาผลรวมจะอยู่ที่คอลัมน์ D โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.  คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องการใส่สูตร

2.  แล้วคลิกปุ่ม Σ

3.  เลือกคำสั่งที่ต้องการ ในที่นี้ใช้คำสั่งผลรวม (Sum) สำหรับหายอดรวม

4.  กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด จะได้ผลคำนวณ พร้อมสูตรคำนวณทันที

5.นำเมาส์ไปวางที่มุมล่างขวาของเซลล์ E3 ลากลงมาจนถึงเซลล์E5 เป็นการใช้ Auto Fill คัดลอกสูตรการคำนวณ โดยที่โปรแกรมจะทำการเปลี่ยนแปลงพิกัดของเซลล์ให้โดยอัตโนมัติ

เราสามารถเลือกเซลล์ที่ไม่ได้อยู่ติดกันดังตัวอย่างมาคำนวณได้ ดังนี้

1.คลิกเซลล์ที่ต้องการใส่สูตร เลือกสูตรหาผลรวม (Sum)

2.คลิกเซลล์แรกที่ต้องการ จากนั้นกดปุ่ม Ctrl บนคีย์บอร์ดค้างไว้ แล้วคลิกเลือกเซลล์อื่นที่ต้องการ ดังรูป

3.  เมื่อเลือกเซลล์ที่ต้องการครบแล้ว ให้กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด จะได้ผลลัพธ์

เมื่อคลิกที่ปุ่มลูกศร  ของปุ่ม   (ผลรวมอัตโนมัติ) จะมีฟังก์ชั่นอื่นๆให้เลือกดังนี้

·ผลรวม (Sum)  หาผลรวม

· ค่าเฉลี่ย (Average) หาค่าเฉลี่ย

·นับตัวเลข (Count Number)  นับจำนวนตัวเลขในช่วงเซลล์

· ค่ามากที่สุด (Max)  หาค่าสูงสุด

·ค่าน้อยที่สุด (Min)  หาค่าต่ำสุด

·ฟังก์ชันเพิ่มเติม  (More Function)  เลือกฟังก์ชันอื่นๆ

การคำนวณด้วยฟังก์ชันผลรวม (Sum)

     การใช้ฟังก์ชันในการคำนวณนั้นมีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้

     =ชื่อฟังก์ชัน (ส่วนประกอบ1 , ส่วนประกอบ2.....)

   ฟังก์ชันผลรวม (Sum) เป็นฟังก์ชันมาตรฐานที่มีอยู่ใน Microsoft Excel อันที่จริงแล้วใน Microsoft Excel จะมีฟังก์ชันให้เลือกใช้ฟังก์ชันด้วยกัน เพียงแต่ว่าฟังก์ชันผลรวม (Sum) นี้จะเป็นฟังก์ชันที่มีการใช้งานบ่อยที่สุด

     รูปแบบการใช้ฟังก์ชันผลรวม (Sum)

=Sum (เซลล์แรกที่ต้องการหาผลรวม : เซลล์สุดท้ายที่ต้องการหาผลรวม)

ตัวอย่าง  การใช้ฟังก์ชันผลรวม (Sum) ให้กรอกข้อมูลในแต่ละเซลล์ ดังรูป

จากตารางข้างต้น ต้องการหาผลรวมของค่าทำหนังสือทั้งหมด ซึ่งผลลัพธ์จะปรากฏที่เซลล์ C9 โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.       คลิกที่เซลล์ B9

2.       คลิกที่ปุ่มลูกศรของ       

    (ผลรวมอัตโนมัติ) แล้วเลือกฟังก์ชั่นผลรวม (Sum)  ดังรูป

3.กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

4.เมื่อผลลัพธ์ในเซลล์ B9 แล้วเซลล์ที่เหลือ คือ C9 และ D9 ให้ใช้  Auto Fill ในการคัดลอกสูตรคำนวณ

5.  จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

 การหาค่าสูงสุด (Max) ต่ำสุด (Min) และค่าเฉลี่ย (Average)

