แผนการ สอน บันได 6 ขั้น ภาษาไทย doc

  • จิตวิทยาสำหรับครู
  • บทความการศึกษา
  • สื่อการเรียนรู้/คลังข้อสอบ
บันได 6 ขั้น แก้ปัญหา”เด็กอ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้” นวัตกรรมใหม่ที่ได้ผล

โดย

สุทัศน์ ภูมิภาค

-

พฤษภาคม 2, 2019

13012

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

แผนการ สอน บันได 6 ขั้น ภาษาไทย doc
แผนการ สอน บันได 6 ขั้น ภาษาไทย doc
บันได 6 ขั้น แก้ปัญหา”เด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้” นวัตกรรมใหม่ที่ได้ผล

บันได 6 ขั้น แก้ปัญหา”เด็กอ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้” นวัตกรรมใหม่ที่ได้ผล

         จากสถานการณ์การศึกษาของชาติ ที่ล่าสุดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้เผยผลสำรวจพบว่า เด็กไทยอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ยังมีอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ทั้งนี้ สพฐ. ไม่ได้นิ่งนอนใจได้ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบแจกลูกสะกดคำและส่งเสริมแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับการพัฒนาสมอง (Brain Based Lerning : BBL) เกี่ยวเนื่องกับเรื่องนี้ทางโครงการภาคีพูนพลังครู ดำเนินงานโดยองค์กรภาคีเครือข่ายดำเนินการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาครู จำนวน 23 ภาคี ได้รวมครูในเครือข่ายต่างๆ มาร่วมแบ่งปันความรู้และทักษะ และร่วมเรียนรู้ ในเวทีพูนพลังครูครั้งที่ 1 ครูผู้สร้างคุณลักษณะนิสัยที่ดี ทำให้พบว่ามีครูหลายๆ ท่าน มี HOW TO ในการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่ได้ผล หนึ่งในนั้นคือ “ครูศิริลักษณ์ ชมพูคำ” จากโรงเรียนบ้านหินลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม ภายใต้ศูนย์พัฒนาวิชาการเพื่อการเรียนรู้มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่มี HOW TO การแก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ทั้งโรงเรียนด้วยจิตอาสา ด้วยบันได 6 ขั้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการสนับสนุนของ สพฐ.ในขณะนี้ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่เพื่อนครูทั่วประเทศได้ร่วมเรียนรู้และนำไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับนักเรียนของตนเอง มูลนิธิสยามกัมมาจล ขอนำเสนอเรื่องราวของครูท่านนี้สู่สาธารณชน


ครูศิริลักษณ์ ชมพูคำ หรือ แม่ตุ้ม ของเด็กๆ ที่มีความเชื่อมั่นว่า “ทักษะการอ่านเขียนคือพื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ด้านอื่นๆ เป็นเครื่องมือที่จะทำให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองและป้องกันไม่ให้ออกนอกลู่นอกทางหลุดไปสู่หลุมดำของสังคม” และกว่า 20 ปีของการเป็นครูสอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษา ระดับ ป.4-ป.5 ครูศิริลักษณ์สังเกตเห็นว่า ในแต่ละห้องจะมีนักเรียนที่มีปัญหาในการอ่านเขียนเกินครึ่ง และในจำนวนนั้นเป็นเด็กพิเศษที่เรียกว่า LD รวมอยู่ด้วย ครูศิริลักษณ์มองเห็นปัญหาและไม่ได้นิ่งนอนใจ เริ่มแก้ปัญหาด้วยการสอนเพิ่มเติม ให้กลุ่มที่มีปัญหาการอ่านเขียน ทั้งในห้องเรียนและนอกเวลา แต่ครูพบว่าการมาฝึกฝนเด็กในช่วงประถมปลายทำให้เด็กสูญเสียโอกาสที่จะเรียนรู้ตั้งแต่เริ่มเรียนและการสอนที่ไม่ต่อเนื่องเด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาก


เมื่อครูตุ้มเห็นว่าการอ่านไม่ออกเขียนสะกดคำไม่ได้ เป็นปัญหาสำคัญเร่งด่วนต้องแก้ให้เร็วที่สุด ครูจึงออกแบบเครื่องมือใช้ทำกิจกรรมเพื่อตอบโจทย์ให้ตรงกับปัญหา เพื่อแก้ปัญหานี้ ครูศิริลักษณ์คิดค้นวิธีด้วยการใช้บันได 6 ขั้นสร้างการเรียนรู้ร่วมกับการชักชวนนักเรียนที่มีทักษะด้านภาษาไทยค่อนข้างดี
มาเป็นจิตอาสา เพื่อให้มาช่วยสอนน้องๆ ตั้งแต่ ป.2 และเพื่อนๆ ในชั้นเดียวกัน ก่อนจะมาทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ครูตุ้มจะเริ่มอบรมและฝึกทักษะการเป็นพี่เลี้ยงให้นักเรียนจิตอาสาเหล่านี้ก่อน ทั้งวิธีการสอนด้านการอ่านเขียน และการสร้างลักษณะนิสัยการเป็นผู้ให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีความบกพร่องด้านการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนผู้สอนและนักเรียนพิเศษมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและให้จับคู่เป็นบัดดี้คอยช่วยเหลือกันในทุกเรื่อง กระตุ้นให้เด็กพิเศษเกิดการเปลี่ยนแปลงได้เร็วขึ้น ผลพลอยได้เด็กอาสาก็จะเก่งขึ้นและมีจิตใจที่อ่อนโยนขึ้นด้วย


ครูตุ้มเล่าต่อว่า การออกแบบกระบวนการ 6 ขั้น พัฒนาให้อ่านออกเขียนได้ มีจุดเด่นคือในแต่ละขั้นจะซอยย่อยเนื้อหาออกเป็นขั้นเริ่มจากง่ายไปหายากและซับซ้อนยิ่งขึ้น ทำให้ครูกำหนดเป้าหมายการพัฒนานักเรียนตามขั้นตอนทีละขั้นโดยไม่ข้ามขั้น เห็นความสำเร็จง่ายนักเรียนจะเกิดแรงบันดาลใจในการเรียนเมื่อประสพผลสำเร็จ นักเรียน
จะรู้สึกภูมิใจในตัวเองมีความมั่นใจว่าตัวเองก็สามารถเรียนรู้ได้ ครูสามารถวัดประเมินผลความก้าวหน้าของนักเรียนในแต่ละขั้นอย่างชัดเจน และนักเรียนก็มีแรงบันดาลใจในการเรียนขั้นต่อไปด้วยความกระตือรือร้น มีความสุขมีความคาดหวังได้อย่างมั่นใจว่าตนเองจะต้องทำได้โดยไม่รู้สึกว่ายากเกินไป บันได 6 ขั้น มีดังนี้
ขั้นที่ 1 ฝึกอ่านทุกวันในช่วงพักกลางวันเพื่อความต่อเนื่อง โดยใช้หนังสือเรียน นิทาน คำ อักษรไทย

ขั้นที่ 2 ฝึกการอ่านควบคู่กับการเขียน โดยใช้อักษรไทย คำ ประโยค นิทาน

ขั้นที่ 3 การฝึกคัดลายมือ นอกจากทำให้ลายมือสวยงามแล้วยังเป็นการช่วยในการจดจำรูปคำต่างๆ ได้มากขึ้นด้วย

ขั้นที่ 4 การวาดรูปประกอบคำ ด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสนุกไปกับงาน โดยมีการจำแนกคำออกมาเพื่อให้นักเรียนเข้าใจการผสมคำมากขึ้น

บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คาสวัสดิ์ราษฎรบ์ ารุง) ท…่ี …………………วนั ท่ี ………… เดอื น …………………….. พ.ศ.2564 เร่อื ง ขออนุญาตใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียน ผอู้ านวยการโรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คาสวสั ดริ์ าษฎร์บารงุ ) ด้วยข้าพเจ้า นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ ตาแหน่งครูผ้ชู ่วย โรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คาสวัสด์ิราษฎร์บารงุ ) ไดร้ ับ มอบหมายให้ปฏิบตั ิหน้าทก่ี ารสอน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท11101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษา ปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 บดั น้ี ข้าพเจา้ ได้จัดเตรียมการสอน และจัดทาแผนการสอนโดยใช้กระบวนการการจัดการเรียนรู้แบบ บันได 6 ขั้น ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดเตรียมไว้ ซ่ึงแนบเอกสารหน่วยการเรียนท่ี 6 ช่ือ หน่วย ต้งั เอ๋ย ต้งั ไข่ เวลาเรียน 10 ชั่วโมง มาพร้อมกบั เอกสารนี้ จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ ลงชอ่ื ( นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ ) ตาแหน่ง ครู ลงชื่อ (นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ความเหน็ ผู้อานวยการโรงเรียน อนญุ าต ไมอ่ นุญาต เพราะ .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................ ลงชือ่ ( นางสาวกันยาภทั ร ภทั รโสตถิ ) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดพืชนิมติ (คาสวัสดิ์ราษฎรบ์ ารงุ ) ............./................../.............

