การมีส่วนร่วมในการเลือกตั้ง มีอะไรบ้าง

การปกครองระบบประชาธิปไตยนั้นเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชนเพื่อประชาชน ที่มุ่งเน้นอุดมการณ์สำคัญในเรื่องของความเสมอภาค เสรีภาพ ภารดรภาพ และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนซึ่งการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาระบบการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย เพราะการมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็นดัชนีชี้วัดที่สำคัญ ประการหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย สังคมใดจะมีระดับความเป็นประชาธิปไตยสูง ในทางตรงกันข้าม ถ้าสังคมใดมีระดับการมีส่วนร่วมต่ำ แสดงว่าสังคมนั้นมีระดับความเป็นประชาธิปไตยต่ำ โดยนัยนี้อาจถือได้ว่าการพัฒนาทางการเมืองคือ การทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง ความสำเร็จของการพัฒนาทางการเมืองจึงเกิดขึ้นกับระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเป็นสำคัญ ดังนั้นการมีส่วนร่วมทางการเมืองจึงเป็นเป้าหมายของการพัฒนาทางการเมืองโดยตรง โดยเฉพาะการพัฒนาทางการเมืองให้เป็นประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตยนั้นมีหลายรูปแบบ เช่น การชักจูงผู้อื่นให้เลือกตั้งผู้ที่ตนสนับสนุน การบริจาคเงินสนับสนุนทางการเมือง การชุมนุมทางการเมือง การเป็นสมาชิกของพรรคการเมือง การลงสมัครรับเลือกตั้ง การใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ฯลฯ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นการเลือกบุคคลตามความต้องการสู่กระบวนการทางการเมือง ซึ่งเปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความสามารถได้เข้าไปทำงานทางการเมือง โดยผ่านการเลือกตั้งจากประชาชนเพื่อเข้ามาทำงานฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ การเลือกตั้งเป็นกิจกรรมที่สำคัญยิ่งในกระบวนการทางการเมืองและการปกครองเพราะการเลือกตั้งเป็นการแสดงออกซึ่งเจตจำนงของประชาชนในการปกครองประเทศรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มีเจตนารมณ์ให้ประชาชนชาวไทยมีส่วนร่วมในการเลือกตัวแทนเข้าสู่ระบบการเมืองการปกครอง โดยกำหนดให้บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งมีหน้าที่ต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้งมีหน้าที่ต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ซึ่งจำนวน ส.ส. ของประเทศไทยที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันคือ ๔๘๐ คนโดยแบ่งเป็น ๒ ประเภท อันได้แก่ ส.ส. ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง แบบแบ่งเขตการเลือกตั้งจำนวน ๔๐๐ คน และ ส.ส. ซึ่งมากจากการเลือกเลือกตั้งแบบสัดส่วนจำนวน ๘๐ คน การเลือกตั้ง ส.ส. ให้ใช้วิธีการเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับหลัง โดยให้ใช้บัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบละหนึ่งใบ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้ส่งเสริมให้ปวงชนชาวไทยมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ส.ส. ที่แม้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ วิธีการ จากเดิมไปบ้าง แต่ยังมีความสำคัญอยู่เพราะเป็นการเปิดโอกาสให้คะแนนเสียงของประชาชนเป็นเสมือนเสียงสวรรค์ ที่จะเลือกสรรบุคคลไปทำหน้าที่ในการบริหารจัดการบ้านเมืองให้ธำรง/ดำรงคงอยู่และเจริญ พัฒนาแทนตนเองแบบมีสัญญาประชาคมต่อกัน ดังนั้นทุกคนจึงควร ตระหนักถึงความสำคัญของการไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ส.ส. เพื่อคัดสรรตัวแทนที่ดีมีคุณภาพและคุณธรรมเข้าสู่ระบบการบริหารจัดการของรัฐตามวัตถุประสงค์ของการปกครองระบบประชาธิปไตย

