โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

เมื่อหลายอุตสาหกรรมต้องพึ่งพาความสามารถในการสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น การรอคอยคำสั่งและการตัดสินใจจากผู้มีอำนาจเพียงคนเดียวด้วยโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical Organization) อาจไม่ตอบโจทย์การทำงานในปัจจุบัน ระบบการทำงานยุคใหม่จึงเป็นสิ่งที่หลายองค์กรนำมาปรับใช้กับธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับคนทำงานและสร้างประสิทธิภาพให้ได้มากที่สุด

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

Flat Organization (โครงสร้างองค์กรแบบราบ)
เป็นระบบการทำงานที่เริ่มได้รับความนิยมและสอดคล้องกับบริษัทยุคใหม่ มีเอกลักษณ์ตรงการลดช่องว่างระหว่างพนักงานและผู้บริหาร มีผู้จัดการแผนกที่เป็นตัวกลางเพียงไม่กี่คนหรือไม่มีเลย เพื่อลดการควบคุมแบบลำดับขั้นให้น้อยที่สุด อีกทั้งยังมอบการตัดสินใจให้แก่พนักงานสำหรับตัวงานที่พวกเขากำลังทำอยู่ โครงสร้างแบบราบนี้เหมาะสำหรับบริษัทขนาดกลางถึงเล็ก บริษัทด้านเทคโนโลยี หรือสตาร์ตอัพ 

ข้อดีของ Flat Organization มีตั้งแต่ช่วยให้กระบวนการตัดสินใจรวดเร็วยิ่งขึ้น การแก้ปัญหาสามารถทำได้ด้วยคนเพียงไม่กี่คน ผู้บริหารและพนักงานสื่อสารกันได้โดยตรง อีกทั้งยังลดความผิดพลาดในการสื่อสารได้ ช่วยลดงบประมาณการจ้างงานในตำแหน่งที่ไม่จำเป็น นอกจากนี้การมอบอิสระให้กับพนักงาน ยังช่วยให้พนักงานตั้งใจกับเนื้องานที่ทำมากกว่าการสร้างผลงานเพื่อให้ผู้บริหารพอใจ จึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้การทำงานและสร้างความรับผิดชอบของพนักงานได้มากขึ้น

ในด้านข้อเสีย เมื่อผู้บริหารมีหน้าที่ให้คำปรึกษาและทำงานร่วมกับพนักงานทุกคนในบริษัท จึงมีโอกาสที่ผู้บริหารจะไม่สามารถจัดการพนักงานได้อย่างทั่วถึง ซึ่งจะนำไปสู่การขาดความเชื่อมั่นระหว่างผู้บริหารและพนักงาน และนำมาสู่การตัดสินใจที่ผิดพลาดได้ อีกทั้งอาจทำให้เกิดการไม่พูดคุยกันระหว่างคนทำงาน ซึ่งจะนำไปสู่ความซ้ำซ้อนของไอเดีย ขณะที่ปัญหาซึ่งเคยถูกเสนอหรือหาวิธีแก้ไขไปแล้ว ก็จะกลายเป็นการเสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

Flatarchies (โครงสร้างองค์กรกึ่งลำดับขั้นกึ่งแบบราบ)
รูปแบบองค์กรที่ผสมกันระหว่างลำดับขั้นและแบบแบนราบนี้ จะเปิดให้องค์กรสามารถบริหารงานได้ในแบบราบ ในขณะเดียวกันก็สามารถสร้างทีมทำงานเฉพาะกิจเพื่อทำงานในโปรเจ็กต์หนึ่งได้โดยมีลำดับขั้นของความรับผิดชอบ เมื่อโปรเจ็กต์เสร็จสิ้นทีมงานก็จะสลายทีมไปทำงานของตน โครงสร้างแบบนี้จะทำให้พนักงานยังคงอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ไร้กรอบจนเกินไป และยังคงมีอิสระในการออกความเห็นและทำงานในส่วนของตนเองได้ โครงสร้างองค์กรแบบลูกผสมนี้สามารถนำมาปรับใช้ได้ทั้งกับบริษัทที่มีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดยลักษณะโครงสร้างแบบนี้จะเอื้อให้บรรยายกาศการทำงานมีความคล่องตัวมากขึ้น  

