การ สื่อสาร บน แบบจำลอง OSI คำ ว่า เฮ ด เด อ ร์ Header คือ อะไร

30204-2007 เครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรบั ธรุ กิจ

บทท่ี 3
แบบจำลองเครือข่ำย OSI Model

เนอื้ หาสาระ

1. แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model
2. แนวคิดของ OSI Model
3. ชนั้ การสอ่ื สารในแบบจาลอง OSI Model
4. การสง่ ขอ้ มลู ระหวา่ งเลเยอร์
5. การแทนรหัสในคอมพวิ เตอร์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายลกั ษณะแบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model ได้
2. บอกแนวคดิ ของ OSI Model ได้
3. อธิบายลักษณะการทางานของช้ันการส่ือสารท้ัง 7 เลเยอร์ได้
4. อธิบายรปู แบบการสง่ ข้อมูลระหว่างเลเยอรไ์ ด้
5. แทนรหัสขอ้ มูลในคอมพิวเตอรไ์ ด้

กิจกรรมระหว่างเรียน

1. ทาบททดสอบกอ่ นเรียน จานวน 10 ขอ้ ลงในกระดาษคาตอบ
2. ศึกษา เนือ้ หา สาระ รายละเอียด ในเอกสารประกอบการเรยี น

เร่ือง แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model
3. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรยี น
4. ตรวจสอบคาตอบแบบฝกึ หัดทา้ ยบท
5. ทาบททดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ขอ้ ลงในกระดาษคาตอบ
6. ตรวจสอบคาตอบบททดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น
7. สรุปผลคะแนนที่ได้รบั ในกระดาษคาตอบเพอื่ ทราบผลการพฒั นา

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หน้า 36
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และความปลอดภัยสาหรบั ธุรกจิ

บททดสอบกอ่ นเรียน
วชิ า การสื่อสารข้อมลู และเครอื ขา่ ย
เรอ่ื ง แบบจาลองเครือข่าย OSI Model
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สดุ ลงในกระดาษคาตอบ

1. แบบจาลองเครือข่าย OSI Model คอื อะไร
ก. มาตรฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
ข. มาตรฐานการส่ือสารทางเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
ค. มาตรฐานการควบคมุ คณุ ภาพในหน่วยงาน
ง. มาตรฐานของอุปกรณค์ อมพิวเตอร์
จ. มาตรฐานอตุ สาหกรรม

2. แนวความคดิ การสื่อสารของแบบจาลองเครือข่าย OSI Model ขอ้ ใดที่ทาให้ขอ้ มูลมคี วามปลอดภยั
ก. ลดความซ้าซ้อน
ข. จาแนกหนา้ ที่ชัดเจน
ค. ทาตามหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
ง. สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล
จ. ปอ้ งการการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบนเครือข่ายการสอ่ื สาร

3. แนวความคิดการส่อื สารของแบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model ข้อใดทท่ี าใหอ้ ุปกรณ์เครอื ขา่ ยของ
ผู้ผลิตแต่ละรายใช้รว่ มกันได้

ก. ลดความซา้ ซ้อน
ข. จาแนกหน้าท่ีชดั เจน
ค. ทาตามหนา้ ที่ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ง. สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล
จ. ป้องการการเปลย่ี นแปลงขอ้ มูลบนเครอื ข่ายการส่ือสาร
4. ชน้ั การสือ่ สารใน OSI Model ใดท่ีทางานในระดับบิต
ก. ฟสิ คิ ัลเลเยอร์
ข. ดาต้าลิงค์เลเยอร์
ค. เน็ตเวริ ์คเลเยอร์
ง. พรเี ซนเตชนั เลเยอร์
จ. เซสช่ันเลเยอร์
5. เลเยอรใ์ ดท่ีทาการแปลงข้อมูลท่ีอยตู่ ่างระบบกันใหม้ ีความเขา้ ใจตรงกัน
ก. ฟสิ คิ ลั เลเยอร์
ข. ดาต้าลงิ ค์เลเยอร์
ค. เนต็ เวริ ค์ เลเยอร์
ง. พรีเซนเตชนั เลเยอร์
จ. เซสชน่ั เลเยอร์

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model หนา้ 37
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และความปลอดภัยสาหรบั ธรุ กจิ

6. หนา้ ทีข่ องชน้ั การสอ่ื สารแอพพลิเคชนั เลเยอรค์ ืออะไร
ก. รบั สง่ ข้อมลู ในระดบั บิต
ข. ส่งข้อมูลในรูปของเฟรม
ค. ทาหน้าทสี่ ง่ ขอ้ มูลข้ามเครือขา่ ยต่างชนดิ กัน
ง. ทาหน้าท่แี ปลงขอ้ มูลที่ต่างระบบกนั ให้ถูกตอ้ งตรงกัน
จ. ติดตอ่ กับผใู้ ชใ้ นลักษณะการทางานของโปรแกรมประยุกต์

7. หนา้ ที่ของชนั้ การสื่อสารดาต้าลงิ ค์เลเยอรค์ อื อะไร
ก. รบั สง่ ข้อมลู ในระดบั บิต
ข. สง่ ข้อมลู ในรูปของเฟรม
ค. ทาหน้าที่สง่ ขอ้ มลู ข้ามเครือขา่ ยตา่ งชนดิ กนั
ง. ทาหน้าท่ีแปลงขอ้ มูลที่ตา่ งระบบกนั ใหถ้ ูกต้องตรงกนั
จ. ติดตอ่ กับผูใ้ ช้ในลักษณะการทางานของโปรแกรมประยุกต์

8. หน้าทท่ี ี่สาคญั ของพรเี ซนเตช่ันเลเยอรค์ ืออไร
ก. รบั สง่ ขอ้ มูลในระดับบิต
ข. ส่งขอ้ มูลในรูปของเฟรม
ค. ทาหนา้ ทีส่ ง่ ขอ้ มูลข้ามเครอื ขา่ ยต่างชนดิ กนั
ง. ทาหนา้ ที่แปลงข้อมลู ท่ีต่างระบบกนั ให้ถกู ตอ้ งตรงกัน
จ. ติดต่อกับผใู้ ชใ้ นลกั ษณะการทางานของโปรแกรมประยุกต์