                ประเทศไทยนั้นได้มีความพยายามในการสร้างระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยมามากกว่า 50 ปี แต่เหตุสำคัญที่ทำให้พรรคการเมืองนั้นยังคงอ่อนแอ เนื่องจากอำนาจของผู้ปกครองที่ผ่านมาในประเทศไทยนั้น หลายครั้งที่ไม่ได้อาศัยพรรคการเมืองเป็นฐาน พรรคการเมืองเองนั้นก็ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนโดยการเข้าเป็นสมาชิกพรรคการเมืองนั้น จึงยังถือได้ว่า ไม่น่าพอใจและมีประสิทธิภาพเท่าที่ควรจะเป็นนัก

การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ ได้ปิดฉากลงเมื่อวันที่ 13 พ.ย. โดยมีการบรรลุข้อตกลงเพื่อควบคุมปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการผลักดันให้ยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล

อย่างไรก็ตาม ผู้นำและนักรณรงค์ด้านสภาพภูมิอากาศหลายคนระบุว่า ข้อตกลงนี้ยังไม่มีมาตรการเพียงพอที่จะควบคุมอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้สูงขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียสได้

โดยในนาทีสุดท้ายก่อนหน้าจะมีการบรรลุข้อตกลงนี้ จีนและอินเดียได้ขอให้มีการแก้ไขถ้อยคำในข้อตกลงว่าด้วยการใช้พลังงานถ่านหิน ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกมากที่สุด จากเดิมคือคำว่า "ยุติการใช้" มาเป็นคำว่า "ลดการใช้" พลังงานถ่านหิน

แม้ว่านายอาล็อก ชาร์มา ประธานการประชุม ระบุว่า การแก้ไขถ้อยคำดังกล่าวไม่ได้หมายความว่าข้อตกลงนี้ล้มเหลว พร้อมยืนยันว่า "ข้อตกลงครั้งประวัติศาสตร์นี้" จะช่วยให้คงเป้าหมายในการจำกัดอุณหภูมิโลกไม่ให้สูงขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียสได้

อย่างไรก็ตาม นายชาร์มา ได้กล่าวแสดง "ความเสียใจอย่างยิ่ง" ที่ผลการประชุมออกมาในรูปนี้ พร้อมระบุว่า อินเดียและจีนจะต้องอธิบายตัวเองต่อประเทศที่มีความเสี่ยงอันตรายจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุด

นายอันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ (ยูเอ็น) แสดงความยินดีกับข้อตกลงนี้ แต่เน้นว่ามันยัง "ไม่เพียงพอ" โดยชี้ว่า "เรายังคงใกล้จะเปิดประตูแห่งภัยพิบัติทางสภาพอากาศ"

COP26 คืออะไร และทำไมจึงมีการประชุมนี้ขึ้น

โลกกำลังร้อนขึ้น เพราะการปล่อยมลพิษของเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน น้ำมัน และแก๊ส จากการกระทำของมนุษย์

การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศมีส่วนทำให้เกิดสภาพอากาศรุนแรงต่าง ๆ มากขึ้นทั้งคลื่นความร้อน น้ำท่วม และไฟป่า ช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เป็นช่วงที่อุณหภูมิโลกสูงสุดเท่าที่เคยมีการบันทึกสถิติไว้ และรัฐบาลต่าง ๆ เห็นตรงกันว่าต้องร่วมมือกันอย่างเร่งด่วนในการแก้ปัญหานี้

COP ย่อมาจาก "Conference of the Parties" หรืออาจแปลได้ว่าการประชุมสมัชชาประเทศ และนี่เป็นการประชุมสุดยอดประจำปีครั้งที่ 26 และในการประชุมครั้งนี้ 200 ประเทศมีพันธสัญญาที่จะต้องยื่นแผนการลดการปล่อยคาร์บอนภายในปี 2030

ภายใต้ข้อตกลงปารีสปี 2015 ประเทศต่าง ๆ ถูกขอให้สร้างความเปลี่ยนแปลงเพื่อรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มเกิน 2 องศาเซลเซียส และให้พยายามตั้งเป้าไว้ที่ 1.5 องศาเซลเซียส เพื่อที่จะป้องกันหายนะภัยทางด้านสภาพภูมิอากาศ