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 เรือ่ ง ตง้ั เอย๋ ตั้งไข่ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 รายวชิ า ภาษาไทย รหสั ท11101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ครผู ู้สอน นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ โรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คาสวัสด์ริ าษฎรบ์ ารงุ ) สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 สานักานคณะกรรมการการศกึ ษาขึน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ศกึ ษา ฝึกทักษะการอ่าน การเขยี น การฟงั การดูและการพูด หลกั การใช้ภาษาไทย และวรรณคดีและวรรณกรรม ในสาระตอ่ ไปนี้ การอา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคา คาคลอ้ งจอง และขอ้ ความ ที่ประกอบ ด้วยคาพน้ื ฐาน คือ คาท่ีใช้ในชวี ติ ประจาวันไมน่ ้อยกวา่ ๖๐๐ คา รวมทง้ั คาท่ใี ช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระ การเรยี นรู้อื่น ประกอบดว้ ยคาทีม่ ีรปู วรรณยกุ ต์และไมม่ ีรูปวรรณยุกต์ คาท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตราและ ไมต่ รงตามมาตรา คาทม่ี ีพยญั ชนะควบกล้า คาทมี่ ี อกั ษรนา การอา่ นจับใจความจากสือ่ ต่างๆ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การอ่านเคร่อื งหมายและสัญลกั ษณ์ มารยาทใน การอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย การเขยี นสือ่ สาร มารยาทในการเขียน การ ฟงั และปฏิบตั ติ ามคาแนะนา คาส่ังง่าย ๆ การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ ความรู้สึกจากเร่อื งทฟ่ี งั และดูท้งั ที่ เปน็ ความรู้และความบันเทงิ การพดู ส่ือสารในชีวิตประจาวนั มารยาทในการฟงั มารยาทในการดู มารยาทในการพดู หลักการใชภ้ าษา การบอกและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เลขไทย การเขียนสะกดคา การแจกลกู และการอ่าน เป็นคามาตราตัวสะกดทตี่ รงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรการผนั คา ความหมายของคาการแตง่ ประโยคและตอ่ คาคล้อง จองวรรณคดแี ละวรรณกรรม การอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก การทอ่ งบทอาขยานและบท ร้อยกรองตามที่กาหนดและความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการวิเคราะห์ เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนรู้ จากการแตง่ ประโยคและต่อคาคลอ้ งจองเขียนเรอ่ื งจากภาพ การเรยี นวรรณคดีและ วรรณกรรมการอา่ นหรอื การฟังวรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรบั เด็ก การท่องบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองตามที่ กาหนดและตามความสนใจ มีความสามารถในการสอ่ื สาร คดิ วเิ คราะห์ จากเรื่องทอ่ี า่ นได้ เห็นคณุ ค่าของการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ ภาษาไทย มมี ารยาทในการอา่ น การเขียน การฟัง การดูและการพดู มีความซาบซึ้ง ภาคภูมิใจในภาษาไทย รกั ความเป็นไทย ใฝเ่ รียนร้แู ละมคี า่ นยิ มที่ เหมาะสม รหสั ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕,ป.๑/๖,ป.๑/๗,ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ รวมทง้ั หมด ๒๒ ตวั ชีว้ ัด

แผนผังมโนทศั นเ์ ปา้ หมายการเรียนร/ู้ หลักฐานการเรยี นรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทักษะ/กระบวนการ (Process : P) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1.ซือ่ สัตย์สจุ ริต 1.การอา่ นแจกลูกสะกด 1.อา่ นสะกดคา 2.มีวินยั 2.การประสมคา 2.เขียนตามคาบอก 3.ใฝ่เรียนรู้ 3. การบอกความหมาย 3.เขยี นคาประกอบภาพ 4.ม่งุ มน่ั การทางาน 4. การแต่งประโยค 4.แตง่ ประโยค 5.รักความเปน็ ไทย 5. การคดั ลายมือ 5.การคดั ลายมือ 6. การเขยี นเร่ืองย่อจากนทิ าน 6.การทอ่ งจาบทอาขยาน เป้าหมายการเรียน เรือ่ ง ตั้งเอย๋ ตง้ั ไข่ หลกั ฐานการเรยี นรู้ 1.แบบฝึกอา่ น 5. คดั ลายมอื 2.แบบฝึกเขยี นตามคาบอก 6. บทอาขยาน 3.แบบฝึกเขยี นคาประกอบภาพ 4.แบบฝกึ แตง่ ประโยค

แผนผงั มโนทศั นข์ น้ั ตอนการทากจิ กรรมประกอบการจดั การเรียนรดู้ ้วย วธิ ีการสอนแบบบนั ได 6 ขั้น ศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชีว้ ัด และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ทากิจกรรมโดยใช้กระบวนการจดั การเรียนร้ดู ว้ ยเทคนคิ การสอนแบบบนั ได 6 ข้ัน ขัน้ ที่ 1 ฝกึ อา่ นทกุ วันจากงา่ ยไปยาก ข้ันที่ 2 เขยี นตามคาบอกจากสิ่งทอี่ ่าน ข้ันที่ 3 คดั ลายมือ ขัน้ ท่ี 4 แต่งประโยค ข้นั ที่ 5 คัดลายมือ ขนั้ ที่ 6 ทอ่ งจาบทอาขยาน ทดสอบหลงั เรยี น (ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70)

ผงั มโนทัศน์ หน่วยก แผนท่ี 1 การอา่ นแจกลูกสะกด จานวน 2 ชั่วโมง แผนที่ 3 บอกความหมายของคา หน่วยกา จานวน 1 ชัว่ โมง ไปโร แผแนผทน่ี ท5่ี 5กากราเลรค่านดั ลิทาายนมือ จานวน จาจนาวนนวน2 2ชัว่ ชโมวั่ โงมง การเรยี นรแู้ บ สาสระารกะากรเารรยี เรนยี รนู้ .ร..ู้............................................................... สงั คมศึกษ วทิ ยาศาสตร์ • การทอ่ งบทอา 1.อา่ นและเขียนคาเกี่ยวกับสัตว์ มี สัตว์บก สัตว์เลอื้ ยคลาน ภาพ สตั ว์ปีก สัตวน์ า้ เช่น งู กบ กระต่าย แมว นก กา สนุ ขั จิ้งจอก

การเรยี นรทู้ ี่ 5 ไปโรงเรยี น ารเรยี นรทู้ ี่ 5 แผนท่ี 2 เขยี นสะกดคา รงเรียน จานวน 2 ชวั่ โมง 10 ช่ัวโมง สาระการเรียนรู้ ................................. บบบูรณาการ แผนที่ 4 แต่งประโยค จานวน 1 ชั่วโมง ษา ศาสนา และวัฒนธรรม าขยาน การเขียนนทิ านประกอบ แผแผนนทท่ี 6ี่ 6กเขารยี ทน่อเรง่ือจงายบ่อทจอาากขนยทิ าานน จจาานนววนน22ชวั่ชโวั่ มโงมง สารกะการาเรรเยีรยีนนรู้ร.ู้................................................................. .ศลิ ปะ : ทศั นศิลป์ • เขียนคาประกอบกบั วาดภาพและระบายสี

แผนบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวทด่ี ี 1. ออกแบบการจดั กิจกรรม ตรงตาม 1. ออกแบบการเรยี นร้สู ่งเสรมิ กระบวนการคิด 1. ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ล่วงหนา้ ตวั ช้วี ดั 2. ใช้เทคนิคการจดั การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย 2. จัดเตรียมการวดั ผลประเมินผล และแบบ 2. เลอื กสอ่ื แหลง่ เรยี นรู้เหมาะสม สังเกตพฤตกิ รมนกั เรยี น 3. วัดผลประเมินผลตรงตามเน้อื หา เงื่อนไขความรู้ เงอ่ื นไขคุณธรรม 1. รู้จักเทคนิคการสอนทีส่ ่งเสรมิ กระบวนการคดิ และนกั เรียน 1. มีความขยัน เสียสละ และมงุ่ ม่ันในการจดั หาสือ่ มาพัฒนา สามารถเรยี นรูไ้ ด้อย่างมคี วามสุข นักเรยี นให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ 2. มคี วามอดทนเพื่อพฒั นานกั เรียนโดยใชเ้ ทคนคิ การสอนที่ หลากหลาย นักเรียน ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมภี มู ิค้มุ กันในตวั ท่ดี ี 1. การใชเ้ วลาในการทากจิ กรรม/ภาระงาน 1. ฝึกทักษะการอ่านท่เี หมาะสมกับวัย 1. วางแผนการศึกษาใบงาน/ใบกจิ กรรม ได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา 2. ฝึกทักษะการเขยี นที่เหมาะสมกบั วัย 2. นาความรเู้ รือ่ ง ทักษะการอา่ น การเขียน 2. เลอื กใชส้ ่ือไดเ้ หมาะสมกับการจดั การ 3.ฝกึ ทกั ษะการพดู ท่เี หมาะสมกับสถานการณ์ การพดู และการฟังของมนษุ ยไ์ ปใช้ใน เรยี นการสอน 4.ฝกึ ทักษะการฟงั และการปฏิบัติตามคาสง่ั ได้ ชีวติ ประจาวันได้ เหมาะสมกบั วัย เงอื่ นไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม 1. มีความรเู้ รื่องทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยที่ถกู ตอ้ งมีสว่ น 1. มคี วามรบั ผดิ ชอบ และปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงของกลมุ่ รว่ มในการอนุรักษ์ภาษาไทยและเปน็ แบบอย่างในการใช้ภาษาไทย 2. มสี ติ มีสมาธชิ ่วยเหลอื กันในการทางานร่วมกัน อย่างถูกต้องตลอดจนสามารถสร้างจัดทาชิน้ งาน ผลงานและใบงานได้ ตามวตั ถุประสงค์ ส่งผลตอ่ การพัฒนา 4 มิตใิ หย้ ่งั ยืนยอมรับต่อการเปลย่ี นแปลงในยุคโลกาภิวฒั น์ วตั ถุ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม วัฒนธรรม ความรู้ (K) มีความรู้ความเข้าใจในหลักการใช้ มคี วามร้แู ละเขา้ ใจ มีความรู้และเข้าใจ มีความรแู้ ละเข้าใจการ ภาษาไทย ทกั ษะการฟัง พดู อา่ น เกย่ี วกับ สง่ิ แวดล้อม ชว่ ยเหลือ แบง่ ปนั และเขยี น และสิ่งต่างๆรอบตัว ทกั ษะ (P) สามารถสรา้ งช้ินงาน ผลงาน ใบงาน ทางานไดส้ าเร็จตาม ใช้แหลง่ เรียนรู้โดยไม่ ช่วยเหลือ แบง่ ปนั ซึง่ แบบทดสอบเรื่องการพดู การเขยี น เป้าหมาย ดารงชีวติ ได้ ทาลายสงิ่ แวดล้อม กนั และกนั ภาษาไทยและการใชภ้ าษาไทยได้ถกู ตอ้ ง อย่างมคี วามสุข ตรงตามวตั ถุประสงค์ คา่ นิยม (A) เห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ เกย่ี วกับ เหน็ คุณคา่ และ เหน็ คณุ ค่าของการใช้ ปลูกฝังนสิ ัยการ การมสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษภ์ าษาไทย ภาคภูมิใจในการ แหลง่ เรียนร้โู ดยไม่ ชว่ ยเหลอื แบ่งปัน และเห็นคุณค่าของภาษาไทย ทางานรว่ มกนั ได้ ทาลายส่งิ แวดลอ้ ม สาเรจ็

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 ต้ังเอย๋ ตง้ั ไข่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท11101 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 จานวนแผนการจัดการเรียนรู้ 6 แผน เวลาเรยี น 10 ช่วั โมง ครผู ูส้ อน นางสาววรรณภา เคนไชยวงค์ โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คาสวสั ด์ิราษฎรบ์ ารุง) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพื่อนาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน ชีวิต และมนี สิ ัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ป.1/1 อ่านออกเสียงคาและข้อความส้ัน ๆ ตัวชวี้ ัด ป.1/2 บอกความหมายของคาและข้อความที่อา่ น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสือ่ สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบ ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตัวชวี้ ัด ป.1/1 คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตวั ช้วี ัด ป.1 /1 บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย ตัวชวี้ ดั ป.1 /2 เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย ของคา มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่าและ. นา มาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง. ตัวช้ีวดั ป.1/2 ทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนด และบทร้อยกรองท่มี ีคุณคา่ ตามความสนใจ 2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ทักษะการอา่ น ผ้เู รียนตอ้ งเขา้ ใจ หลกั การอา่ นแจกลกู สะกดคากอ่ น เพือ่ เปน็ พน้ื ฐานในการอ่านออกเสยี ง คา,ข้อความ,ประโยคและเนื้อเรือ่ งได้อยา่ งถกู ตอ้ งชัดเจนเพือ่ นาไปสู่การอ่านและเขียนพยัญชนะสระ วรรณยุกต์ และเลขไทยได้ถูกต้อง สามารถอธิบายความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถามจากเร่ืองที่อา่ นได้ ทักษะ การอ่านการเขียน ตอ้ งหม่ันฝึกฝนอยู่เป็นประจาเริ่มจากการฝกึ อา่ นและเขยี นคาทง่ี ่ายไปหาเรื่องท่ียากขนึ้ ฝกึ อ่านและเขยี นจากคาศพั ท์บทเพลง บทอาขยาน อา่ นแล้วจะทาให้เกิดความเพลิดเพลนิ สนกุ สนาน มนี สิ ัยรกั การอา่ น 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1) การอ่านแจกลกู สะกดคามาตราแม่ กบ 2) การอ่านสะกดคาและบอกความหมายของคา 4. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน 6. ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. อ่านสะกดคา 2. เขยี นตามคาบอก 3. คดั ลายมือ 4. แตง่ ประโยค 5. ทอ่ งบทอาขยาน 6. เขียนคาประกอบภาพ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ี 1 เรือ่ งการอ่านแจกลูกสะกดคา ( เวลา 3 ชวั่ โมง) ชั่วโมงท่ี 1 การอา่ นแจกลูกสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดตรงตามมาตรา 1.) นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น บทท่ี 13 เรารักเมอื งไทย จานวน 10 ขอ้ เสร็จแล้ว ครู ตรวจสอบและประกาศผลเป็นคะแนนตามจานวนขอ้ ทท่ี าถกู โดยท่ยี งั ไมต่ ้องเฉลย 2.) ครนู าบตั รคามาตราแมก่ บ สะกดตรงตามมาตรา ให้นักเรยี นดูใหน้ กั เรยี นทุกคนออกเสยี งพรอ้ มกนั 3.) ครสู นทนากบั นักเรียนการอา่ นแจกลกู สะกดคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตรา ครอู อกเสียงให้ นกั เรียนฟงั นักเรยี นออกเสยี งตาม 4.) ครูอธบิ ายหลกั การ อ่านแจกลูกสะกดคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตรา 5.) ครอู ธบิ ายหลกั การพรอ้ มยกตวั อยา่ งประกอบ เชน่ กบั ขาบ จิบ โฉบ เย็บ เติบ 6.) ครสู ุ่มนกั เรยี นหลาย ๆคนบอกหลักการอ่านแจกลูกสะกดคา และครอู ธิบายเพม่ิ เติมใหน้ ักเรยี น เข้าใจยง่ิ ข้นึ นักเรียนฝกึ อ่านแจกลูกสะกดพร้อมกันทกุ คนจนคล่อง 7.) ครทู ดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเปน็ คาที่ไมซ่ า้ กนั ทุกคนตอ้ งอา่ นใหไ้ ด้ 7 คาจาก 10 คาจึง จะผา่ นเกณฑถ์ ้าใครไมถ่ งึ 7 คาให้ฝกึ อ่านแลว้ มาสอบใหมจ่ นกว่าจะผ่าน 8.) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปวธิ กี ารอ่านแจกลูกสะกดคาพรอ้ มกนั นกั เรยี นฝกึ อ่านแจกลกู สะกดคา จากบัตรคานอกตาราเรยี นทีค่ รูเตรียมมาเป็นการสรปุ บทเรยี น ช่ัวโมงที่ 2 การอา่ นแจกลกู สะกดคามาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา 1.) ครนู าบัตรคามาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา ให้นักเรียนดูใหน้ ักเรียนทกุ คนฝึกออกเสยี ง พร้อมกนั หลาย ๆรอบ 2.) ครูออกเสียงมาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา ใหฟ้ ังนักเรยี นออกเสียงตาม 3.)ครูอธบิ ายคามาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา ให้นกั เรยี นเข้าใจพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ เชน่ ลาภ รูปภาพ โลภ ลฟิ ต์ กราฟ ซุป สาป สรุป นักเรยี นฝึกอา่ นแจกลกู สะกดคาพรอ้ มกนั ทุก คนจนคลอ่ ง 4.) ครูทดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเป็นคาท่ีไมซ่ ้ากัน ทกุ คนตอ้ งอ่านให้ได้ 7 คาจาก 10 คาจึง จะผ่านเกณฑ์ถา้ ใครไมถ่ ึง 7 คาใหฝ้ กึ อ่านแล้วมาสอบใหม่จนกว่าจะผ่าน 5.) ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรปุ วิธกี ารอ่านแจกลูกสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา พร้อมกนั นกั เรียนฝกึ อ่านแจกลูกสะกดคาจากบัตรคานอกตาราเรยี นทคี่ รูเตรยี มมาเป็นการสรุป บทเรยี น