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

Holacratic (โครงสร้างองค์กรแบบข้ามสายงาน)
เป็นโครงสร้างการทำงานที่ให้อิสระกับคนทำงานอย่างเต็มที่ โดยให้ความสำคัญกับ “บทบาท” ที่คนหนึ่งคนสามารถมีหลายบทบาทในเวลาเดียวกัน โดยบทบาทในที่นี้จะประกอบด้วยเป้าหมายและขอบเขตของการควบคุม หรืออธิบายได้ว่า ในการทำงานขององค์กรจะประกอบด้วยทีมหรือแผนกซึ่งจะแทนที่ว่า “วงกลม” ในแต่ละวงจะที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน มีเป้าหมายที่สอดคล้องกับเป้าหมายหลักของบริษัท โดยพนักงานหนึ่งคนสามารถมีบทบาทได้ในหลายวง 

อย่างไรก็ดี ระบบแบบนี้มีข้อเสียอยู่หลายแห่ง เช่น เมื่อวงกลมแต่ละวงต่างทำหน้าที่เป็นของตนเอง อาจไม่ตระหนักถึงองค์กรในภาพรวมได้ อีกทั้งพนักงานที่มี “บทบาท” อยู่หลายวง จะต้องแบกรับความรับผิดชอบที่มากเกินไป รวมทั้งการเปลี่ยนองค์กรที่มีโครงสร้างแบบเดิมไปสู่โครงสร้าง Holacratic ก็เป็นเรื่องยาก ต้องใช้เวลาและทรัพยากรเป็นจำนวนมาก

ทุกโครงสร้างองค์กรไม่จะเป็นแบบเก่าหรือใหม่ ต่างก็มีข้อดีและข้อเสียที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับเจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบการ และการตกลงร่วมกัน ที่จะนำรูปแบบใดมาปรับใช้ให้เข้ากับวิถีธุรกิจของตนเองได้มากที่สุด

ที่มาถาพ : Dylan Gillis/Unsplash

ที่มา :
Holacracy จาก investopedia.com
บทความ “The 5 Types Of Organizational Structures: Part 4, Flatarchies” โดย Jacob Morgan จาก forbes.com
หนังสือ The Future of Work : Attract New Talent, Build Better Leaders, and Create a Competitive Organization (2014) โดย Jacob Morgan

เรื่อง : นพกร คนไว

RELATED ARTICLES


โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

ให้บทเพลงแห่งเมืองได้พาคุณออกเที่ยวต่อไปใน Sound of the City เพราะการเดินทางไม่เคยมีวันสิ้นสุด

Sound of the City คืออีกหนึ่งโครงการภายใต้ ‘CEA VACCINE ร่วมสร้างสรรค์ ...ภูมิคุ้มกันเศรษฐกิจไทย’ เชิญชวนให้ศิลปินส่งผลงานเพลงที่ได้แรงบันดาลใจจากเมือง หรือย่านต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย โดยไม่จำกัดรูปแบบและแนวเพลง

6 Min. Read

382

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

Chva ชวา คุณค่าใหม่ของผักตบชวา

จะดีกว่าไหมถ้ามีทางเลือกให้การบรรจุหีบห่อเพื่อจัดส่งสินค้าอย่างปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

6 Min. Read

5k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

KURA SUSHI ซูชิสายพานที่ขึ้นชื่อว่าดีที่สุดและใช้ data driven แบบเต็มตัว

หากมองดี ๆ ซูชิสายพานถือเป็นนวัตกรรมเปลี่ยนวงการซูชิ หรือเรียกว่าเป็นการ disrupt วงการซูชิเลยทีเดียว และนับว่าเป็นการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ช่วยในการเสิร์ฟได้อย่างแท้จริง

5 Min. Read

3k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

HOW TO CREATE A MORE SUSTAINABLE BUSINESS STRATEGY

บริษัทต้องทำอย่างไรบ้างเพื่อเปลี่ยน (Transform) องค์กรให้กลายเป็นธุรกิจที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง

5 Min. Read

4k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

‘In-game Ad’ ช่องทางตลาดใหม่เจาะกลุ่ม Gamer

การโฆษณายังคงเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจและจำเป็นอย่างมากในการสื่อสารแบรนด์เพื่อส่งมอบสินค้าและบริการได้อย่างถูกที่ถูกเวลา