9. ในการสง่ ขอ้ มูลระหว่างเลเยอรจ์ ากผูส้ ง่ ไปยังผู้รับมีลกั ษณะการทางานอยา่ งไร
ก. สง่ ขอ้ มลู จากผ้สู ง่ จากล่างขน้ึ บนผ่านแต่ละเลเยอร์
ข. ส่งข้อมลู จากผู้สง่ ในแนวระนาบ
ค. สง่ ข้อมลู จากผู้สง่ ข้อมูลจากบนลงลา่ งจากน้ันบรรจุขอ้ มูลของแตล่ ะชัน้ ลงไป
ง. สง่ ข้อมูลจากบนลงล่างในลกั ษณะเดมิ ไมม่ ีการบรรจุขอ้ มูลใดๆลงไป
จ. สง่ ขอ้ มูลขา้ มเลเยอร์

10. ระบบยูนิโคดสามารถแทนค่าข้อมูลไดก้ ร่ี ปู แบบ
ก. 2
ข. 8
ค. 256
ง. 34,168
จ. 54,168

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model หนา้ 38
ครูสมปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภยั สาหรับธุรกิจ

แบบจาลอง OSI เป็นมาตรฐานการสอื่ สารที่มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ทาให้
อปุ กรณ์และซอฟต์แวรซ์ ่งึ มผี ูผ้ ลติ ท่หี ลากหลายสามารถทางานร่วมกนั ไดอ้ ย่าง
มีประสิทธภิ าพ ซึ่งไดจ้ าลองลกั ษณะการทางานออกเปน็ 7 เลเยอรแ์ ละมี
หน้าทกี่ ารทางานทแี่ ตกต่างกนั เพ่อื ให้การสอ่ื สารขอ้ มูลได้ตอ้ งตรงกันระหวา่ ง
ผู้รบั และผู้ส่ง

1. แบบจำลองเครอื ขำ่ ย OSI Model

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model (Open System Interconnection) คอื มาตรฐานของ
การสือ่ สารทางเครือข่าย มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือให้ผู้ผลติ อุปกรณ์เครือข่ายหรอื ซอฟต์แวร์ใดๆ ซงึ่ มี
หลากหลายผู้ผลติ ใช้เปน็ โครงสรา้ งอ้างอิงในการสร้างอุปกรณใ์ หส้ ามารถทางานร่วมกนั อยา่ งดีบน
ระบบเครอื ข่าย

องค์กรท่ีกาหนดมาตรฐานนค้ี อื องค์กรมาตรฐานสากล ISO (International Standard
Organization) โดยผู้ผลิตฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วรบ์ นระบบเครือขา่ ยต้องปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาตาม
มาตรฐานการออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์

โดยมกี ารจดั แบ่งเลเยอร์ของ OSI ออกเปน็ 7 ชน้ั หรือเลเยอร์ (Layer) แตล่ ะเลเยอร์จะมีการ
โต้ตอบหรือรับส่งขอ้ มลู กับชัน้ ท่ีอยู่ข้างเคยี งเทา่ น้ัน โดยชนั้ ทอ่ี ยู่ล่างจะกาหนดลกั ษณะของอนิ เตอร์
เฟซ (Interface) เพอ่ื ให้บรกิ ารกับเลเยอร์ที่อยเู่ หนือข้นึ ไปตามลาดับขั้น เริม่ ตัง้ แต่ส่วนล่างสดุ ซ่งึ เป็น
การจดั การลกั ษณะทางกายภาพของฮารด์ แวร์และการส่งกระแสของขอ้ มูลในระดบั บิต ไปสิน้ สุดท่ี
แอพพลิเคช่นั เลเยอร์ในส่วนบนสุด

ภาพ 3-1 OSI Reference Model

การอนิ เตอรเ์ ฟซ (Interface) คอื การประสานการเชอ่ื มตอ่ การติดตอ่ ซงึ่ กนั และกันเพอ่ื ให้
สามารถทางานร่วมกนั ได้

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หนา้ 39
ครูสมปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์และความปลอดภยั สาหรบั ธุรกจิ

2. แนวคดิ หลกั ของแบบจำลองเครอื ขำ่ ย OSI Model

แบบจาลอง OSI มีการแบง่ การส่ือสารออกเป็นลาดับชั้น เรียกวา่ ชน้ั การสื่อสารหรือเลเยอร์
(Layer) แต่ละเลเยอร์มหี น้าทรี่ ับผิดชอบทแี่ ตกต่างกัน โดยเรยี งกันตามลาดับชั้น แบบจาลอง OSI
ประกอบด้วยชน้ั การสื่อสาร 7 เลเยอร์ โดยแนวคิดของการแบง่ ของแต่ละเลเยอร์มเี หตุผลสาคัญ ดังน้ี

2.1. การแบ่งออกเปน็ เลเยอร์ก็เพือ่ ลดความซา้ ซอ้ น ทาใหง้ า่ ยตอ่ การทาความเข้าใจ
2.2 เพอ่ื ใหแ้ ต่ละเลเยอร์ จาแนกหน้าทที่ ่ีชัดเจนและแตกตา่ งกนั
2.3 เพ่ือให้แต่ละเลเยอร์ทาหน้าท่ีตามทีไ่ ด้รับมอบหมายเท่าน้นั
2.4 เพื่อใหแ้ ต่ละเลเยอร์สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล
2.5 เพื่อป้องกันกรณีที่มีการเปล่ียนแปลงข้อมูลบนเลเยอร์หน่ึง ๆ มีผลกระทบตอ่ เลเยอร์ใน
ลาดับอื่น ๆ
2.6 จานวนเลเยอร์ต้องมีจานวนเหมาะสมเพียงพอตอ่ การจาแนกหนา้ ท่ี ไม่มากหรือน้อย
เกินไป

3. ชน้ั กำรสอ่ื สำรในแบบจำลอง OSI (Layer in The OSI Model)

แบบจาลอง OSI มีกรอบการทางานดว้ ยการแบง่ เปน็ ชน้ั ส่ือสารทีเ่ รียกวา่ เลเยอร์ (layer) แต่
ละเลเยอร์จะมชี อื่ เรยี กทแ่ี ตกตา่ งกันออกไป รวมทั้งฟังก์ชันหน้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมายนั้น ๆ โดยเฉพาะ
ซึ่งมี 7 ชนั้ การส่อื สารด้วยกนั คือ