ชัว่ โมงที่ 3 การอา่ นแจกลูกสะกดคาจากเรอื่ งท่ีอา่ น 1.) ร่วมกนั สนทนากับนกั เรียน จากบทเรียนที่เรยี นผ่านมา เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนเรือ่ งต่อไป 2.) ครเู ขียนคาวา่ ไข่เค็ม ยกมอื สนี ้าตาล หัวร่อ ไขพ่ ะโล้ กระดาษ ผลไม้ โรงเรียน ตัง้ ไข่ เล้า ไก่ บนกระดานดาครูนานกั เรยี นอ่านสะกดคา นกั เรยี นอา่ นสะกดคาตามพรอ้ มกนั จนคล่อง จากนน้ั ให้ อา่ นทีละคน 3.) ครทู ดสอบอ่านทีละคน นักเรยี นต้องอา่ นใหไ้ ดร้ อ้ ยละ 70 ขึ้นไปจึงผา่ นเกณฑ์ คนท่ีไม่ผา่ นต้องฝึก อา่ นจนคลอ่ งแลว้ มาสอบใหมจ่ นกวา่ จะผ่าน 4.) นักเรียนทีอ่ า่ นผ่านเกณฑแ์ ลว้ ครูให้ทาแบบฝกึ หดั ส่งครู ครตู รวจสอบความถูกต้องและเฉลย 5.) นกั เรยี นอ่านออกเสยี งคาเรอ่ื ง เพอื่ นกัน ต้ังแตห่ นา้ แรกจนถึงหนา้ สุดท้ายเปน็ การสรุปบทเรยี น กิจกรรมท่ี 2 เร่อื ง การเขียนสะกดคา ( เวลา 3 ชั่วโมง) ชั่วโมงท่ี 1. การเขียนสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดตรงตามมาตรา 1.) ครูนาบตั รคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตราให้นักเรียนอ่านพรอ้ มกันเปน็ การทบทวน 2.) ครูอธิบายหลักการเขยี นสะกดคา และยกตวั อย่างการเขยี นให้นักเรียนดเู ปน็ ตวั อยา่ งนกั เรยี น สังเกต จดจา นักเรยี นฝึกอา่ นสะกดคาพร้อมกนั อกี คร้งั จนคล่อง 3.) ครูให้นักเรียนเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครูตรวจผลงาน สาหรบั นกั เรยี นท่ีไม่ผา่ นให้คัดคาท่ี เขียนไมไ่ ด้ คาละ 2 ครั้ง แล้วมาสอบเขยี นใหม่จนกวา่ จะผา่ น 4.) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปการเขียนสะกดคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตราเปน็ การสรุปบทเรียน ชัว่ โมงท่ี 2. การเขียนสะกดคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตรา 1.) ครนู าบตั รคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตราใหน้ ักเรยี นอา่ นพรอ้ มกันเปน็ การทบทวน นกั เรยี น สังเกตและจดจาลักษณะของคามาตราแมก่ บ สะกดไมต่ รงตามมาตรา 2.) ครอู ธบิ ายหลักการเขยี นสะกดคาและยกตัวอย่างการเขยี นใหน้ ักเรยี นดูเป็นตวั อยา่ งนกั เรียนสงั เกต จดจา นักเรยี นฝึกอ่านสะกดคาพร้อมกนั อีกครั้งจนคลอ่ ง 3.) ครูใหน้ ักเรียนเขยี นตามคาบอกของครู 10 คา ครตู รวจผลงานนักเรียนต้องเขียนสะกดคาถูกตอ้ ง 7 คา จาก 10 คาจึงผ่านเกณฑ์สาหรบั คนท่ผี ่านเกณฑค์ รใู หท้ าใบงานส่งครู สว่ นคนที่ไม่ผ่านให้ คัด คาที่ไมผ่ ่าน 2 ครั้งและฝึกเขียนใหม่จนกว่าจะผ่าน 4.) ครูและนักเรียนสรุปการเขียนสะกดคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตรา เปน็ การสรปุ บทเรียน ชวั่ โมงท่ี 3. การเขยี นสะกดคาจากเรื่องทอ่ี า่ น 1.) ครใู ห้นกั เรยี นอ่านบทอ่านจาก ตั้งเอย๋ ตง้ั ไข่ เปน็ การทบทวน นกั เรยี นสงั เกต จดจาลักษณะการ เขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ของคาแตล่ ะคา 2.) ครูอธบิ ายหลักการเขียนสะกดคาและยกตัวอยา่ งการเขยี นใหน้ กั เรียนดเู ปน็ ตัวอยา่ งนกั เรียนสังเกต จดจา นักเรยี นฝกึ อา่ นสะกดคาพร้อมกันอีกคร้งั จนคลอ่ ง 3.) ครใู ห้นกั เรียนเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครูตรวจผลงานนกั เรยี นต้องเขียนสะกดคาถูกต้อง 7 คา 10 คาจงึ ผ่านเกณฑ์ สาหรับคนที่ผา่ นเกณฑค์ รูใหท้ าใบงานส่งครู สว่ นคนท่ไี ม่ผ่านให้คดั คาที่ไม่ ผา่ น 2 ครั้งและ ฝึกเขยี นใหม่จนกวา่ จะผ่าน 4.) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปวิธกี ารเขยี นสะกดคาจากเรือ่ ง ตง้ั เอย๋ ตง้ั ไข่ เป็นการสรุปบทเรยี น

กจิ กรรมท่ี 3 การอา่ นและบอกความหมายของคา เวลา 1 ช่วั โมง 1.) ครตู ิดบัตรคาและรูปภาพจากรูจ้ ักคานาเรอ่ื ง บนกระดานดา ใหน้ ักเรียนดูและช่วยกนั ตอบคาถาม 2.) นกั เรียนอ่านหนงั สอื เรยี น วรรณคดีลานา หน้า 50-57 พรอ้ มกนั ครสู ุ่มอ่านทีละคนครแู นะนา แกไ้ ข ข้อผดิ พลาดเป็นรายบุคคล 3.) รว่ มกนั เลน่ เกม “ ทายคาด้วยท่าทาง” วิธเี ล่นคอื ครูกาหนดภาษาท่าทางไว้ดังน้ี หัวรอ่ ใชท้ ่า ทางใหอ้ กี คนทาย ตงั้ ไข่ ใช้ทา่ ทางใหอ้ กี คนทาย เล้าไก่ ใชท้ ่า ทางใหอ้ ีกคนทาย โรงเรยี น ใช้ท่า ทางให้อกี คนทาย 4.) นักเรียนทาแบบฝกึ หัด จบั ค่คู ากับภาพ จากน้ันนาส่งครู ครเู ฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง 5.) ครแู ละนักเรยี นสรุปบทเรียนเรอื่ งการอ่านวิเคราะห์ คาร่วมกัน พรอ้ มกนั เป็นการสรุปบทเรยี น กจิ กรรมท่ี 4 การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด เวลา 1 ชัว่ โมง 1.) ครูสนทนากับนักเรยี นเรือ่ งรปู แบบตัวอักษร ครนู ารปู แบบตวั อกั ษรแบบกระทรวงศกึ ษาธิการให้ นกั เรยี นดู นักเรยี นสงั เกตลักษณะตวั อักษร 2.) ครูอธิบายหลักปฏบิ ัตใิ นการเขยี นตวั อกั ษรที่ถูกตอ้ ง โดยให้คลอบคลุมประเดน็ ตามท่กี าหนดดงั นี้ 2.1 ความถูกต้องของรปู แบบตวั อักษร 2.2 มาตรฐานของตวั อักษร 2.3 การเวน้ ช่องไฟ 2.4 การวางตาแหน่งพยัญชนะ สระและวรรณยกุ ต์ 3.) จากนน้ั เขียนเปน็ ตัวอยา่ งบนกระดานให้นักเรยี นดู อยา่ งชา้ ๆ พร้อมอธิบายประกอบ 4.) ครูใหน้ ักเรยี นช่วยกนั บอกหลกั เกณฑ์การคัดลายมอื ครสู มุ่ นักเรยี นยนื ขน้ึ ตอบทีละคน นกั เรยี น ชว่ ยกนั ตอบถา้ เพ่ือนตอบไมไ่ ด้ ครูสรปุ เพิ่มเตมิ 5.) ครูมอบหมายให้นักเรียนแตล่ ะคนคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตวั อกั ษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ จากหนงั สือ วรรณคดีลานาในหนา้ 51 ความยาว 8 บรรทัด เสร็จแล้วรวบรวมส่งครู 6.) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปหลักการคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดเปน็ การสรปุ บทเรยี น กิจกรรมท่ี 5 การแต่งประโยค เวลา 1 ชั่วโมง 1.) ครูนาแถบประโยคมาให้นกั เรยี นดู นักเรยี นอ่านแถบประโยคพรอ้ มกนั 2.) ครูนาแถบประโยคติดบนกระดาน ครูอธิบายลักษณะของประโยค ส่วนประกอบของ ประโยคทมี่ ีใจความสมบูรณ์ ประโยคทไ่ี มไ่ ด้ใจความประโยคสามส่วนประกอบดว้ ย ประธาน+ กรยิ า+กรรม เชน่ ฉันรกั เมืองไทย ฉัน= ประธาน กนิ = กรยิ า ไข่พะโล้= เปน็ กรรม------เป็นประโยคท่ีมใี จความสมบรู ณ์ 3.) ครยู กตวั อย่างรูปภาพบนกระดานใหน้ กั เรยี นช่วยกนั แต่งใหไ้ ด้ประโยคทสี่ มบรู ณ์ 4.) ครูกาหนดคาศพั ท์ประกอบรปู ภาพใหน้ กั เรยี น 10 คาใหน้ กั เรียนทุกคนทาแบบฝกึ หัดแตง่ ประโยค จากคาท่คี รูกาหนดให้ เสรจ็ แล้วส่งครู ครูตรวจผลงานนักเรียนเปน็ รายบคุ คล 5.) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ บทเรยี นเร่อื งการแต่งประโยคเป็นการสรุปบทเรียน

