จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด

ตอนที่ 3 ขั้นตอนการทำงานด้วยเครื่องกลึง

3.1 การกลึงปาดหน้า

   1. จับมีดกลึงปาดหน้าให้ได้ศูนย์กลางงานโดยการตรวจสอบกับศูนย์ท้าย
   2. จับชิ้นงานให้แน่นบนเครื่องกลึง กรณีจับด้วยสามจับฟันพร้อมจับได้เลย ถ้าจับด้วยหัวจับสี่จับฟันอิสระ ต้องตรวจสอบงานให้ได้ศูนย์ แต่ถ้ากรณีกลึงระหว่างศูนย์หัวกับศูนย์ท้ายต้องตรวจสอบศูนย์ทั้งสองให้ได้ศูนย์ก่อน
   3. ตั้งความเร็วรอบให้เหมาะสม
   4. กลึงปาดหน้า อาจป้อนกลึงด้วยมือหรือป้อนกลึงอัตโนมัติ จนผิวหน้าเรียบ พร้อมลบคมชิ้นงาน
   5. ถอดชิ้นงานออกมาร่างแบบความยาวงานด้วยเวอร์เนียร์ไฮเกจบนโต๊ะระดับตามแบบงาน
   6. นำชิ้นงานจับบนเครื่องกลึงอีกครั้ง แล้วกลึงปาดหน้าให้ได้ความยาวตามที่ร่างแบบไว้และควรตรวจสอบความยาวอีกครั้งด้วยเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เพราะการร่างแบบอาจผิดพลาดได้ หรือมีความละเอียดไม่พอ

จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


3.2  การกลึงปอก

    1. นำชิ้นงานที่กลึงปาดหน้าแล้วนำมายึดบนเครื่องกลึง
    2. ตั้งความเร็วรอบให้ถูกต้อง
    3. ทำการกลึงชิ้นงาน อาจกลึงปอกด้วยมือหรืออัตโนมัติ การกลึงด้วยอัตโนมัติจะมีผิวเรียบดีกว่าเพราะอัตราการป้อนงานสม่ำเสมอดีกว่า ในการกลึงปอกจะมีการป้อนลึก จะป้อนลึกมากน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น วัสดุงาน วัสดุมีดกลึง การกลึงหยาบ กลึงละเอียด การกลึงหยาบจะกินได้มากกว่าการกลึงละเอียดเพราะถ้าป้อนกินลึกมากผิวงานจะไม่เรียบ กลึงปอกเสร็จทุกครั้งจะต้องกลึงลบคม

จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


3.3 การกลึงเกลียว 

    การกลึงเกลียวเป็นการกลึงขึ้นรูปชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญมาก แต่มีลักษณะการกลึงขึ้นรูปที่แตกต่างจากการกลึงขึ้นรูปทั่วไป คือขณะกลึงเกลียวมีดกลึงจะเคลื่อนที่ด้วยและมีความสัมพันธ์กับการหมุนของงาน เกลียวถ้าแบ่งตามรูปร่างมีหลายชนิด เช่น เกลียวสามเหลี่ยม เกลียวสี่เหลี่ยม เกลียวสี่เหลี่ยมคางหมูเกลียวกลม ฯลฯ ถ้าแบ่งตามหน่วยการวัดจะมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบเมตริก และระบบนิ้ว คือระบบอังกฤษหรือเกลียวอเมริกัน
   เกลียวไม่ว่าจะเป็นเกลียวระบบใดการกลึงเกลียวก็ใช้วิธีเดียวกัน ต่างกันตรงรูปร่างหน้าตัดของเกลียว ความลึกที่จะกลึง ระยะพิตช์ของเกลียวหรือจำนวนเกลียวต่อนิ้ว จำนวนปากเกลียว แต่กระบวนการต่างๆ ใช้หลักการเดียวกัน มีวิธีการกลึงดังนี้
       1. จับยึดชิ้นงานที่กลึงปาดหน้า, กลึงปอกจนได้ขนาดความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโตสุดของงาน เช่น เกลียว M 10 x 1.5 ก็กลึงขนาดความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโตนอก 10 มม.
       2. ตั้งความเร็วรอบของชิ้นงานโดยปกติจะตั้งความเร็วรอบช้าๆ ประมาณ ของงานกลึงปอก
       3. จับยึดมีดกลึงเกลียวที่ต้องการกลึง โดยตั้งมีดให้อยู่ศูนย์กลางงาน
       4. ตั้งมีดกลึงเกลียวด้วยเกจวัดเกลียวชนิดนั้น
       5. กลึงงานให้เป็นรอยเพียงเล็กน้อยแล้วตรวจสอบระยะพิตช์ของเกลียว หรือจำนวนเกลียวต่อนิ้วในระบบอังกฤษ ว่าเกลียวถูกต้องหรือไม่
       6. ป้อนมีดกินลึกบนชิ้นงานจนได้ความลึกเกลียวที่ต้องการ โดยมีการทดสอบด้วยวิธีต่างๆ

จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด


จง บอก วิธี การจับยึด ชิ้นงาน บน เครื่องกลึงและ ลักษณะ ของชิ้นงานที่ จับยึด