1. ฟิสิคลั เลเยอร์ (Physical Layer)
2. ดาต้าลิงคเ์ ลเยอร์ (Data Link Layer)
3. เนต็ เวิรค์ เลเยอร์ (Network Layer)
4. ทรานสปอร์ตเลเยอร์ (Transport Layer)
5. เซสชั่นเลเยอร์ (Session Layer)
6. พรเี ซนเตช่ันเลเยอร์ (Presentation Layer)
7. แอปพลิเคชน่ั เลเยอร์ (Application Layer)

3.1 ฟสิ ิคัลเลเยอร์ (Physical Layer)
เป็นชั้นสือ่ สารที่ทาหน้าทีป่ ระสานงานในเร่อื งการส่งขอ้ มลู ในระดบั บติ บนสื่อกลางท่ี
เกยี่ วข้องกบั ข้อกาหนดทางกลไกและทางไฟฟ้าของการอินเตอร์เฟสและการสื่อสารขอ้ มลู รวมถึง
ขอ้ กาหนดดา้ นฟังกช์ ัน่ การทางาน และขนั้ ตอนการทางานของอปุ กรณ์ทจ่ี ะนามาอินเตอร์เฟซเพอ่ื การ
สง่ ขอ้ มูล
หนา้ ท่ีของฟสิ ิคัลเลเยอรค์ อื
- กาหนดคณุ สมบตั ขิ องการอนิ เตอร์เฟซทีเ่ ชอ่ื มต่อระหวา่ งอุปกรณ์และส่ือที่ใช้สง่ ผ่าน

ข้อมลู รวมถึงการกาหนดชนิดของสื่อในการสง่ ข้อมลู
- การสง่ ข้อมูลในช้ันนี้ ข้อมูลจะส่งเปน็ ลกั ษณะบติ หากสง่ ผ่านสายสญั ญาณข้อมูลทเ่ี ปน็

บติ จะถกู แปลงดว้ ยการเข้ารหัสใหเ้ ปน็ สญั ญาณ

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model หน้า 40
ครูสมปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรบั ธุรกิจ

-

ภาพที่ 3- 2 ฟสิ คิ ัลเลเยอร์

3.2 ดาต้าลิงก์เลเยอร์ (Data Link Layer)
เป็นช้ันสื่อสารท่รี วบรวมข้อมูลจากฟิสิคลั เลเยอร์ ดว้ ยการกาหนดรปู แบบของขอ้ มูลท่ีส่งผา่ น
ภายในเคร่ืองให้อยู่ในรูปแบบของ เฟรม (Frame) รวมถึงการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย
เช่น การส่งข้อมูลในเครือข่ายข้อมูลมีโอกาสที่จะสูญหายหรือเสียหายบางส่วน เลเยอร์น้ีจะทาการ
ตรวจสอบความผิดปกติเหล่าน้ี หากพบก็จะแจ้งข้อมูลกลับไปยังผู้ส่ง เพ่ือให้ส่งขอ้ มูลเดิมกลับมาใหม่
หรือในกรณีท่ีมีการส่งข้อมูลเดิมซ้ากันสองคร้ังของเครื่องส่ง เลเยอร์นี้ก็จะมีการกาจัดเฟรมข้อมูลที่
ซ้าซ้อนออกไป ดาต้าลิ้งเลเยอร์จะจัดส่งข้อมูลไปยังปลายทางในเครือข่ายเดียวกันเท่าน้ัน ดังน้ัน
เครอื ขา่ ยแลนจึงทางานอยใู่ น 2 เลเยอร์แรกคอื ฟิสิคลั เลเยอร์และดาตา้ ล้ิงเลเยอร์

ภาพท่ี 3 -3 ดาต้าลงิ ค์เลเยอร์

3.3 เนต็ เวริ ์คเลเยอร์ (Network Layer)
เป็นชั้นการส่ือสารที่เกี่ยวกับการส่งแพ็คเกตจากต้นทางไปยังปลายทางเครือข่ายหลาย ๆ
เครือข่าย ความแตกต่างระหว่างดาต้าลิ้งเลเยอร์และเน็ตเวิร์คเลเยอร์คือ หน่วยหน่วยข้อมูลบนช้ัน
ส่ือสารเน็ตเวิร์คจะถูกแบ่งเป็นส่วน ๆ เรยี กวา่ แพ็กเก็ต (Packet) แต่ละแพ็จเก็ตจะถูกส่งไปทาง ซ่ึง
ระหว่างทางจะมีเครือข่ายย่อยท่ีลิ้งก์ต่อมากมาย รวมถึงการส่งข้ามเครือข่ายต่างชนิดกัน ดังนั้นจึง
จาเป็นต้องมีการใช้อุปกรณ์ท่ีทางานภายใต้ช้ันการส่ือสารเน็ตเวิร์ค เช่น อุปกรณ์เร้าเตอร์ (Router)
เลเยอร์นี้ยังทาหน้าท่ีในการเลือกเส้นทางการส่งขอ้ มูลที่ดีท่ีสุดและเหมาะสมที่สุด เพื่อส่งข้อมูลไปยัง
ปลายทางอย่างรวดเร็ว

แบบจาลองเครือข่าย OSI Model หน้า 41
ครูสมปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละความปลอดภยั สาหรับธุรกจิ

ภาพที่ 3-4 เน็ตเวริ ค์ เลเยอร์

3.4 ทรานสปอร์ตเลเยอร์ (Transport Layer)
เลเยอร์นี้จะทาหน้าท่ีส่งมอบข้อมูลในลักษณะ โปรเซสทูโปรเซส (Process to Process)
โปรเซสในท่ีนี้หมายถึงโปรแกรมประยุกต์ใด ๆ ที่รันอยู่บนเครื่อง การส่งข้อมูลจากต้นทางไปยัง
ปลายทางจะทาหน้าที่ในการส่งมอบข้อมูลระหว่างโปรเซสต้นทางไปยั งโปรเซสปลายทางให้ถูกต้อง
ส่วนใหญ่เครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองหน่ึง ๆ สามารถรันโปรแกรมได้หลายโปรแกรมในเวลาเดียวกัน
ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีพอร์ตต่าง ๆ ไว้คอยบริการด้านการสื่อสาร ทรานสปอร์ตเลเยอร์จะผนวก
เฮดเดอร์ท่ีถือเป็นแอดเดรสชนิดหน่ึงท่ีเรียกว่า พอร์ตแอดเดรส (Port Address) หรือ เซอร์วิสพ้อย
แอดเดรส (Service-Point Address) เพื่อให้เน็ตเวิร์คเลเยอรส์ ่งแพ็คเก็ตไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง
ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
หน้าที่ทสี่ าคัญของเลเยอร์น้ีคือ หน้าทีใ่ นการแบ่งข้อมูลจากเซสช่ันเลเยอร์ออกเป็นเซกเม้นต์
ย่อย ๆ โดยเซ็กเม้นต์ที่ถูกแบ่งน้ีจะมีเลขลาดับบรรจุอยู่ และให้โปรเซสฝ่ังรับรวบรวมข้อมูลนาส่ง
เลเยอรด์ ้านบนต่อไป