กจิ กรรมท่ี 6 การท่องบทอาขยาน เวลา 1 ชวั่ โมง 1.) ครูนาบทอาขยานติดบนกระดานใหน้ ักเรียนดู ครแู ละนกั เรยี นสนทนาเกี่ยวกับการนอนสมยั ยงั เดก็ 2.) ครนู าบทอาขยาน ต้งั เอย๋ ต้ังไข่ มาตดิ บนกระดานใหน้ กั เรยี นดู นกั เรยี นฝึกอา่ นบท ครนู านกั เรียน ทอ่ งบทอาขยาน เป็นทานองทไี พเราะ นักเรยี นตามครูและฝึกทอ่ งจนคล่อง 3.) นักเรยี นทดสอบทอ่ งบทอาขยาน ทีละกลมุ่ และครทู ดสอบทลี ะคนจนครบทกุ คน โดยทกุ คนต้อง ท่องบทอาขยาน ให้ถกู ต้องทงั้ เน้อื และทานองจึงจะผ่านเกณฑ์ 4.) ครูและนกั เรียนทอ่ งบทอาขยาน รว่ มกันเป็นการสรปุ บทเรียน นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ขอ้ เสรจ็ แล้วครตู รวจสอบและประกาศผลเป็นคะแนนตามจานวนข้อทีท่ าถกู และเฉลย ให้นกั เรียนฟังทลี ะข้ออย่างละเอยี ด 8.การวดั และการประเมนิ ผล เครอื่ งมือ เกณฑ์ วธิ กี าร แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน หน่วยการ (ประเมนิ ตามสภาพ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรยี น หน่วยการ เรยี นรู้ที่ 1 จริง) เรยี นรทู้ ่ี 1 แบบฝึกอา่ น ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ ทดสอบอ่านรายบุคคล แบบฝึกเขยี นตามคาบอก ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ ทดสอบเขียนตามคาบอก ตรวจแบบฝกึ คัดลายมอื แบบฝกึ คัดลายมือ รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์ อธบิ ายความหมายของคา ตรวจแบบฝึกแต่งประโยค แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ ทอ่ งจาบทอาขยาน สังเกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมนั่ ใน แบบฝึกแต่งประโยค ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ การทางาน บทอาขยาน ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น วรรณคดีลานา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1. 4) บทอาขยาน 5) แบบฝกึ อ่านแจกลูกสะกดคา 6) แบบฝึกเขยี นตามคาบอก 7) แบบฝึกเขียนคาประกอบภาพ 8) แบบฝกึ แตง่ ประโยค 9) แบบฝกึ คดั ลายมือ 10)แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรยี น 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อินเทอรเ์ นต็

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 3 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 ต้ังเอย๋ ต้งั ไข่ เรื่อง การอา่ นแจกลกู สะกดคา 1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การอา่ นแจกลกู สะกดคาเปน็ กระบวนการขน้ั พน้ื ฐานของการนา เสียงพยญั ชนะตน้ สระ วรรณยกุ ต์ และเสยี งตวั สะกดมาประสมเสยี งกนั ทาใหอ้ อกเสียงคาตา่ ง ๆทม่ี คี วามหมาย ในภาษาไทยการแจกลูกและการ สะกดคา บางครงั้ เรียกรวมกันว่า “การแจกลูกสะกดคา ” 2. ตัวชว้ี ัด ท1.1ป.1/1 อ่านออกเสยี งคาและขอ้ ความสั้น ๆ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อา่ นแจกลกู สะกดคามาตราแมก่ บ ทส่ี ะกดตรงตามมาตราไดถ้ กู ตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา 2. อา่ นแจกลกู สะกดคามาตราแม่กบ ท่สี ะกดไม่ตรงตามมาตราได้ถูกตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา 3. อ่านสะกดคาจากเร่ืองทอ่ี ่านไดถ้ ูกตอ้ งรอ้ ยละ 70 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - หลกั การอา่ นแจกลูกสะกดคา 4.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น - บทอาขยาน 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั การทางาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 การอ่านแจกลกู สะกดคามาตราแมก่ บ ท่สี ะกดตรงตามมาตรา ใชว้ ธิ สี อนแบบบนั ได 6 ข้นั ; ขน้ั ท่ี 1 ฝกึ อ่านทกุ วันจากงา่ ยไปยาก ข้ันนา 1.) นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน บทท่ี 15 ต้งั เอ๋ย ต้ังไข่ จานวน 10 ขอ้ เสร็จแลว้ ครู ตรวจสอบและประกาศผลเป็นคะแนนตามจานวนข้อท่ีทาถูก โดยท่ียงั ไม่ต้องเฉลย 2.)ครูนาบตั รคามาตราแม่ กบ สะกดตรงตามมาตรา ให้นักเรยี นดูให้นกั เรียนทกุ คนออกเสยี งพรอ้ มกนั ขัน้ สอน 3.) ครสู นทนากบั นักเรยี นการอา่ นแจกลกู สะกดคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตรา ครูออกเสียงให้ นกั เรยี นฟงั นักเรยี นออกเสียงตาม