เป้าหมายคือการตัดลดการปล่อยคาร์บอนจนกระทั่งถึงเป้าหมายเป็นศูนย์ภายในปี 2050

ข้อตกลงนี้ขอให้ประเทศต่าง ๆ ตีพิมพ์แผนปฏิบัติการภายในสิ้นปีหน้า โดยที่มีเป้าหมายสูงขึ้นในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2030

ถ้อยคำในข้อตกลงฉบับนี้ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นที่กลุ่มประเทศพัฒนาแล้วจะต้องเพิ่มเงินช่วยเหลือแก่ประเทศที่ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ให้สูงกว่าเป้าหมายปัจจุบันที่ 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพื่อช่วยประเทศเหล่านี้ในการปรับตัวและรับมือ

แม้ข้อตกลงนี้จะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นการกำหนดแนวทางและเป้าหมายเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิในช่วง 10 ปีข้างหน้า

มีการตกลงอะไรกันอีกบ้างในกลาสโกว์

นอกจากร่างข้อตกลงที่ถือเป็นผลลัพธ์สำคัญที่สุดของการประชุม COP ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผู้แทนนานาประเทศและจากทุกภาคส่วนมารวมตัวกัน ยังมีการประกาศหลายเรื่องที่น่าสนใจ ดังนี้

หนึ่งในการประกาศที่สร้างความน่าประหลาดใจให้ผู้ติดตามการประชุมลดโลกร้อนคือการที่สหรัฐอเมริการและจีนรับปากว่า จะเพิ่มความร่วมมือด้านการปกป้องสภาพภูมิอากาศระหว่างกันในช่วง 10 ปีข้างหน้า โดยประเด็นที่เห็นชอบร่วมกัน เช่น การปล่อยมีเทน การเปลี่ยนไปใช้พลังงานสะอาด และการลดการปล่อยคาร์บอนลงจนเหลือศูนย์

คำประกาศร่วมระบุว่า ทั้งสหรัฐฯ และจีนจะ "ยึดมั่นในคำมั่นสัญญาว่าจะทำงานร่วมกัน" เพื่อบรรลุเป้าหมายการควบคุมอุณหภูมิไม่ให้เพิ่มขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ที่ตั้งไว้ในข้อตกลงปารีสปี 2015

ในฐานะผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดในโลก 2 ประเทศ ข้อตกลงระหว่างสหรัฐฯ และจีน มีความสำคัญในการที่จะทำให้เป้าหมายการควบคุมอุณหภูมิไม่ให้เพิ่มเกิน 1.5 องศาเซลเซียสเป็นจริงได้

ก่อนหน้านี้จีนลังเลที่จะจัดการกับการปล่อยมลพิษจากถ่านหินในประเทศ ดังนั้นการออกมาประกาศเช่นนี้จึงถูกมองว่า เป็นการยอมรับถึงความความจำเป็นในการดำเนินการอย่างเร่งด่วน

ผู้นำจากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมีพื้นที่ป่ารวมกันคิดเป็น 85% ของป่าไม้ในโลก รับปากว่าจะยุติการตัดไม้ทำลายป่าภายในปี 2030

คำมั่นสัญญานี้มีความสำคัญเพราะต้นไม้สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์--หนึ่งในก๊าซเรือนกระจำที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน--จำนวนมากมหาศาลไว้ได้ ดังนั้นการยุติการตัดไม้ทำลายป่าจึงเป็นวิธีการสำคัญในการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก

ในที่ประชุม COP26 ผู้แทนจากกว่า 100 ประเทศ เห็นชอบกับโครงการตัดลดการปล่อยมีเทนลง 30% ภายในปี 2030

มีเทนเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจกที่สร้างความเสียหายมากที่สุด ราว 1 ใน 3 ของการกระทำของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนเกี่ยวข้องกับการปล่อยมีเทน ของปัญหาโลกร้อนที่เกิดจากมนุษย์ มีเทนส่วนใหญ่มาจากกิจกรรมต่าง ๆ อย่างการทำปศุสัตว์และการกำจัดของเสีย