5 Min. Read

4k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

ดวงอาทิตย์ แสงสว่างของเมือง

โลกกำลังเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน พลังงานจากแสงอาทิตย์เปรียบเสมือนแสงสว่างที่จะช่วยบรรเทาปัญหาของโลกใบนี้ นักออกแบบเมืองและผู้คิดค้นนวัตกรรม ถือเป็นหนึ่งตัวแทนของเหล่าอเวนเจอร์ที่มีบทบาทพิทักษ์

5 Min. Read

2k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

MOST POPULAR


โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

ถอดบทเรียน หนทางสู่แต้มต่อในวันนี้ของ Wongnai (TH/EN)

บุกออฟฟิศ Wongnai เข้าไปนั่งคุยกับ ‘คุณยอด ชินสุภัคกุล’ ผู้ก่อตั้งและผู้บริหารไฟแรง กับวิสัยทัศน์ในการสร้างความเติบโตให้กับกิจการ ตั้งแต่ยังไม่เป็นรูปเป็นร่างจนกระทั่งเติบโต แข็งแกร่ง และเป็นต่อในหลากหลายธุรกิจ ที่ไม่ใช่แค่วงการอาหาร

14 Min. Read

49k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

‘ดนตรีบำบัด’ เพราะดนตรีเป็นเสียงของเราทุกคน

ร่วมพูดคุยเกี่ยวกับศาสตร์แห่งเสียงดนตรีอย่าง ‘ดนตรีบำบัด’ ไปกับอาจารย์จากสาขาวิชาดนตรีบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ที่จะพาไปทำความรู้จักกับอีกประโยชน์ของเสียงเพลงซึ่งนอกจากจะสร้างความสุนทรีย์แล้ว ยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้กับคนทุกเพศทุกวัยได้

13 Min. Read

44k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

Point of View วรรณคดีจานด่วนในยุคที่อะไรๆ ก็ 4.0

ชวนทุกคนมาฟังวรรณคดีไทย และประวัติศาสตร์เรื่องน่ารู้รอบโลกฉบับย่อ ที่ทั้งสั้น กระชับ และเข้าใจได้ด้วยการฟังเพียงไม่กี่นาทีกับ Point of View ยูทูบเบอร์หน้าใสที่หลงรักการเล่าเรื่องมีสาระให้สนุกและน่าสนใจในมุมมองของเธอเอง

11 Min. Read

36k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

‘โลก’ ซึมเศร้า

เพราะมนุษย์และสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน ‘โลก’ มีอิทธิพลต่ออารมณ์และความรู้สึกของคนเราอย่างแยกกันไม่ขาด เมื่อโลกมีบริบทที่เปลี่ยนไป ทำให้คนมีโรคทางใจมากขึ้น โดยเฉพาะโรคทางใจอย่าง ‘โรคซึมเศร้า’ ที่แท้จริงแล้วเป็นโรคใหม่ที่เกิดในยุคไฮเทคหรือเป็นโรคเก่าในโลกใบใหม่กันแน่

12 Min. Read

35k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

ทำไมต้อง Circular Economy ทางรอดของมนุษย์ในยุค Anthropocene

มนุษย์เป็นต้นกำเนิดของการเปลี่ยนแปลงทั้งหลาย ในยุคที่ “มนุษย์ครองโลก” เราจึงเป็นสิ่งมีชีวิตเดียวที่จะกู้สถานการณ์วิกฤติโลก ด้วยการจัดการทุกอย่างให้อยู่ในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนหรือที่เรียกว่า Circular Economy

17 Min. Read

35k

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

โครงสร้างองค์กรแบบแนวดิ่ง ข้อดีข้อเสีย

มองโลกการทำงานในอนาคตแบบ 5 10 และ 15 ปีจากนี้ กับดร. การดี เลียวไพโรจน์

จะในปีหน้า หรืออีก 5 10 หรือ 15 ปีข้างหน้า การทำงานของเราจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงไปบ้าง ร่วมไขคำตอบไปกับ ดร. การดี เลียวไพโรจน์ กับหลากหลายแง่มุมในประเด็นของ “อนาคตของการทำงาน” ที่ต้องฟังและลงมือทำ “วันนี้”