ภาพท่ี 3-5 ทรานสปอรต์ เลเยอร์

- พอร์ตแอดเดรส (Port Address) คือ หมายเลขชอ่ งทางในการรบั ส่งขอ้ มลู ในระบบ
เครอื ขา่ ยที่ขึ้นอย่กู ับระบบปฏบิ ัตกิ ารทีจ่ ะทาการบรกิ ารหมายเลขให้กบั ผู้ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็

แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model หน้า 42
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์และความปลอดภัยสาหรับธรุ กจิ

3.5 เซสช่นั เลเยอร์ (Session Layer)
เซสช่ันเลเยอรม์ ีหน้าที่ควบคุมการสื่อสาร การจดั การแลกเปลย่ี นขอ้ มูลท่ีเกิดขึ้นระหวา่ งโฮสต์
ซ่ึงการส่ือสารท่ีกาลังดาเนินอยู่ในขณะใดขณะหน่ึงเรียกว่า เซสชั่น (Session) ท้ังนี้หลายเซสชั่นที่
เกิดขึ้นอาจจะมาจากการทางานของคนเดยี วหรือหลายคนก็ได้ เช่น การล็อกอินระยะไกลของเคร่ือง
คอมพิวเตอรไ์ ปยังเครื่องให้บรกิ ารที่อยูค่ นละทจ่ี นกระทั่งออกจากระบบ ก็ถือว่าเป็นหน่ึงเซสช่ัน หรือ
ขน้ั ตอนการสนทนาเพอื่ แลกเปลย่ี นข้อมูลระหวา่ งกนั จนกระทง่ั จบการสนทนา
กลา่ วคือเซสชัน่ เลเยอร์ทาหน้าท่ีในการอนุญาตให้สองระบบแลกเปลีย่ นขอ้ มูลกนั ตง้ั แต่
เร่มิ ต้นสือ่ สารกนั นาระท่ังยตุ กิ ารสอ่ื สาร ซง่ึ เรมิ่ จากขัน้ ตอนการเปดิ เซสชั่นในการแลกเปลีย่ นข้อมูลใน
เซสชั่นนนั้ ๆ อย่างต่อเนื่อง จนกระทงั่ จบการสนทนาดว้ ยการยกเลกิ เซสช่ันนัน้ ไป ท้งั นีก้ ารสอื่ สารจะ
โต้ตอบในรปู แบบผลัดกนั สง่ หรือฮาร์ฟดเู พล็กซ์ หรือรบั สง่ ข้อมูลในเวลาเดยี วกนั หรือฟลูดเู พล็กซ์กไ็ ด้
นอกจากน้ีหากการสื่อสารภายในเซสช่ันเกิดความลม้ เหลวข้นึ มากลางคันจนตอ้ งมีการเปดิ
เซสชัน่ ในการสื่อสารรอบใหม่ เซสชน่ั เลเยอรจ์ ะอนุญาตใหเ้ พ่มิ จุดตรวจสอบเข้าไปพรอ้ มกับการส่ง
ขอ้ มลู ไป เช่น สง่ ขอ้ มูล 50 หน้าและมกี ารแทรกจุดตรวจสอบทกุ 10 หน้า ตอ่ มาการสง่ ข้อมลู เกดิ
ล้มเหลวในการสง่ ข้อมลู หนา้ 32 การกไู้ ฟลข์ อ้ มลู จะดาเนินการเปดิ เซสช่นั ใหม่เพื่อส่งขอ้ มลู ท่ีผิดพลาด
เท่าน้ันคือ หนา้ ท่ี 31 เปน็ ตน้ ไปโดยไม่จาเป็นตอ้ งเรม่ิ ส่งขอ้ มลู ใหมท่ ง้ั หมด

ภาพท่ี 3-6 เซสชนั เลเยอร์

3.6 พรเี ซนเตชั่นเลเยอร์ (Presentation Layer)
เลเยอรน์ เ้ี ป็นลกั ษณะการทางานเกี่ยวกบั การแปลงข้อมูลใหม้ ีรปู แบบและความหมายเดียวกัน
คือระบบคอมพิวเตอร์ในแต่ละระดับอาจใช้รหัสแทนข้อมูลท่ีแตกต่างกัน เช่น บนพีซีคอมพิวเตอร์ใช้
รหัสแอสกิ (ASCII code) หรือ ยูนิโคด (Unicode) ในขณะที่เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ก็ใช้รหัสเอพซิดิก
(EBCDIC Code) หน้าทีข่ องพรเี ซนเตชน่ั เลเยอร์นี้คือทาให้ทั้งสองระบบทมี่ กี ารใช้รหัสข้อมลู ท่แี ตกต่าง
กันเข้าใจกันทงั้ สองฝ่าย โดยจะมกี ระบวนการแปลงข้อมูล (Translation) ให้สามารถนาเสนอข้อมลู ได้
อย่างถูกต้อง หน้าท่ีอน่ื ๆ ในเลเยอร์นี้ อาทิ การบีบอดั ข้อมูลให้มีขนาดเล็กลงเพอ่ื สะดวกและรวดเร็ว

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หน้า 43
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และความปลอดภัยสาหรบั ธุรกิจ

ต่อการส่งข้อมูล และช่วยลดแบนด์วิธในระบบสื่อสารได้ อีกท้ังยังมีการเข้ารหัสข้อมูล (Encryption)
เพอื่ ความปลอดภัยกอ่ นส่งไปยงั ปลายทางเพอื่ ทาการถอดรหัส (Decryption) ตอ่ ไป

ภาพที่ 3-7 พรเี ซนเตชนั เลเยอร์

3.7 แอปพลเิ คชน่ั เลเยอร์ (Application Layer)
เลเยอร์น้มี ุ่งเนน้ การตดิ ตอ่ กบั ผูใ้ ช้ เป็นชนั้ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การทางานของโปรแกรมประยกุ ต์
ต่างๆ ทใ่ี ช้สาหรบั ติดต่อสือ่ สาร ผู้ใช้งานสามารถใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ตา่ ง ๆ เพ่ือเข้าถงึ เครือขา่ ย โดย
อนุญาตให้ผู้ใช้ซง่ึ อาจเปน็ บุคคลหรือซอฟต์แวร์สามารถเข้าถงึ เครอื ข่ายได้ โดยมียูสเซอร์อินเตอร์เฟส
(User Interface) เพื่อสนับสนุนบรกิ ารต่างๆ เช่น การส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การติดต่อเครือข่าย
แบบระยะไกลเพือ่ เขา้ ถึงขอ้ มูล การถา่ ยโอนขอ้ มลู เป็นต้น

ภาพที่ 3-8 แอพพลิเคชนั เลเยอร์

แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model หน้า 44
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละความปลอดภยั สาหรับธุรกจิ

4. กำรส่งขอ้ มูลระหว่ำงเลเยอร์

ในแต่ละเลเยอร์มีหน้าที่เก่ียวข้องในการส่งข้อมูลจากสถานีต้นทางไปยังสถานีปลายทาง
ขอ้ มูลเดนิ ทางจากระดบั บนสดุ ของสถานีตน้ ทางไปยังระดับล่างโดยถูกแปลงเป็นสญั ญาณไฟฟ้าเข้าไป
ในสายสอื่ สาร โปรโตคอล (Protocal) ซ่ึงเป็นข้อกาหนดในการส่อื สาร ระดับล่างสดุ ทส่ี ถานปี ลายทาง
จะรับสญั ญาณและส่งผา่ นขนึ้ ไปยงั โปรโตคอลระดับบนตอ่ ไป

ขณะท่ีข้อมูลผา่ นไปในแตล่ ะระดบั ชนั้ โปรโตคอลในชั้นนนั้ จะผนวกข้อมูลกากับการทางานซ่ึง
เรียกว่า เฮดเดอร์ (header) เข้าไปยังส่วนต้นของข้อมูล (ยกเว้นระดับช้ันฟิสิคัลท่ีไม่มีการแทรก
เฮดเดอร์) ในโอเอสไอใช้ศพั ท์เทคนิคเรียกข้อมูลและเฮดเดอร์รวมกันว่า พดี ียู (PDU : Protocol Data
Unit) และเรียกเฉพาะเฮดเดอร์ว่า พีซีไอ (PCI : Protocol Control Information) นอกจากน้ี
ระดับชั้นดาตาลิงค์มักแทรกข่าวสารตอ่ ท้ายข้อมูลเรียกว่า เทรลเลอร์ (trailer) โปรโตคอลระดับลา่ งถัด
มาเมื่อได้รบั พีดียจู ากระดับบนกจ็ ะแทรกเฮดเดอร์ประจาช้ันตัวเองเข้าไปอีก กระบวนการทเี่ กดิ ขึน้ น้วี ่า
การเอน็ แคปซูเลต (encapsulation) หรือเปรยี บเทยี บได้กับการบรรจุข้อมูลเข้าไปในแคปซูลหลายช้ัน
เม่ือข้อมูลและเฮดเดอร์ท้ังหมดออกจากระดับช้ันฟิสิคัลก็จะกลายเป็นสัญญาณเดินทางไปในสาย
สื่อสาร

สัญญาณทมี่ าถึงสถานีปลายทางจะเขา้ สรู่ ะดบั ชนั้ ฟิสิคัลเพอ่ื แปลงกลับไปเปน็ บิตและส่งไปยงั
ระดบั ชนั้ ถดั ไป โปรโตคอลประจาระดับช้นั จะปฏิบัติงานโดยอาศัยขอ้ มูลในเฮดเดอรจ์ ากนน้ั จงึ ถอด
เฮดเดอรอ์ อกและส่งสว่ นท่ีเหลอื ไปยังระดับช้นั ถดั ไป เม่ือถึงระดับชนั้ บนสุดก็จะเหลือเพียงตัวข้อมูลที่
ต้องการนาสง่ กระบวนการนเี้ รยี กว่า การดีแคปซเู ลต (decapsulation)

ภาพที่ 3-9 การเอนแคบซูเลต/ดีแคบซูเลต

แบบจาลองเครือข่าย OSI Model หน้า 45
ครสู มปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์และความปลอดภยั สาหรบั ธุรกจิ

5. กำรแทนรหสั ในคอมพวิ เตอร์

การแทนรหสั ขอ้ มูลในคอมพวิ เตอร์ทางานด้วยหลักการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทแ่ี ทนสัญญาณ
ทางไฟฟ้าด้วยตวั เลขศนู ย์และหนึ่ง ซ่งึ เปน็ ตัวเลขในระบบเลขฐานสองแต่ละหลกั เรียกวา่ บติ (binary
digit : bit) และเม่อื นาตัวเลขหลาย ๆ บิตมาเรียงกัน จะใช้สรา้ งรหสั แทนความหมาย
จานวน ตัวอักษร หรอื สญั ลักษณ์ทงั้ ภาษาองั กฤษและภาษาไทยได้ และเพอื่ ให้การแลกเปลี่ยน
ข้อความระหว่างมนษุ ย์กับคอมพิวเตอรเ์ ป็นไปในแนวเดียวกนั จงึ มกี ารกาหนดมาตรฐาน รหัสตวั เลขใน
ระบบ เลขฐานสอง สาหรับแทนสญั ลกั ษณ์เหล่านี้ ซึ่งในการถอดรหัสที่มกี ารแทนรหัสทแ่ี ตกต่างกนั
เปน็ หนา้ ที่ของช้ันสอ่ื สารพรีเซนเตชันเลเยอร์ รหสั มาตรฐานท่นี ิยมใชก้ นั มากมีสามกล่มุ คือ

1. รหสั แอสกี (American Standard Code for Information Interchange , ASCII)

ระบบแอสกี เป็นระบบมาตรฐานที่กาหนดรูปแบบของบิตเพ่ือใช้เป็นรหัสแทนตัวอักขระ เพ่ือ
จุดมุ่งหมายที่จะทาให้เป็นมาตรฐานสากล ในปัจจุบันได้มีการใช้รหัสดังกล่าวอย่างแพร่หลาย
โดยเฉพาะเครือ่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ และมินคิ อมพิวเตอร์ รหัสดังกลา่ วมขี นาดเท่ากับ 8 บติ

แตล่ ะหลกั ของจานวนในระบบเลขฐานสองเราเรียกว่าบติ (bit) ใน 1 บิต จะแทนขอ้ มลู ได้ 2
แบบคอื 0 และ 1 ตวั เลขฐานสอง 8 บิตหรือ 1 ไบต์สามารถใช้แทนรหัสตา่ งๆ ได้ถงึ 28 หรือ 256
แบบ เช่น

0100 0001 ใช้แทนตวั อักขระ A
0100 0010 ใช้แทนตัวอกั ขระ B

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model หนา้ 46
ครสู มปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรบั ธุรกิจ

ภาพท่ี 3- 10 ตารางรหัส ASCII แทนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

วธิ ีการอ่านค่าจากตารางแอสกี
1. ชี้ตรงตัวอกั ษรทต่ี อ้ งการแทนรหัส เช่น ก
2. อา่ นคา่ รหัสในตารางแนวตั้งตรงตาแหนง่ b7 b6 b5 และ b4 ค่าท่ไี ด้ คอื 1010
3. อา่ นคา่ รหสั ในตารางแนวนอนตรงตาแหน่ง b3 b2 b1 และ b0 คา่ ทไี่ ด้ คอื 0001
4. ดังน้ันรหัสแทนขอ้ มูลของตวั อกั ษร ก คอื 1010 0001

ในรหสั แอสกี นน้ั จะแบง่ รหสั แทนตัวอกั ขระทง้ั 256 คา่ ออกเป็นสามกลมุ่ ได้แก่ กลุ่มของรหสั
แทนตวั อกั ขระท่ใี ช้ควบคุม กลุ่มรหัสแทนตวั อักขระทส่ี ามารถพิมพไ์ ด้ และ กลุ่มของรหสั แทนตัว
อกั ขระ ท่จี ะใชเ้ ปน็ ส่วนขยาย

แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model หน้า 47
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์และความปลอดภยั สาหรบั ธรุ กิจ

ภาพภาพท่ี 3-11 กลุ่มของการแทนตัวอกั ขระควบคุมและกลุ่มอักขระทส่ี ามารถพิมพ์ได้
1) กลุ่มของรหสั แทนตัวอกั ขระท่ีใชค้ วบคมุ รหัสแทนตวั อักขระท่ี 0 ถึง 31 จะเป็นรหสั ที่ไมม่ ี

อักขระกากับ รหสั ดังกล่าวจะถกู ใช้ในการควบคมุ การทางานของคอมพวิ เตอร์บางอย่าง เชน่ ควบคุม
การทางานของเครือ่ ง พมิ พ์ ควบคุมการแสดงผลบนจอภาพ เป็นตน้ เชน่ หากคอมพวิ เตอรส์ ง่ รหสั BS
ไปบนจอภาพจะมผี ลทาให้คอมพิวเตอรท์ าการลบข้อมลู บนจอภาพทางซา้ ยมอื ของเคอร์เซอร์ 1
ตัวอักษร

2) กลมุ่ รหัสแทนตวั อักขระทีส่ ามารถพมิ พไ์ ด้ รหัสแทนตวั อกั ขระที่ 32 ถงึ 127 จะเปน็ รหสั ท่ี
ใช้แทนตวั อกั ขระตา่ ง ๆ เรม่ิ ตั้งแต่รหัส 32 เป็นรหสั แทนช่องวา่ ง จนถึงรหัสท่ี 127 ตัวอักขระดงั กลา่ ว
สามารถท่ีจะแสดงได้ท้ังบนจอภาพหรือบนเคร่ืองพิมพ์ สังเกตว่ารหัสแทนตวั อกั ขระดงั กลา่ วจะเรยี ง
กัน

3) กลมุ่ รหัสแทนตัวอกั ขระ ที่จะใช้เปน็ ส่วนขยาย รหสั แทนตวั อักขระท่ี 128-255 จะเปน็ รหสั ท่ี
เราไม่คุ้นเคยและมกั ไม่ได้ถกู ใชง้ าน รหัสดงั กลา่ วจึงถกู พัฒนาเพอ่ื ใชแ้ ทนข้อมลู ตา่ ง ๆ เช่น ในเมอื งไทย
จะนารหสั ดังกล่าวมาพฒั นาเปน็ รหสั เพอ่ื ใช้แทนตัวอักษรภาษาไทย ดังตาราง

แบบจาลองเครือข่าย OSI Model หนา้ 48
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรับธรุ กจิ

ภาพท่ี 3-12 กลุม่ อักขระภาษาไทยทแี่ ทนดว้ ยแอสกโิ คด

2. ระบบแอบซิดกิ (Extended Coded Decimal Interchange Code , EBCDIC)
ระบบแอบซิดกิ เปน็ ระบบทใ่ี ชจ้ านวนบติ เท่ากับ 8 บิต ในการสร้างรหัสเพือ่ ใชแ้ ทนค่าข้อมูล เปน็
ระบบทีพ่ ัฒนาโดยบริษทั ไอบเี อม็ เพื่อใชก้ ับคอมพวิ เตอรเ์ มนเฟรม โดยการขยายความสามารถในการ
แทนค่าในระบบบีซดี ี ในการใช้จานวน 8 บิต ทาให้สามารถแทนคา่ ขอ้ มูลได้ทั้งหมดเท่ากับ 256 ค่า
ซง่ึ เป็นการเพยี งพอในการแทนค่าตวั อักษรภาษาองั กฤษทง้ั พมิ พ์เลก็ และพมิ พ์ใหญ่ ตวั อกั ขระพิเศษ
ต่าง ๆ และยังสามารถขยายตัวอกั ขระเพ่มิ เขา้ ไปได้อกี เช่น ใช้รหสั ให้สามารถแทนตัวอกั ษรภาษาไทย
ได้

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หน้า 49
ครสู มปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และความปลอดภัยสาหรบั ธุรกจิ