4.) ครูอธบิ ายหลักการ อ่านแจกลกู สะกดคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตรา 5.) ครอู ธบิ ายหลักการพร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ เช่น กับ อาบ จบิ โฉบ เก็บ เรยี บ เกือบ ลูบ บวบ 6.) ครสู ุ่มนกั เรยี นหลาย ๆคนบอกหลักการอ่านแจกลกู สะกดคา และครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้นักเรยี น เข้าใจยิ่งขนึ้ นกั เรยี นฝึกอ่านแจกลกู สะกดคาพรอ้ มกนั ทกุ คนจนคล่อง 7.) ครูทดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเปน็ คาท่ีไม่ซา้ กัน ทุกคนตอ้ งอ่านให้ได้ 7 คาจาก 10 คาจึง จะผ่านเกณฑถ์ ้าใครไมถ่ ึง 7 คาให้ฝกึ อา่ นแล้วมาสอบใหมจ่ นกว่าจะผา่ น ขนั้ สรปุ 8.) ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ วธิ กี ารอ่านแจกลูกสะกดคาพร้อมกนั นักเรยี นฝึกอ่านแจกลกู สะกดคา จากบัตรคานอกตาราเรียนท่ีครเู ตรียมมาเปน็ การสรุปบทเรยี น ชัว่ โมงท่ี 2 การอ่านแจกลูกสะกดคามาตราแมก่ บ ท่สี ะกดไม่ตรงตามมาตรา ใช้วิธีสอนแบบบนั ได 6 ขน้ั ; ข้นั ที่ 1 ฝึกอ่านทกุ วนั จากงา่ ยไปยาก ขั้นนา 1.) ครนู าบตั รคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตรา ใหน้ ักเรียนดูนกั เรยี นสังเกตลักษณะของคา ขน้ั สอน 2.)ครูอธบิ ายคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตรา ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจพร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ เชน่ ลาภ รปู ภาพ โลภ ลิฟต์ กราฟ ซปุ สาป สรุป นักเรียนฝกึ อา่ นแจกลกู สะกดคาพรอ้ มกนั ทกุ คนจนคล่อง 3.) ครูทดสอบทีละคน คนละ 10 คาโดยเปน็ คาที่ไมซ่ ้ากนั ทกุ คนต้องอา่ นใหไ้ ด้ 7 คาจาก 10 คาจึง จะผ่านเกณฑถ์ า้ ใครไมถ่ ึง 7 คาใหฝ้ กึ อา่ นแล้วมาสอบใหม่จนกว่าจะผ่าน ขน้ั สรปุ 4.) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปวิธีการอ่านแจกลูกสะกดคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตรา พรอ้ มกนั นกั เรยี นฝึกอา่ นแจกลูกสะกดคาจากบัตรคานอกตาราเรียนทคี่ รูเตรียมมาเป็นการสรปุ บทเรยี น ช่ัวโมงท่ี 3 การอา่ นแจกลูกสะกดคาจากเร่ืองที่อ่าน ใชว้ ิธีสอนแบบบนั ได 6 ขั้น ; ขน้ั ที่ 1 ฝึกอา่ นทกุ วนั จากง่ายไปยาก กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นา 1.) ร่วมกันสนทนากบั นักเรียน จากบทเรียนท่เี รียนผ่านมา เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนเร่ืองตอ่ ไป ขั้นสอน 2.) ครเู ขียนคาว่า ไข่เคม็ ยกมอื สนี า้ ตาล หวั ร่อ ไขพ่ ะโล้ กระดาษ ผลไม้ โรงเรียน ตั้งไข่ เล้าไก่ บนกระดานดาครนู านกั เรยี นอ่านสะกดคา นกั เรียนอ่านสะกดคาตามพร้อมกันจนคล่องจากนน้ั ให้อา่ น ทีละคน 3.) ครูทดสอบอ่านทีละคน นกั เรียนต้องอา่ นให้ไดร้ อ้ ยละ 70 ขน้ึ ไปจึงผา่ นเกณฑ์ คนที่ไม่ผ่านตอ้ งฝึก อา่ นจนคล่องแลว้ มาสอบใหม่จนกว่าจะผ่าน 4.) นักเรียนทีอ่ า่ นผา่ นเกณฑแ์ ลว้ ครูใหท้ าแบบฝึกหดั สง่ ครู ครูตรวจสอบความถูกต้องและเฉลย

ขนั้ สรปุ 5.) นักเรียนอ่านออกเสียงคาจากบทอ่านวิเคราะห์ ต้ังแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้ายเป็นการสรุป บทเรียน 8. การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ที่ 13 ที่ 13 ประเมินการอา่ น แบบฝึกอ่าน อา่ นได้ถูกต้อง7คาจาก10คา หนังสือเรยี นวรรณคดีลานาชน้ั ป.1 อา่ นเร่อื งได้ถกู ตอ้ งร้อยละ 70 สังเกตการใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อเวลา มีความ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รับผิดชอบ และมงุ่ มั่นในการทางาน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน วรรณคดีลานา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2) ชดุ ฝึกอา่ น 3) แบบทดสอบก่อนเรยี น 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อินเทอรเ์ น็ต

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 3 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 ต้ังเอย๋ ต้ังไข่ เรื่อง การเขียนสะกดคา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การเขียนสะกดคา ผู้เรียนตอ้ งเรยี นรทู้ งั้ ในดา้ นองคป์ ระกอบของคา หลักการเขียนสะกดคา หลักการ ประสมคาการวางรูปพยัญชนะตน้ สระตัวสะกดและวรรณยกุ ตไ์ ด้อย่างถูกตอ้ งร้จู ักสังเกตจดจาลักษณะของคา ทีอ่ า่ น เพอื่ นาไปสกู่ ารเขยี นคาที่ถกู ต้อง 2. ตวั ช้วี ัด ท 4.1ป.1/2 เขียนสะกดคาจากเร่ืองทอ่ี ่าน 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. เขียนคามาตราแม่กบ ทสี่ ะกดตรงตามมาตราได้ถกู ต้อง 7 คาจาก 10 คา 2. เขียนคามาตราแม่กบ ที่สะกดไม่ตรงตามมาตราไดถ้ ูกต้อง 7 คาจาก 10 คา 3. เขียนคาจากเรือ่ งทอี่ ่านได้ถูกตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - หลักการประสมคา 4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ - บทอ่านวิเคราะห์ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 5.2 ความสามารถในการคิด 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ ม่ันในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่วั โมงท่ี 1. การเขยี นสะกดคามาตราแมก่ บ ท่ีสะกดตรงตามมาตรา ใชว้ ิธสี อนแบบบันได 6 ขน้ั ; ขั้นที่ 2 เขยี นตามคาบอกจากส่งิ ทอี่ า่ น ขน้ั นา 1.) ครูนาบตั รคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตราใหน้ กั เรียนอา่ นพรอ้ มกนั เป็นการทบทวน ขัน้ สอน 1.) ครูนาบตั รคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตราให้นกั เรียนอา่ นพร้อมกนั เป็นการทบทวน 2.) ครอู ธิบายหลกั การเขยี นสะกดคาและยกตวั อยา่ งการเขยี นให้นกั เรียนดเู ป็นตัวอยา่ งนักเรียนสังเกต จดจา นักเรียนฝึกอา่ นสะกดคาพรอ้ มกันอีกครงั้ จนคล่อง 3.) ครูใหน้ กั เรยี นเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครตู รวจผลงาน สาหรบั นกั เรียนที่ไมผ่ า่ นให้คัดคาท่ี เขียนไมไ่ ด้ คาละ 2 ครงั้ แล้วมาสอบเขียนใหมจ่ นกวา่ จะผ่าน

ขนั้ สรปุ 4.) ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ การเขียนสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดตรงตามมาตราเป็นการสรปุ บทเรยี น ช่วั โมงท่ี 2. การเขยี นสะกดคามาตราแมก่ บ ท่สี ะกดไม่ตรงตามมาตรา ใชว้ ิธีสอนแบบบันได 6 ขนั้ ; ขัน้ ท่ี 2 เขียนตามคาบอกจากส่งิ ท่อี า่ น ข้นั นา 1.) ครูนาบตั รคามาตราแม่กบ สะกดไม่ตรงตามมาตราให้นักเรยี นอา่ นพร้อมกนั เป็นการทบทวน นกั เรียน สงั เกตและจดจาลักษณะของคามาตราแมก่ บ สะกดไมต่ รงตามมาตรา ขน้ั สอน 2.) ครูอธิบายหลักการเขียนสะกดคาและยกตัวอยา่ งการเขียนใหน้ กั เรยี นดูเป็นตัวอยา่ งนักเรียนสงั เกต จดจา นักเรียนฝกึ อ่านสะกดคาพร้อมกันอีกครงั้ จนคล่อง 3.) ครใู ห้นกั เรยี นเขยี นตามคาบอกของครู 10 คา ครูตรวจผลงานนกั เรยี นตอ้ งเขียนสะกดคาถกู ต้อง 7 คา จาก10 คาจึงผา่ นเกณฑ์สาหรบั คนท่ผี า่ นเกณฑค์ รใู หท้ าใบงานส่งครู สว่ นคนท่ีไม่ผ่านให้ คัดคา ทไ่ี ม่ผ่าน 2 คร้ังและฝกึ เขียนใหม่จนกวา่ จะผ่าน 4.) ครแู ละนกั เรยี นสรปุ การเขยี นสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดไมต่ รงตามมาตรา เปน็ การสรุปบทเรยี น ขน้ั สรปุ 4.) ครูและนกั เรียนสรุปการเขยี นสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา เปน็ การสรปุ บทเรยี น ชวั่ โมงที่ 3. การเขียนสะกดคาจากเร่ืองท่ีอา่ น ใชว้ ิธสี อนแบบบันได 6 ขั้น ; ข้ันที่ 2 เขียนตามคาบอกจากเร่อื งที่อ่าน ขั้นนา 1.) ครใู ห้นกั เรยี นอา่ นบทอ่านจากเรื่องทผ่ี ่านมา เปน็ การทบทวน นักเรียนสังเกต จดจาลักษณะการ เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ตข์ องคาแต่ละคา ขน้ั สอน 2.) ครูอธบิ ายหลกั การเขยี นสะกดคาและยกตวั อยา่ งการเขยี นให้นักเรียนดเู ป็นตวั อยา่ งนักเรียนสงั เกต จดจา นกั เรียนฝกึ อา่ นสะกดคาพร้อมกันอีกครงั้ จนคลอ่ ง 3.) ครูให้นกั เรยี นเขียนตามคาบอกของครู 10 คา ครูตรวจผลงานนกั เรียนตอ้ งเขียนสะกดคาถกู ต้อง 7 คาจาก 10 คาจงึ ผ่านเกณฑ์ สาหรบั คนที่ผ่านเกณฑค์ รใู หท้ าใบงานสง่ ครู สว่ นคนท่ไี มผ่ ่านให้คดั คา ทไ่ี ม่ผา่ น 2 ครั้งและ ฝกึ เขยี นใหม่จนกวา่ จะผ่าน ขน้ั สรปุ 4.) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ วธิ ีการเขยี นสะกดคาจากเรอ่ื ง เป็นการสรุปบทเรียน 8. การวัดและประเมินผล เคร่ืองมือ เกณฑ์ วธิ กี าร ตรวจแบบฝกึ เขยี นตามคาบอก แบบฝึกเขยี นตามคาบอก เขียนสะกดคาถูกตอ้ ง7คาจาก 10คา สงั เกตการใฝ่เรียนรู้ ตรงตอ่ เวลา มคี วาม แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รับผิดชอบ และมุง่ ม่ันในการทางาน