การหาค่าสูงสุดในช่วงข้อมูลที่ต้องการจะใช้ฟังก์ชั่นค่ามากสุด (Max)  ในการหาค่าต่ำสุดจะใช้ฟังก์ชันค่าที่น้อยที่สุด (Min) ส่วนค่าเฉลี่ยจะหาได้จากฟังก์ชั่นค่าเฉลี่ย (Average)

     ตัวอย่าง

     สร้างตารางเพื่อหาค่าสูงสุด ต่ำสุด และค่าเฉลี่ยของนักศึกษา วิชาคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ

1.  ให้กรอกข้อมูลในแต่ละเซลล์ ดังรูป

2.หาค่าสูงสุดของยอดขายในช่อง D9 โดยคลิกที่เซลล์ D9 แล้วคลิกที่ลูกศรของปุ่ม   

                             
เลือกฟังก์ชันค่าน้อยที่สุด (Min) จากนั้นกดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด

3.หาค่าสูงสุดของยอดขายในช่อง D10 แล้วคลิกที่ลูกศรของปุ่ม   

 เลือกฟังก์ชันค่าน้อยที่สุด (Min) จากนั้นกดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด

4. หาค่าเฉลี่ยของยอดขายในช่อง D11 แล้วคลิกที่ลูกศรของปุ่ม 

 เลือกฟังก์ชันค่าเฉลี่ย (Average) จากนั้นกดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด

5.  เมื่อหาค่าสูงสุด ต่ำสุด และค่าเฉลี่ยแล้ว จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

การเรียกใช้ฟังก์ชันจากแถบเครื่องมือที่ใช้ล่าสุด (Recently Used)

   วิธีการเรียกใช้ฟังก์ชันจากแถบเครื่องมือเป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็ว เนื่องจากผู้ใช้งานไม่ต้องจดจำรูปแบบการใช้ฟังก์ชัน โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องการ

2. เลือกประเภทของฟังก์ชัน โดยคลิกที่แท็บเมนูสูตร (Formulars) จากตัวอย่างคลิกที่ปุ่มลูกศรของไอคอน

3.  เลือกฟังก์ชันที่ใช้  ดังรูป

4. เลือกช่วงเซลล์ที่ใช้คำนวณ แล้วกดปุ่มตกลง (OK)

5. จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

ฟังก์ชัน IF

 ฟังก์ชั่น IF จัดอยู่ในกลุ่มของฟังก์ชันทางตรรกศาสตร์ เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าของข้อมูล โดยกำหนดเงื่อนไข ซึ่งจะใช้กับข้อมูลที่มีทางเลือกในการตัดสินใจหลายทาง

   รูปแบบฟังก์ชัน IF

IF (logical_test , [value_if_true] , [value_if _false])

logical_test  คือ เงื่อนไขที่จะใช้ทดสอบ

value_if_true  คือ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงให้ทำ  อาจจะเป็นตัวเลข สูตร หรือข้อความ

value_if _false  คือถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จให้ทำ  อาจจะเป็นตัวเลข สูตร หรือข้อความ

ตัวอย่าง  คำนวณยอดสั่งซื้อของลูกค้า  โดยการกำหนดเงื่อนไขมีดังนี้

-   ถ้ามียอดสั่งซื้อมากกว่า 10,000 บาท ได้รับส่วนลด 10 %

-    ถ้ามียอดสั่งซื้อน้อยกว่า 10,000 บาท ไม่มีส่วนลด

สร้างตารางข้อมูลดังนี้

ขั้นตอนการคำนวณเกรด โดยการกำหนดเงื่อนไข มีดังนี้

1.คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องการ ในที่นี้คือ เซลล์ C2

2.คลิกปุ่มตรรกะ (Logical) และเลือกฟังก์ชัน IF

3.กำหนดค่าให้ครบทุกช่องดังรูป

4.  คลิกปุ่มตกลง (OK)

5. จะได้ผลการคำนวณพร้อมสูตรการคำนวณ

6.   ใช้ Auto Fill คัดลอกสูตรที่พิมพ์ที่ช่อง C2 แล้วลากลงมาจนถึงเซลล์ C8 จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

การใช้ฟังก์ชัน NPER คำนวณหาจำนวนที่ต้องผ่อนชำระเงินกู้

   ฟังก์ชัน NPER เป็นฟังก์ชันจัดอยู่ในกลุ่มของฟังก์ชันทางการเงิน ใช้สำหรับคำนวณหาจำนวนงวดในการผ่อนชำระเงินกู้ ซึ้งยอดชำระเงินนั้นต้องเท่ากันทุกงวดโดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่

   รูปแบบฟังก์ชัน Nper

= Nper (Rate , Pmt , Pv , Fv , Type)

-  Rate  อัตราดอกเบี้ยต่องวด

-  Pmt  จำนวนเงินที่ต้องชำระในแต่ละงวด

-Pv  เงินต้น

-Fv  มูลค่าของเงินในอนาคตหรือยอดเงินสดที่ผู้กู้ได้มาหลังจากชำระเงินงวดสุดท้าย ถ้าไม่ใส่จะมีค่าเป็น 0

-Type  ตัวเลข 0 หรือ 1 และมีการระบุเมื่อการชำระเงินครบกำหนด ถ้าไม่ใส่จะมีค่าเป็น 0

ตัวอย่าง ต้องการสะสมเงินให้ได้ 500,000 บาท ซึ่งในตอนนี้มีอยู่ 100,000 บาท จึงนำเงินไปฝากธนาคาร โดยได้รับดอกเบี้ยร้อยละ10 และฝากเพิ่มเดือนละ 2,000 บาท อยากทราบว่ากี่งวดถึงจะมีเงินครบ 500,000 บาท

   ขั้นตอนการคำนวณ

1.สร้างตารางตามข้อมูล

2.คลิกเลือกเซลล์ ในที่นี้คือ B7

3.พิมพ์สูตร NPER ดังนี้ =NPER(B2/12,B3,B4,B5,B6) ลงในเซลล์ B7 หรือพิมพ์ในช่องสูตรก็ได้ ดังรูป

4. กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ด จะได้ผลลัพธ์ดังรูป

Username สําหรับเปิดใช้งานโปรแกรม Smartbiz Accounting คร้ังแรกคืออะไร

1. เข้าท างานในโปรแกรม Smartbiz Accounting โดยดับเบิ้ลคลิกที่ icon smartbiz Accounting ที่อยู่บนหน้าจอ desktop ก็จะเข้ามาที่หน้าจอ login ดังภาพ , ให้ใส่user name เป็น bigboss และ password เป็น bigboss เช่นกัน ซึ่งเป็น user ที่มีสิทธิ์ในการใช้งานสูงสุด

โปรแกรม Smartbiz Accounting ประกอบด้วยอะไรบ้าง

Smartbiz Accounting ประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆ ดังนี้.
ระบบซื้อ และวิเคราะห์ซื้อ ( Purchase Order system ) : PO..
ระบบเจ้าหนี้ และวิเคราะห์หนี้ ( Account Payable system ) : AP..
ระบบขายและวิเคราะห์ขาย ( Sale Order system ) : SO..
ระบบลูกหนี้ และวิเคราะห์หนี้ ( Account Receivable system ) : AR..

ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม Smartbiz มีกี่ขั้นตอน

3.1.1 การเข้า Smartbiz Flow Overview การใช้งาน Smartbiz Accounting มี 4 ขันตอนใหญ่ๆ ดังภาพ คือ 1. การจัดเตรียมโครงสร้างองค์กร ( Organiztion Structure setup) 2. การจัดเตรียมฐานข้อมูล ( Setup Master Files ) 3. การบันทึกยอดยกมาเริมต้นใช้งานครังแรก ( Set Balance Data ) 4. การบันทึกรายการค้า ( Entry Transaction )

ข้อใดแสดงลำดับขั้นตอน การทำงานของโปรแกรม Smartbiz Accounting ได้ถูกต้อง

ข้อใดแสดงลำดับขั้นตอน การทำงานของโปรแกรม Smartbiz Accounting ได้ถูกต้อง บันทึกยอดยกมา > บันทึกรายการค้า > กำหนดโครงสร้างองค์กร > บันทึกฐานข้อมูล บันทึกรายการค้า > กำหนดโครงสร้างองค์กร > บันทึกฐานข้อมูล > บันทึกยอดยกมา