ภาพการแทนรหสั ภาษาไทยในระบบเอพซิดิก

3. ระบบยูนโิ คด (Unicode)
ยูนิโคด คอื รหัสคอมพวิ เตอรใ์ ชแ้ ทนตัวอกั ขระ สามารถใชแ้ ทน ตัวอกั ษร, ตัวเลข, สญั ลักษณ์
ต่างๆ ได้มากกว่ารหสั แบบเก่าอย่างแอสกโี้ คด ซงึ่ เกบ็ ตัวอกั ษรไดส้ งู สดุ เพยี ง 256 ตัว (รูปแบบ) โดย ยู
นโิ คด รุน่ ปัจจบุ นั สามารถเก็บตวั อักษรได้ถึง 34,168 ตวั จากภาษาทัง้ หมดทั่วโลก 24 ภาษา โดยไม่
สนใจว่าเป็นแพลตฟอรม์ ใด ไม่ขึ้นกับโปรแกรมใด หรือภาษาใด ยนู โิ คดได้ถกู นาไปใชโ้ ดยผนู้ าใน
อุตสาหกรรม เช่น Apple, HP, IBM, Microsoft, Unix ฯลฯ ดังน้ัน ยูนิโคด จึงถือเป็นมาตรฐานใน
การกาหนดรหสั สาหรบั ทุกตัวอกั ษร ทกุ อักขระ ยูนโิ คด ทาให้ขอ้ มูลสามารถเคลอ่ื นยา้ ยไปมาใน
หลายๆ ระบบ ข้ามแพลตฟอร์มไปมา หรอื ข้ามโปรแกรมได้อย่างสะดวก โดยไรข้ ้อจากัด

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model หนา้ 50
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรบั ธุรกจิ

รหสั ยนู ิโคดต่างจากแอสกีคือ แอสกีเก็บไบต์เดยี วแต่ยูนิโคดเก็บ 2 ไบต์ ซ่งึ ขอ้ มลู 2 ไบต์ เก็บ
ข้อมูลได้มากมายมหาศาล สามารถเก็บข้อมูลได้มากมายหลายภาษาในโลก อย่างภาษาไทยก็อยู่ใน
ยนู ิโคด น้ีด้วยเหมือนกัน ดงั นั้นรหัสภาษาไทยเอาไปเปิดในภาษาจีน ก็ยงั เป็นภาษาไทยอยู่ ไมอ่ อกมา
เป็นภาษาจีน เพราะว่ามีรหัสตายตัวอยู่ว่ารหัสนี้จองไว้สาหรับภาษาไทย แล้ว รหัสตรงช่วงนั้นเป็น
ภาษาจนี ตรงโน่นเปน็ ภาษาญ่ีปนุ่ จะไมใ่ ชท้ ี่ซ้ากัน เป็นต้น

ภาพรหสั ยูนิโคด

สรุป

- แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model (Open System Interconnection) คอื เปน็ มาตรฐาน
ของการสือ่ สารทางเครือข่าย มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ ใหผ้ ผู้ ลติ อุปกรณ์เครอื ขา่ ยหรือซอฟต์แวร์ใดๆ ซ่งึ มี
หลากหลายผู้ผลติ ใช้เปน็ โครงสร้างอ้างองิ ในการสรา้ งอุปกรณใ์ ห้สามารถทางานรว่ มกันอย่างดบี น
ระบบเครือข่าย

- แนวคิดของการแบ่งของชัน้ สอื่ สารมีเหตุผลสาคัญ ดังน้ี
2.1. การแบ่งออกเป็นชน้ั สอ่ื สารกเ็ พ่ือลดความซา้ ซอ้ น ทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ
2.2 เพ่ือใหแ้ ต่ละช้ันการส่อื สาร จาแนกหน้าท่ีท่ีชัดเจนและแตกต่างกนั
2.3 เพอ่ื ให้แต่ละช้นั การสอ่ื สารทาหน้าทตี่ ามท่ไี ดร้ ับมอบหมายเทา่ นน้ั
2.4 เพอื่ ให้แต่ละช้นั การส่อื สารสอดคล้องกบั มาตรฐานสากล
2.5 เพ่ือป้องกันกรณที มี่ ีการเปลี่ยนแปลงขอมลู บนชั้นการสอ่ื สารหนงึ่ ๆ มผี ลกระทบตอ่ ช้นั
การส่ือสารในลาดบั อ่นื ๆ

แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model หน้า 51
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรับธุรกิจ

2.6 จานวนชัน้ การสื่อสารตอ้ งมจี านวนเหมาะสมเพียงพอตอ่ การจาแนกหนา้ ท่ี ไมม่ ากหรอื
น้อยเกินไป

- ชน้ั การส่ือสารใน OSI Model มี 7 เลเยอรด์ ังนี้คือ
1. ฟสิ คิ ัลเลเยอร์ (Physical Layer)
2. ดาตา้ ลงิ ค์เลเยอร์ (Data Link Layer)
3. เน็ตเวิรค์ เลเยอร์ (Network Layer)
4. ทรานสปอรต์ เลเยอร์ (Transport Layer)
5. เซสช่ันเลเยอร์ (Session Layer)
6. พรเี ซนเตช่นั เลเยอร์ (Presentation Layer)
7. แอปพลิเคชนั่ เลเยอร์ (Application Layer)
- รหสั ท่นี ิยมใช้แทนขอ้ มูลในระบบคอมพวิ เตอรไ์ ด้แก่ รหัสแอสกี รหัสเอพซดี กิ และรหัสยนู โิ คด

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หนา้ 52
ครสู มปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภยั สาหรับธรุ กิจ

แบบฝึกหดั
วชิ า การสื่อสารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ย
เรื่อง แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model
ชื่อ....................................................................................ชนั้ .........................................................

1. จงอธิบายลกั ษณะของแบบจาลองเครือข่ายเครือขา่ ย OSI มาพอเข้าใจ.............................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. บอกแนวคดิ ของแบบจาลองเครือข่าย OSI มาเปน็ ข้อ ๆ ..................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. อธบิ ายลักษณะการทางานของ OSI Model ทง้ั 7 เลเยอร์มาพอเข้าใจ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หนา้ 53
ครูสมปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรบั ธรุ กจิ

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
4. อธิบายลกั ษณะการส่งข้อมูลแตล่ ะชัน้ เลเยอร์
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
5. รหสั ท่ใี ช้ในการแทนขอ้ มูลในคอมพิวเตอรม์ กี ่แี บบอะไรบ้างอธิบาย
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
6. ให้นักศกึ ษาเขียนชอื่ ตนเองเปน็ รหัสแอสกิและรหัสยูนิโคด
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model หน้า 54
ครูสมปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละความปลอดภัยสาหรับธุรกจิ

บททดสอบหลงั เรียน
วชิ า การส่ือสารขอ้ มูลและเครือขา่ ย
เรื่อง แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องท่ีสุดลงในกระดาษคาตอบ

1. แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model คืออะไร
ก. มาตรฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
ข. มาตรฐานการควบคมุ คุณภาพในหนว่ ยงาน
ค. มาตรฐานการสื่อสารทางเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
ง. มาตรฐานของอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์
จ. มาตรฐานอตุ สาหกรรม

2. แนวความคดิ การสอ่ื สารของแบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model ขอ้ ใดทท่ี าให้ขอ้ มูลมีความปลอดภยั
ก. ลดความซ้าซอ้ น
ข. จาแนกหน้าท่ีชดั เจน
ค. สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
ง. ปอ้ งการการเปลย่ี นแปลงข้อมูลบนเครือข่ายการสอ่ื สาร
จ. ทาตามหน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

3. แนวความคดิ การส่อื สารของแบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model ข้อใดที่ทาให้อปุ กรณ์เครือขา่ ยของ
ผูผ้ ลิตแต่ละรายใชร้ ว่ มกนั ได้

ก. ลดความซา้ ซ้อน
ข. จาแนกหนา้ ที่ชดั เจน
ค. สอดคล้องกบั มาตรฐานสากล
ง. ปอ้ งการการเปลยี่ นแปลงขอ้ มลู บนเครือข่ายการส่ือสาร
จ. ทาตามหน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย
4. ช้นั การส่อื สารใน OSI Model ใดทที่ างานในระดับบิต
ก. เซสชัน่ เลเยอร์
ข. ดาต้าลิงคเ์ ลเยอร์
ค. เน็ตเวริ ค์ เลเยอร์
ง. พรีเซนเตชนั เลเยอร์
จ. ฟสิ ิคัลเลเยอร์
5. เลเยอรใ์ ดทท่ี าการแปลงขอ้ มูลท่อี ยู่ต่างระบบกนั ใหม้ ีความเข้าใจตรงกนั
ก. เซสชนั่ เลเยอร์
ข. ดาต้าลิงคเ์ ลเยอร์
ค. เน็ตเวริ ค์ เลเยอร์
ง. พรีเซนเตชนั เลเยอร์
จ. ฟสิ คิ ัลเลเยอร์

แบบจาลองเครอื ขา่ ย OSI Model หน้า 55
ครูสมปรารถนา ศรีรมย์

30204-2007 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และความปลอดภยั สาหรบั ธุรกิจ

6. หนา้ ทีข่ องชน้ั การสื่อสารแอพพลิเคชนั เลเยอรค์ ืออะไร
ก. รบั สง่ ข้อมลู ในระดบั บติ
ข. ส่งข้อมูลในรปู ของเฟรม
ค. ทาหน้าทสี่ ่งข้อมูลข้ามเครอื ขา่ ยตา่ งชนดิ กนั
ง. ทาหน้าทีแ่ ปลงข้อมูลท่ีตา่ งระบบกันใหถ้ ูกต้องตรงกัน
จ. ตดิ ต่อกับผ้ใู ชใ้ นลักษณะการทางานของโปรแกรมประยุกต์

7. หนา้ ที่ของชน้ั การสอ่ื สารดาต้าลิงคเ์ ลเยอร์คืออะไร
ก. รบั สง่ ข้อมลู ในระดับบิต
ข. สง่ ข้อมลู ในรูปของเฟรม
ค. ทาหนา้ ทส่ี ่งข้อมลู ข้ามเครือขา่ ยตา่ งชนดิ กนั
ง. ทาหนา้ ทแี่ ปลงขอ้ มูลท่ีตา่ งระบบกนั ใหถ้ กู ต้องตรงกนั
จ. ตดิ ต่อกับผู้ใช้ในลักษณะการทางานของโปรแกรมประยกุ ต์

8. หน้าทท่ี ี่สาคญั ของพรีเซนเตช่นั เลเยอร์คอื อไร
ก. ตดิ ต่อกบั ผู้ใช้ในลักษณะการทางานของโปรแกรมประยกุ ต์
ข. ส่งขอ้ มลู ในรูปของเฟรม
ค. ทาหนา้ ที่ส่งขอ้ มูลข้ามเครือข่ายตา่ งชนดิ กัน
ง. ทาหนา้ ท่ีแปลงข้อมลู ที่ตา่ งระบบกันให้ถูกตอ้ งตรงกนั
จ. รบั ส่งข้อมูลในระดบั บิต

9. ในการสง่ ขอ้ มูลระหว่างเลเยอร์จากผ้สู ง่ ไปยงั ผู้รบั มลี กั ษณะการทางานอย่างไร
ก. สง่ ขอ้ มูลจากผู้สง่ จากล่างขึน้ บนผ่านแต่ละเลเยอร์
ข. ส่งข้อมลู จากผู้สง่ ในแนวระนาบ
ค. ส่งข้อมลู ข้ามเลเยอร์
ง. ส่งข้อมลู จากบนลงล่างในลักษณะเดมิ ไม่มีการบรรจุขอ้ มูลใดๆลงไป
จ. สง่ ขอ้ มลู จากผู้ส่งขอ้ มูลจากบนลงลา่ งจากนัน้ บรรจุขอ้ มลู ของแต่ละช้ันลงไป

10. ระบบยูนิโคดสามารถแทนค่าขอ้ มลู ไดก้ ่ีรปู แบบ
ก. 2
ข. 8
ค. 256
ง. 34,168
จ. 54,168

แบบจาลองเครือขา่ ย OSI Model หน้า 56
ครูสมปรารถนา ศรรี มย์

30204-2007 เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และความปลอดภัยสาหรบั ธุรกจิ

กระดำษคำตอบ

เรื่อง แบบจาลอง OSI Model
ช่อื ..................................................................เลขท.่ี .....................................ช้นั ...................

แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบหลังเรียน จ
ขอ้ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

สรปุ ผลกำรเรยี น รวม

ประเมนิ ผล กอ่ นเรยี น หลังเรยี น รวม แบบฝึกหัด
เตม็
ได้

แบบจาลองเครอื ข่าย OSI Model หนา้ 57
ครสู มปรารถนา ศรีรมย์