9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน วรรณคดลี านา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2) แบบฝกึ อา่ น 3) แบบฝกึ เขียนตามคาบอก 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) อนิ เทอร์เนต็

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 ต้ังเอ๋ย ต้ังไข่ เรอ่ื ง การอา่ นและบอกความหมายของคา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ความหมายของคา คือ สงิ่ ทีค่ าจะบอกถึงว่าหมายถึงอะไร คา มีความหมายว่า เสียงท่ีเปล่งออกมาแลว้ ตอ้ งมคี วามหมายด้วย ดังน้ันคาจึงประกอบด้วย เสียงและความหมายถ้ามีแค่เสยี งไมม่ ีความหมายจึงเรียกว่า พยางค์ สาหรับนกั เรียนท่ีพ่ึงเรมิ่ ฝกึ อ่านใหมต่ ้องศึกษาความหมายของคาไปดว้ ย เพ่อื นาไปสกู่ ารใช้คาภาษาไทย ที่ถูกตอ้ ง 2. ตัวช้ีวัด ท 1.1ป.1/2 บอกความหมายของคาท่ีอ่าน 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของคาจากเร่ืองทีอ่ ่านได้ 2. อา่ นคาแลว้ จับคู่คากับรูปภาพได้ถกู ต้อง 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การวิเคราะหค์ า - การบอกความหมายของคา 4.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน - บทอา่ นวิเคราะห์ 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ เวลา 1 ชัว่ โมง เร่ืองที่ การอ่านและบอกความหมายของคา ใช้วิธีสอนแบบบันได 6 ข้ัน ; ขน้ั ท่ี 3 เขยี นคาประกอบภาพ ขั้นนา 1.) ครูตดิ บัตรคาและรปู ภาพจากร้จู ักคานาเรอ่ื ง บนกระดานดา ให้นักเรียนดูและชว่ ยกนั ตอบคาถาม ขัน้ สอน 2.) นักเรียนอา่ นหนงั สือเรียน วรรณคดีลานา หนา้ 54 พร้อมกัน ครสู ุม่ อา่ นทีละคนครูแนะนาแก้ไข ขอ้ ผิดพลาดเปน็ รายบุคคล 3.) รว่ มกันเลน่ เกม “ ทายคาด้วยท่าทาง” วธิ เี ล่นคอื ครูกาหนดภาษาท่าทางไวด้ งั น้ี หวั รอ่ ใช้ทา่ ทางให้อกี คนทาย

ต้งั ไข่ ใชท้ า่ ทางใหอ้ ีกคนทาย เล้าไก่ ใช้ทา่ ทางให้อกี คนทาย โรงเรยี น ใชท้ ่า ทางใหอ้ กี คนทาย 4.) นกั เรียนทาแบบฝกึ หัด จับคคู่ ากบั ภาพ จากนน้ั นาส่งครู ครเู ฉลยและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ข้นั สรปุ 5.) ครูและนักเรยี นสรุปบทเรยี นเร่ืองการอ่านวเิ คราะห์ คาร่วมกนั พรอ้ มกันเปน็ การสรปุ บทเรยี น 8. การวัดและประเมินผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ วิธกี าร ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหดั จบั คู่คากบั ภาพ จับคู่คาไดถ้ ูกตอ้ ง 7 คาจาก 10 คา สังเกตการใฝ่เรยี นรู้ ตรงตอ่ เวลา มีความ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รับผดิ ชอบ และมุ่งมั่นในการทางาน 9. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี น วรรณคดลี านา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 2) แบบฝึกหดั จบั ค่คู ากับภาพ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ 2. อนิ เทอร์เน็ต

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 1 ชั่วโมง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 6 ตั้งเอ๋ย ตัง้ ไข่ เรอ่ื ง การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การคดั ลายมือ เปน็ การเขียนฝึกเขียนตวั อกั ษรไทยใหถ้ กู ต้องตามหลกั การเขียนโดยการเขยี นใหอ้ า่ น งา่ ย มชี อ่ งไฟ และวรรคตอนเหมาะสม ตวั อกั ษรเสมอกนั วางพยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ตถ์ กู ที่ ตัวสะกด การันต์ถกู ต้องและลายมอื สวยงามเปน็ ระเบียบ 2. ตวั ช้วี ัด ท 2.1 ป.1/1 คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายหลักการคักลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดไดถ้ ูกต้อง 2. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทยได้ถูกตอ้ งและสวยงาม 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - หลักการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรปู แบบการเขียนตวั อกั ษรไทย 4.2 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถน่ิ - บทอาขยาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ใชว้ ธิ ีสอนแบบบนั ได 6 ข้ัน ; ขั้นท่ี 4 คดั ลายมือ ขั้นนา 1.) ครสู นทนากับนกั เรยี นเร่อื งรูปแบบตัวอกั ษร ครนู ารูปแบบตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการให้ นักเรียนดู นักเรียนสงั เกตลกั ษณะตวั อกั ษร ขน้ั สอน 2.) ครอู ธบิ ายหลกั ปฏิบตั ิในการเขียนตัวอกั ษรที่ถูกต้อง โดยใหค้ ลอบคลุมประเด็นตามที่กาหนดดงั น้ี 2.1 ความถูกตอ้ งของรูปแบบตวั อกั ษร 2.2 มาตรฐานของตัวอกั ษร 2.3 การเว้นช่องไฟ 2.4 การวางตาแหนง่ พยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ต์ 3.) จากน้ันเขยี นเป็นตวั อย่างบนกระดานใหน้ ักเรยี นดู อย่างช้าๆ พร้อมอธิบายประกอบ

4.) ครูให้นักเรียนชว่ ยกันบอกหลกั เกณฑก์ ารคัดลายมอื ครูสมุ่ นักเรียนยนื ข้ึนตอบทลี ะคน นักเรยี น ช่วยกนั ตอบถา้ เพือ่ นตอบไม่ได้ ครสู รปุ เพ่ิมเติม 5.) ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตวั อักษรแบบ กระทรวงศึกษาธกิ ารจากหนงั สอื วรรณคดีลานา ในหน้า 51 ความยาว 8 บรรทัดเสร็จแลว้ รวบรวมส่ง ครู ขัน้ สรปุ 6.) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรปุ หลักการคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั เป็นการสรปุ บทเรยี น 8. การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝกึ คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด คดั ลายมอื ได้ถกู ตอ้ งสวยงาม สงั เกตการใฝ่เรยี นรู้ ตรงต่อเวลา มคี วาม แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ รบั ผดิ ชอบ และมงุ่ มัน่ ในการทางาน 9. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน วรรณคดีลานา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2) แบบฝึกคดั ลายมือ 3) ตัวอยา่ งรูปแบบตัวอกั ษรกระทรวงศึกษาธกิ าร 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) อินเทอร์เน็ต

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 5 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 1 ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ต้ังเอ๋ย ต้งั ไข่ เร่ือง การแตง่ ประโยค 1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด ประโยคคอื คาทีน่ ามาเรยี งกันและได้ใจความสมบูรณ์ทาให้ผู้ฟังเข้าใจวา่ ใครทาอะไรท่ีไหน ทาอาการ อยา่ งไร ประโยคประกอบด้วยสองส่วนสาคญั คือ 1. ภาคประธานไดแ้ กผ่ ้กู ระทากรยิ า 2. ภาคแสดงไดแ้ กส่ ว่ น ทีเ่ ปน็ กรยิ า คอื แสดงการกระทาของประธาน 2. ตวั ชี้วัด ท 4.1 ป.1/3 เรียบเรยี งคาเป็นประโยคงา่ ย ๆ 3.จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกส่วนประกอบของประโยคได้ถกู ตอ้ ง 2. แตง่ ประโยคจากภาพได้ถกู ตอ้ ง 7 ประโยคจาก 10 ประโยค 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง - สว่ นประกอบของประโยค - การแตง่ ประโยค 4.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ - บทอ่านวิเคราะห์ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 5.1 ความสามารถในการส่ือสาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้วิธสี อนแบบบันได 6 ขั้น ; ข้ันท่ี 5 แต่งประโยค ขัน้ นา 1.) ครูนาแถบประโยคมาให้นักเรยี นดู นักเรียนอ่านแถบประโยคพรอ้ มกนั ขัน้ สอน 2.) ครูนาแถบประโยคติดบนกระดาน ครูอธบิ ายลักษณะของประโยค สว่ นประกอบของ ประโยคทีม่ ใี จความสมบูรณ์ ประโยคทไ่ี ม่ได้ใจความประโยคสามสว่ นประกอบด้วย ประธาน+ กรยิ า+กรรม เชน่ ฉันรกั เมืองไทย ฉนั = ประธาน กนิ = กรยิ า ไขพ่ ะโล้= กรรม ------เป็นประโยคท่ีมีใจความสมบูรณ์

3.) ครูยกตวั อย่างรูปภาพบนกระดานใหน้ กั เรียนช่วยกันแตง่ ให้ไดป้ ระโยคท่สี มบรู ณ์ 4.) ครูกาหนดคาศพั ทป์ ระกอบรปู ภาพให้นักเรียน 10 คาให้นกั เรยี นทกุ คนทาแบบฝกึ หดั แตง่ ประโยค จากคาทคี่ รกู าหนดให้ เสรจ็ แลว้ สง่ ครู ครูตรวจผลงานนักเรยี นเปน็ รายบุคคล ข้ันสรุป 5.) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ บทเรยี นเรอื่ งการแต่งประโยคเป็นการสรุปบทเรียน 8. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์ แต่งประโยคไดถ้ กู ต้อง ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกแต่งประโยค 7 ประโยคจาก 10 ประโยค สังเกตการใฝเ่ รยี นรู้ ตรงตอ่ เวลา มคี วาม แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รบั ผิดชอบ และม่งุ ม่นั ในการทางาน 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน วรรณคดีลานาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) แบบฝกึ แตง่ ประโยคจากภาพ 3) แถบประโยค 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) อินเทอร์เนต็

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย เวลา 1 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ตั้งเอย๋ ต้งั ไข่ เร่อื ง การท่องจาบทอาขยาน 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด บทอาขยานมคี วามสาคัญเพราะการท่องบทอาขยาน เปน็ การฝกึ การอ่านหนังสือทท่ี าให้เด็ก สนกุ สนานเพราะไดอ้ า่ นเป็นทานองทีไ่ พเราะ การได้ท่องจาเปน็ จังหวะเป็นพนื้ ฐานของการเรยี นรู้ การขับร้อง และดนตรีเพื่อให้นกั เรยี นไดร้ ้จู ักและซาบซงึ้ ในในท่วงทานอง สร้างความสนกุ สนานใหก้ บั ท้ังผ้รู ้องและผู้ฟงั อีก ทง้ั ยงั ร้องงา่ ยและเป็นพ้นื ฐานให้กับผเู้ ริ่มฝึกอ่านเปน็ อยา่ งดี 2. ตวั ชว้ี ัด ป.1/2 ทอ่ งจาบทอาขยานตามทีก่ าหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคณุ ค่าตามความสนใจ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายหลักการทอ่ งบทอาขยาน ตงั้ เอ๋ย ต้ังไข่ได้ 1. ท่องจาบทอาขยานได้ถูกตอ้ งและไพเราะ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การรอ้ งทอ่ งจาบทอาขยาน 4.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ - บทอาขยาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการส่อื สาร 5.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใชว้ ิธกี ารสอนแบบ การท่องบทอาขยาน ขัน้ นา 1.) ครนู าบทอาขยานติดบนกระดานให้นักเรยี นดู ครแู ละนกั เรียนสนทนาเก่ยี วกับการนอนสมยั ยงั เดก็ ขั้นสอน 2) ครอู ธบิ ายหลกั การทอ่ งบทอาขยานใหน้ ักเรยี นฟงั และสาธติ ท่องบทอาขยานให้นักเรียนฟัง 3.) ครนู าบทอาขยาน รักเมืองไทย มาติดบนกระดานใหน้ กั เรยี นดู ครสู ุ่มนักเรียนอธบิ ายหลักการทอ่ ง บทอาขยานให้เพอ่ื นฟัง นักเรียนฝกึ ทอ่ งบทอาขยาน ครูนานักเรยี นทอ่ งบทอาขยาน ต้ังเอย๋ ต้งั ไข่ เป็น ทานองทีไพเราะ นกั เรียนทอ่ งตามครแู ละฝึกทอ่ งจนคล่อง

4.) นกั เรยี นทดสอบท่องบทอาขยาน ตัง้ เอย๋ ตั้งไข่ ทลี ะกล่มุ และครทู ดสอบทีละคนจนครบทุกคน โดยทกุ คนตอ้ ง ท่องบทอาขยาน ให้ถกู ตอ้ งท้งั เนอื้ และทานองจงึ จะผา่ นเกณฑ์ ขน้ั สรปุ 5.) นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 10 ข้อ เสรจ็ แล้วครตู รวจสอบและประกาศผลเปน็ คะแนนตามจานวนขอ้ ที่ทาถูก และเฉลยใหน้ กั เรียนฟงั ทลี ะขอ้ อยา่ งละเอยี ดครูและนักเรยี นทอ่ งบท อาขยาน รกั เมืองไทย รว่ มกนั เปน็ การสรุปบทเรียน 8. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ (ประเมินตามสภาพจริง) ท่ี 1 ที่ 1 - ท่องจาบทอาขยานได้ถูกต้อง ทดสอบท่องบทอาขยาน บทอาขยาน และไพเราะ สังเกตการใฝเ่ รยี นรู้ ตรงตอ่ เวลา มีความ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รับผิดชอบ และมุง่ มนั่ ในการทางาน 9. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียน วรรณคดีลานา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2) บทอาขยาน 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) อนิ เทอร์เน็ต 2) ห้องสมดุ

แบบฝกึ อ่านท่ี 1.1 การอ่านแจกลูกสะกดคามาตราแม่กบ สะกดตรงตามมาตรา คาชแี้ จง 1. ให้นกั เรียนอา่ นสะกดคา ภายในเวลา ๕ นาที 2. ครยู กตัวอยา่ งการอ่านสะกดคา ตัวอยา่ ง กบั สะกดวา่ กอ – อะ – บอ - กบั ขอ้ ที่ คา ผลการประเมิน อา่ นได้ อา่ นไม่ได้ 1 เกยี บ 2 ดาบ 3 โฉบ 4 เกอื บ 5 ตับ 6 แลบ 7 ฟบุ 8 ตูบ 9 บวบ 10 จบิ ชอ่ื ผรู้ บั การประเมนิ ……………………………………………………………………….ชน้ั ……………เลขท่ี………… คะแนนทไ่ี ด้……………………………………ผา่ น………………ไม่ผา่ น………………. ผ้ปู ระเมิน………………………………………. เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน 7- 10 ต่ากวา่ 7 ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์

แบบฝกึ อา่ นท่ี 1.2 การอ่านสะกดคามาตราแมก่ บ สะกดไม่ตรงตามมาตรา คาชแี้ จง 1. ใหน้ ักเรียนอ่านสะกดคา ภายในเวลา 5 นาที 2. ครยู กตวั อยา่ งการอ่านสะกดคา ตัวอยา่ ง ลาภ สะกดวา่ ลอ – อา –พอ- ลาบ ขอ้ ท่ี คา ผลการประเมิน อ่านได้ อา่ นไม่ได้ 1 โลภ 2 รปู 3 ภาพ 4 กราฟ 5 ยรี าฟ 6 คาสาป 7 สุภาพ 8 ลิฟต์ 9 ซุป 10 สรุป ชื่อผู้รบั การประเมนิ ……………………………………………………………………….ชนั้ ……………เลขท่ี………… คะแนนทีไ่ ด้…………………………………….ผ่าน……………..ไมผ่ ่าน……………… ผปู้ ระเมนิ ………………………………………. เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน 7- 10 ต่ากวา่ 7 ระดบั คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ า่ นเกณฑ์