อย่างไรก็ตาม ประเทศที่เป็นผู้ปล่อยก๊าซมีเทนรายใหญ่อย่างจีน รัสเซียและอินเดีย ไม่ได้เข้าร่วมโครงการนี้

มากกว่า 40 ประเทศ ซึ่งรวมถึงประเทศที่ใช้ถ่านหินรายใหญ่อย่างโปแลนด์ เวียดนาม และชิลี เห็นชอบที่จะเลิกใช้ถ่านหิน

ถ่านหินเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุด แม้ว่าจะมีความก้าวหน้าในการลดการใช้งานถ่านหิน แต่ถ่านหินก็ยังถูกใช้ในการผลิตไฟฟ้าทั่วโลกราว 37% ในปี 2019

สถาบันการเงินราว 450 แห่ง ซึ่งมีการควบคุมเงินราว 130 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 4,259 ล้านล้านบาท) เห็นชอบที่จะสนับสนุน "เทคโนโลยีสะอาด" อย่างพลังงานหมุนเวียน และปฏิเสธที่จะให้การสนับสนุนทางการเงินแก่อุตสาหกรรมที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล

โครงการนี้เป็นความพยายามในการทำให้บริษัทเอกชนต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการบรรลุเป้าหมายการปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์ และทำให้บริษัทเหล่านี้รับปากว่าจะสนับสนุนการเงินในเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

คำบรรยายวิดีโอ,

การชดเชยคาร์บอนช่วยโลกของเราได้หรือไม่

ประเทศต่าง ๆ จะทำตามสัญญาหรือไม่

ส่วนใหญ่แล้ว การให้คำมั่นสัญญาที่เกิดขึ้นในการประชุม COP เป็นเรื่องของความสมัครใจและการกำกับดูแลตัวเอง

มีเพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ไปไกลถึงขั้นให้มีผลผูกพันตามกฎหมาย แต่ก็มีโอกาสที่แรงผลักดันสู่การบรรลุเป้าหมายการปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์ จะทำให้ประเทศต่าง ๆ ต้องเร่งมือทำตามที่ให้คำมั่นสัญญา

โดยหลักการแล้วมีความเป็นไปได้ที่จะบังคับใช้บทลงโทษต่อประเทศที่ไม่ยอมทำตามคำสัญญา แต่ก็อาจจะทำให้เกิดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น หรืออาจจะมีหลายประเทศถอนตัวออกจากข้อตกลงระหว่างประเทศได้

การเลือกตั้งมีอะไรบ้าง

การเลือกตั้งทั่วไป.
ระบบการเลือกตั้ง.
ระบบแบ่งเขต.
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.

การเลือกตั้งมีความสําคัญอย่างไร

สำหรับปัจจุบัน การเลือกตั้งมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดการหล่อหลอมเจตจำนงและความคิดเห็นทางการเมืองของประชาชน เพื่อให้เกิดความชอบธรรมแก่ผู้ปกครอง และเป็นเครื่องมือในการใช้ควบคุมการใช้อำนาจรัฐ ถือเป็นการแสดงเจตจำนงแห่งรัฐ ซึ่งการเลือกตั้งระดับรัฐมีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ หลักการเลือกตั้งโดยทั่วไป โดยเสมอภาค โดยตรง โดยลับ ...

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมประชาธิปไตยคืออะไร

ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (อังกฤษ: participatory democracy) คือ กระบวนการที่เน้นการมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางของพลเมืองในเขตเลือกตั้ง (constituent) ในทิศทางและปฏิบัติการของระบบการเมือง รากศัพท์ ประชาธิปไตย สื่อความว่า ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจ ฉะนั้นประชาธิปไตยทุกชนิดจึงเป็นแบบมีส่วนร่วม ทว่า ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมี ...

ข้อใดคือความหมายของคำว่าการเมือง

การเมือง (อังกฤษ: politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา