แผนการ สอน สังคม ป.3 อ. จ ท

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวิชาสังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม
ระดับชนั ประถมศกึ ษาปที 3
ภาคเรียนที 1

นางสาวจตุพร สวุ รรณประเสริฐ

ครผู ้สู อน

โรงเรียนวดั นราภิรมย์

สํานักงานเขตพนื ทีการศกึ ษานครปฐม เขต 2
สาํ นักงานการศกึ ษาขนั พนื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

ผู้สอนสามารถนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไปเป็นคู่มือวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการใช้
หนังสือเรียนรายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ท่ีทางบริษัทจัดพิมพ์
จาหน่าย โดยออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ตามหลกั การสาคญั คือ

1. หลกั การจดั การเรยี นรอู้ ิงมาตรฐาน

หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วย จะกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดไว้เป็นเป้าหมายใน
การจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะตอ้ งศกึ ษาและวิเคราะหร์ ายละเอียดของมาตรฐานตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุ
ใหผ้ ู้เรียนตอ้ งมีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับเร่ืองอะไร และตอ้ งสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และผลการ
เรียนรูท้ ีเ่ กิดขนึ้ กับผ้เู รยี นตามมาตรฐานตัวชี้วัดนี้จะนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงคด์ า้ นใดแกผ่ ู้เรยี น

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ัด ผเู้ รยี นร้อู ะไร
นำไปสู่ ผเู้ รยี นทำอะไรได้

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

2. หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั

เมอ่ื ผ้สู อนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานตัวช้ีวัดและได้กาหนดเป้าหมายการจัดการเรียน
การสอนเรยี บร้อยแลว้ จงึ กาหนดขอบขา่ ยสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียน
ลงมือปฏิบตั ิตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ทีอ่ อกแบบไว้จนบรรลุตวั ช้วี ดั ทกุ ขอ้

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั เป้ำหมำย หลักการจัดการเรียนรู้
กำรเรยี นรู้
สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น และกำร เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
พัฒนำ สนองควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งบุคคล
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ อง คุณภำพของ เน้นพัฒนำกำรทำงสมอง
ผเู้ รียน ผเู้ รยี น กระตุ้นกำรคดิ
เน้นควำมรูค้ ู่คณุ ธรรม

3. หลกั การบูรณาการกระบวนการเรยี นรู้สมู่ าตรฐานตวั ช้วี ัด

เมื่อผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้
แล้ว จึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ท่ีจะฝึกฝนผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
บรรลุผลตามมาตรฐานตัวช้ีวัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็น
เป้าหมายในหน่วยน้ันๆ เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการ
เรยี นรูด้ ้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์
จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ท่ีมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติน้ันจะต้องนาไปสู่การ
เสริมสร้างสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ใน
แต่ละหน่วยการเรียนรู้

4. หลักการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยผู้สอนต้องกาหนด
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึกฝนและฝึกปฏิบัติมากท่ีสุด ตามแนวคิดและ
วธิ กี ารสาคัญ คอื

1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญาท่ีผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองคิดและทาความ
เข้าใจในส่ิงต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ด้วย
ตนเอง และสามารถนาเสนอผลงาน แสดงองค์ความรู้ที่เกิดข้ึนในแต่ละหน่วยการเรยี นร้ไู ด้

2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยน้ันๆ และที่
สาคัญ คือต้องเป็นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน
เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรม
การเรียนรไู้ ด้อยา่ งราบรืน่ จนบรรลุตวั ชว้ี ัดทุกขอ้

3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและข้ันตอนฝึกปฏิบัติท่ีส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียน
สามารถคิดอย่างเป็นระบบ เช่น กระบวนการทางภูมิศาสตร์ รูปแบบการสอนตามวัฏจักร
การสร้างความรู้แบบ 5E รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบโยนิโสมนสิการ รูปแบบการ
สอนแบบ CIPPA Model รูปแบบ การเรียน การสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 4MAT
รปู แบบการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื เทคนคิ JIGSAW, STAD, TAI, TGT เป็นตน้

4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความ
สนใจ และสภาพปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนท่ีดีจะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนรู้ตาม
ตัวช้ีวัดในระดับผลสัมฤทธ์ิท่ีสูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การ
อภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้สถานการณ์จาลอง
การใช้ศูนย์การเรียน การใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม เปน็ ต้น

5) เทคนคิ การสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียน
เข้าใจเนอ้ื หาในบทเรียนไดง้ า่ ยขึ้น สามารถกระตนุ้ ความสนใจและจงู ใจใหผ้ ู้เรียนร่วมปฏิบัติ
กิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก ( Graphic
Organizers) เทคนิคการใช้คาถาม เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม การใช้ตัวอย่าง
กระตุน้ ความคิด การใช้ส่อื การเรียนรู้ทนี่ ่าสนใจ เป็นตน้

6) ส่ือการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทาความกระจ่าง
ในเน้ือหาสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
บรรลุตัวช้ีวัดอย่างราบร่ืน เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่น

สไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เป็นต้น ควรเตรียมส่ือให้ครอบคลุมท้ังสื่อการ
สอนของครแู ละสอ่ื การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น

5. หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู บบย้อนกลับตรวจสอบ
เม่ือผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้

เรียบร้อยแล้วจึงนาเทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียน
การสอน ซึ่งจะนาผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญ
ตามธรรมชาติวิชา รวมท้ังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่เป็น
เป้าหมายของหนว่ ยการเรียนรู้ ตามลาดับข้นั ตอนการเรยี นร้ทู ก่ี าหนดไว้ ดังน้ี

จำกเป้ำหมำยและหลกั ฐำน เปำ้ หมำยกำรเรยี นรู้ของหน่วย
คดิ ยอ้ นกลบั สู่จดุ เร่ิมตน้
ของกิจกรรมกำรเรยี นรู้

หลักฐานชิ้นงาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรียนรูข้ องหนว่ ย

4. กจิ กรรม คาถามชวนคดิ

3. กจิ กรรม คาถามชวนคดิ

2. กจิ กรรม คาถามชวนคดิ จำกกจิ กรรมกำรเรยี นรู้
1. กิจกรรม คาถามชวนคดิ ทลี ะขน้ั บนั ไดส่หู ลกั ฐำน
และเป้ำหมำยกำรเรยี นรู้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ
จริงแล้ว จะต้องฝึกฝนกระบวนการคิดทุกข้ันตอน โดยใช้เทคนิคการต้ังคาถามกระตุ้นความคิด และใช้
ระดับคาถามให้สัมพันธ์กับเนื้อหาการเรียนรู้ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การ
วเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ ค่า นอกจากจะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดความเขา้ ใจบทเรียนอย่างลึกซึ้ง
แล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือการทดสอบระดับชาติที่เน้นกระบวนการคิดระดับวิเคราะห์
สังเคราะห์ด้วย ในแต่ละแผนการเรียนรู้จึงมีการระบุคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุก
กิจกรรม

ท้ังนี้การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้
และการประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ (A) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 พร้อมท้ังออกแบบเคร่ืองมือการวัดและประเมินผล รวมท้ังแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่างๆ ไว้
ครบถ้วน สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานด้านคณุ ภาพผู้เรียน และตัวบ่งชี้ท่ีต้องรับการประเมินภายนอกจาก สมศ.
เชน่ แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้
ประกอบการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมั่นใจอย่างย่ิงว่า การนา
แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ไปเป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอน จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนของนักเรยี นใหส้ งู ขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาทกุ ประการ

บรษิ ัท อกั ษรเจริญทศั น์ อจท.จากดั

สำรบัญ

สรุปหลักสูตรฯ ภมู ิศำสตร์ Geography หน้า
ตัวชว้ี ัดและสำระกำรเรียนร้แู กนกลำง กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
สงั คมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม พิเศษ 1
คำอธิบำยรำยวชิ ำ สงั คมศึกษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ป.3
พเิ ศษ 5
โครงสร้ำงรำยวิชำ สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ป.3 พเิ ศษ 16
Pedagogy วชิ ำ สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม พเิ ศษ 17
โครงสร้ำงแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ป.3 พเิ ศษ 19
องค์ประกอบของหน่วยกำรจดั กำรเรียนรู้ สงั คมศึกษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม ป.3 พิเศษ 20
พเิ ศษ 28
หน่วยกำรเรยี นรูท้ ี่ 1 ศำสนำน่ำรู้ หนว่ ยยอ่ ยที่ 1(บทที่ 1) พระพทุ ธศำสนำน่ำรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา 1
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 พุทธประวตั ิ 12
24
หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี 1 ศำสนำนำ่ รู้ หนว่ ยย่อยที่ 2 (บทท่ี 2) เคร่ืองยดึ เหน่ยี วจติ ใจ 41
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 พระไตรปฎิ ก 59
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 พระรตั นตรยั 68
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 โอวาท 3 : ไม่ทาชัว่ 76
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 โอวาท 3 : ทาความดี 84
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 โอวาท 3 : ทาจติ ให้ผ่องใสบริสุทธิ์ 96
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 พุทธศาสนสุภาษติ 102
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 การปฏบิ ัติตนตอ่ ศาสนบคุ คล ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน 107

หน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี 1 ศำสนำนำ่ รู้ หน่วยยอ่ ยที่ 3 (บทที่ 3) แบบอยำ่ งที่ดี 128
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 ประวตั ิพทุ ธสาวก 140
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 ชาดก 148
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ชาวพุทธตัวอย่าง 155
169 1
หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ 1 ศำสนำน่ำรู้ หนว่ ยยอ่ ยท่ี 4 (บทท่ี 4) ชำวพุทธที่ดี 182
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 มรรยาทชาวพุทธ 189
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ศาสนพิธแี ละการแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ 196
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 การพัฒนาจติ ตามแนวทางของพระพทุ ธศาสนา

หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ 2 พลเมอื งดีของชำติ หน่วยย่อยที่ 1 (บทท่ี 1) กระบวนกำรประชำธปิ ไตย 208
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 บทบาทหนา้ ที่ของสมาชิกในชมุ ชน 220
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 การมีสว่ นร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย 231
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การเลือกตัวแทนในชั้นเรยี น โรงเรยี น และการเปลี่ยนแปลง 242
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 การเลือกตัวแทนในชุมชน และการเปลย่ี นแปลง 254

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี 2 พลเมอื งดีของชำติ หนว่ ยย่อยที่ 2 (บทท่ี 2) กำรดำเนินชีวติ 268
ในครอบครวั และท้องถิ่น 280
293
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครวั และทอ้ งถิ่น 305
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 การดาเนินชีวติ ในกระแสวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย 314
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 บุคคลตวั อย่างของชุมชนและทอ้ งถิ่น
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4 วันหยุดราชการท่ีสาคญั

หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ 3 เศรษฐศำสตรใ์ กล้ตวั หนว่ ยยอ่ ยที่ 1 (บทท่ี 1) สนิ คำ้ และบรกิ ำร 336
กับกำรดำรงชวี ิต 346
360
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 สินคา้ และบริการในการดารงชวี ติ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หลกั การเลอื กซ้ือสนิ ค้าทจ่ี าเป็นในการดารงชีวติ

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐศำสตรใ์ กล้ตวั หน่วยยอ่ ยท่ี 2 (บทที่ 2) กำรวำงแผน 376
กำรใช้จำ่ ยเงนิ ของตนเอง 387
397
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 การใช้จา่ ยของตนเอง 405
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 สนิ คา้ และบรกิ ารที่รัฐจดั หาและใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 ภาษีทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ชีวิตประจาวัน 420
หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี 3 เศรษฐศำสตรใ์ กลต้ ัว หนว่ ยยอ่ ยท่ี 3 (บทท่ี 3) กำรผลิตและ 430
436
กำรแข่งขันทำงกำรค้ำ 445
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 การผลติ และการบริโภคสินคา้ และบรกิ าร
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 ปัญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจกบั ทรัพยากรทอี่ ยู่อยา่ งจากดั 458
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 การแข่งขันทางการค้า 469
476
หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ 4 รรู้ อบภูมศิ ำสตร์ หน่วยย่อยท่ี 1 (บทท่ี 1) เครอื่ งมือทำงภมู ศิ ำสตร์ 489
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 ข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ 508
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2 ข้อมลู ทางภมู ศิ าสตรใ์ นโรงเรยี นและชุมชน 525
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การวาดแผนผงั 538
548
หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี 4 รรู้ อบภูมิศำสตร์ หนว่ ยย่อยที่ 2 (บทท่ี 2) ชมุ ชนของเรำ 558
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 ลกั ษณะทางกายภาพกับการดาเนนิ ชีวติ 577
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 การใชป้ ระโยชนจ์ ากส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 สงิ่ แวดล้อมของชุมชนในอดตี กับปจั จุบนั 579
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ลกั ษณะของเมอื งกับชนบท 591

หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ 4 รรู้ อบภมู ิศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี 3 (บทที่ 3) สง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 มลพิษและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อม
ในชมุ ชน
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 การจัดการส่งิ แวดล้อมในชุมชน

สรุปหลกั สูตร
ภูมศิ าสตร์
Geography

ปัจจุบันประเทศไทย และพ้ืนที่ต่าง ๆ ของโลกเกิดภาวะวิกฤตด้านกายภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม และมีผลกระทบ
อย่างรนุ แรงมากขึ้นเร่ือย ๆ นอกจากนั้น กระแสโลกาภิวัตน์ ความทันสมัยของวิทยาการและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ท่ี
เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์มีมากข้ึน ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ
สร้างความยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพียงสาระสาคัญของสาระภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอต่อการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ว และบางครั้งเกิดข้ึนโดยคาดการณ์ไม่ได้ ผู้เรียนจึงต้องมีทักษะ กระบวนการ และความสามารถทางภูมิศาสตร์
เพือ่ เป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรปู้ ระกอบกนั ดงั นนั้ จงึ จาเป็นที่จะต้องมีการทบทวนและปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์

สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ยังคงยึดหลักการ พัฒนาการเรียนรู้ตามธรรมชาติของกลุ่ม
สาระและพัฒนาการในการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน ซึ่งได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีสอดคล้องกับระดับ
ความร้คู วามสามารถของผูเ้ รียน

ระดับประถมศกึ ษา ผู้เรยี นจะได้เรยี นรู้จากสิง่ ใกล้ตัวไปไกลตัว

สาระภูมิศาสตร์ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมท่ี
ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต เพื่อให้รู้เท่าทัน ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ตลอดจน
สามารถใช้ทักษะ กระบวนการ ความสามารถทางภูมิศาสตร์ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์จัดการทรัพยากรและ
ส่ิงแวดล้อมตามสาเหตแุ ละปัจจัย อันจะนาไปสู่การปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต *

* สรุปและลดทอนจาก สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร, ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้
แกนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560), หนา้ 2.

พเิ ศษ 1

พเิ ศษ 2

พเิ ศษ 3

กำรเปรยี บเทียบมำตรฐำนกำรเรยี นรภู้ มู ศิ ำสตร์ ชั้น ป.3

มำตรฐำน 5.1 พ.ศ. 2560
1. สารวจขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตรใ์ นโรงเรยี นและชุมชนโดยใช้แผนผัง
พ.ศ. 2551
1. ใชแ้ ผนท่ี แผนผงั และภาพถ่ายในการหาขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ใน แผนที่ และรปู ถา่ ย เพอื่ แสดงความสมั พันธข์ องตาแหนง่ ระยะ
ทิศทาง
ชุมชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. วาดแผนผังเพอ่ื แสดงตาแหนง่ ท่ตี ้ังของสถานทสี่ าคญั ในบรเิ วณ
โรงเรียนและชุมชน
2. เขียนแผนผงั อยา่ งง่าย ๆ เพอ่ื แสดงตาแหนง่ ที่ต้ังของสถานที่
สาคัญในบรเิ วณโรงเรยี นและชุมชน พ.ศ. 2560
1. เปรียบเทียบการเปลยี่ นแปลงส่ิงแวดลอ้ มของชุมชนในอดตี กบั
3. บอกความสัมพนั ธข์ องลักษณะทางกายภาพกับลักษณะ
ทางสงั คมของชมุ ชน ปัจจบุ นั
2. อธิบายการใช้ประโยชนจ์ ากส่งิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ
มำตรฐำน 5.2
พ.ศ. 2551 ในการสนองความตอ้ งการพนื้ ฐานของมนุษย์ และการประกอบ
อาชพี
1. เปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอ้ มในชมุ ชนจากอดตี 3. อธิบายสาเหตุทที่ าใหเ้ กิดมลพษิ โดยมนุษย์
ถงึ ปัจจบุ ัน 4. อธิบายความแตกต่างของลกั ษณะเมอื งและชนบท
5. อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างลกั ษณะทางกายภาพกับการ
2. อธิบายการพึง่ พาสิง่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาตใิ นการ ดาเนนิ ชีวติ ของคนในชุมชน
สนองความตอ้ งการพ้นื ฐานของมนุษย์และการประกอบอาชีพ 6. มีส่วนรว่ มในการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน

3. อธบิ ายเกย่ี วกับมลพษิ และการกอ่ ให้เกิดมลพษิ โดยมนษุ ย์
4. อธบิ ายความแตกตา่ งของเมืองและชนบท
5. ตระหนกั ถึงการเปลย่ี นแปลงของสิง่ แวดลอ้ มในชุมชน

พิเศษ 4

ตวั ชีว้ ดั และสำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง กลุ่มสำระก

สำระท่ี 1 ศำสนำ ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
มำตรฐำน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศ

และปฏิบตั ติ ามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติสขุ

ชัน้ ตัวช้ีวดั

ป.3 1. อธบิ ายความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนับถือใน 
ฐานะทีเ่ ป็นรากฐานสาคญั ของวฒั นธรรมไทย

2. สรุปพทุ ธประวัตติ ง้ั แตก่ ารบาเพ็ญเพียรจนถึงปรนิ ิพพานหรือประวตั ิ 
ของศาสดาทีต่ นนับถอื ตามที่กาหนด

3. ช่ืนชมและบอกแบบอยา่ งการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวตั ิ 
สาวก ชาดก เรื่องเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามท่ีกาหนด 

พเิ ศษ

กำรเรยี นรู้ สงั คมศึกษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม

ศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่นื มศี รัทธาที่ถูกต้อง ยดึ มน่ั

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

 ความสัมพนั ธข์ องพระพทุ ธศาสนากบั การดาเนนิ ชีวิตประจาวัน เชน่

การสวดมนต์ การทาบุญใส่บาตร การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา

 พระพทุ ธศาสนามอี ิทธิพลต่อการสร้างสรรคผ์ ลงานทางวัฒนธรรมไทยอนั เกิด

จากความศรัทธา เช่น วัด ภาพวาด พระพทุ ธรูป วรรณคดี สถาปตั ยกรรมไทย

 สรุปพทุ ธประวัติ (ทบทวน)

 การบาเพ็ญเพียร

 ผจญมาร

 ตรัสรู้

 ปฐมเทศนา

 ปรินิพพาน

 พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า

 สามเณรสงั กิจจะ

 ชาดก

 อารามทูสกชาดก  มหาวาณิชชาดก

ษ5

ชนั้ ตวั ชวี้ ดั

4. บอกความหมาย ความสาคญั ของพระไตรปฎิ ก หรือคมั ภรี ์ของ 
ศาสนาทต่ี นนบั ถือ

5. แสดงความเคารพพระรตั นตรัย และปฏิบตั ติ ามหลักธรรมโอวาท 3 

ในพระพทุ ธศาสนาหรือหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื ตามท่ี

กาหนด 

พเิ ศษ

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

 ศาสนกิ ชนตัวอย่าง
 สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต พรฺ หมฺ รสี)
 สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช

 ความสาคญั ของพระไตรปิฎก เช่น เป็นแหล่งอ้างอิงของหลักธรรมคาสอน

 พระรตั นตรยั
 ศรัทธา

 โอวาท 3
 ไมท่ าชั่ว
- เบญจศีล
 ทาความดี
- เบญจธรรม
- สติ-สัมปชญั ญะ
- สงั คหวตั ถุ 4
- ฆราวาสธรรม 4
- อตั ถะ 3 (อตั ตัตถะ ปรัตถะ อภุ ยัตถะ)
- กตญั ญูกตเวทตี อ่ ชุมชนและส่ิงแวดลอ้ ม

ษ6

ช้นั ตัวชวี้ ัด

6. เหน็ คณุ คา่ และสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสตทิ เ่ี ปน็ พืน้ ฐานของสมาธใิ น 
พระพุทธศาสนาหรือการพฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับ
ถอื ตามที่กาหนด

7. บอกชอ่ื ความสาคัญ และปฏิบัตติ นได้อยา่ งเหมาะสมต่อศาสนวตั ถุ 
ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนาอ่ืน ๆ

พเิ ศษ

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

- มงคล 38

 รู้จักให้  พูดไพเราะ

 อยู่ในส่งิ แวดลอ้ มทดี่ ี

 ทาจติ ให้บริสทุ ธ์ิ (บริหารจิตและเจริญปญั ญา)

 พุทธศาสนสุภาษติ
 ททมาโน ปโิ ย โหติ ผู้ใหย้ ่อมเปน็ ที่รัก
 โมกโฺ ข กลฺยาณยิ า สาธุ เปล่งวาจาไพเราะให้สาเรจ็ ประโยชน์

 ฝึกสวดมนต์ ไหวพ้ ระ สรรเสรญิ คุณพระรัตนตรยั และแผ่เมตตา
 รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและสมาธิ
 รู้ประโยชนข์ องการฝึกสติ
 ฝึกสมาธิเบ้ืองต้นดว้ ยการนับลมหายใจ
 ฝกึ การยนื การเดนิ การนงั่ และการนอนอย่างมสี ติ
 ฝกึ ใหม้ สี มาธิในการฟัง การอา่ น การคิด การถาม และการเขยี น

 ช่ือและความสาคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคลใน
พระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม ครสิ ต์ศาสนา ศาสนาฮนิ ดู

 การปฏบิ ตั ิตนทเ่ี หมาะสมต่อศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคลในศาสนา
อื่น ๆ

ษ7

สำระที่ 1 ศำสนำ ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มำตรฐำน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ติ นเปน็ ศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพร

ชน้ั ตวั ชว้ี ดั

ป.3 1. ปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสมต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถุของศาสนาท
ตนนับถอื ตามท่ีกาหนดไดถ้ ูกต้อง

2. เห็นคุณค่าและปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี พธิ กี รรม และวันสาคัญทางศาสน
ตามท่กี าหนดได้ถูกต้อง

3. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาทต่ี นน
ถือ

พิเศษ

ระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ท่ี  ฝกึ ปฏิบตั ิมรรยาทชาวพุทธ
 การลุกขึน้ ยืนรบั
 การต้อนรบั
 การรบั -สง่ สิง่ ของแก่พระภิกษุ
 มรรยาทในการสนทนา
 การสารวมกริ ยิ ามารยาท
 การแต่งกายที่เหมาะสมเมือ่ อยใู่ นวัดและพุทธสถาน
 การดูแลรักษาศาสนวตั ถุและศาสนสถาน

นา  การปฏบิ ัติตนในศาสนพิธี
 การอาราธนาศลี
 การสมาทานศลี
 เคร่อื งประกอบโต๊ะหมู่บชู า การจดั โต๊ะหมบู่ ชู า

นบั  ความเปน็ มาของการแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ
 การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ
 ขัน้ เตรียมการ
 ขนั้ พธิ ีการ

ษ8

สำระท่ี 2 หนำ้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และกำรดำเนินชวี ิตในสังคม
มำตรฐำน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบัตติ นตามหนา้ ทีข่ องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านิยมที่ดงี

และสังคมโลกอย่างสันติสขุ

ชั้น ตัวชี้วัด ป

ป.3 1. สรปุ ประโยชนแ์ ละปฏิบตั ิตนตามประเพณีและวัฒนธรรมใน
ครอบครวั และท้องถ่ิน ป
เก
2. บอกพฤติกรรมการดาเนินชวี ติ ของตนเองและผ้อู ื่นที่อยู่ใน
กระแสวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย ป

3. อธิบายความสาคัญของวนั หยุดราชการทส่ี าคัญ พ
เค

ส

ว

พเิ ศษ

งามและธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ติ อย่รู ว่ มกนั ในสังคมไทย

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครวั เชน่ การแสดงความเคารพและการเชื่อฟัง
ผูใ้ หญ่ การกระทากิจกรรมร่วมกันในครอบครวั
ประเพณีและวัฒนธรรมในท้องถ่นิ เช่น การเขา้ ร่วมประเพณที างศาสนา ประเพณี
ก่ยี วกับการดาเนนิ ชีวติ
ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครวั และท้องถิน่
พฤติกรรมของตนเองและเพื่อน ๆ ในชีวติ ประจาวนั เช่น การทักทาย การทาความ
คารพ การปฏบิ ตั ติ ามศาสนพิธี การรบั ประทานอาหาร การใช้ภาษา (ภาษาถ่นิ กับ
ภาษาราชการ และภาษาอน่ื ๆ ฯลฯ )
สาเหตทุ ีท่ าให้พฤติกรรมการดาเนนิ ชวี ติ ในปจั จบุ ันของนักเรียนและผอู้ ่นื แตกตา่ งกัน

วันหยดุ ราชการที่สาคญั เช่น
 วันหยดุ เกย่ี วกับชาติและพระมหากษตั รยิ ์ เช่น วนั จกั รี วนั รฐั ธรรมนญู

วนั ฉตั รมงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา
 วันหยุดราชการเกี่ยวกับศาสนา เชน่ วนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า

วนั อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา
 วันหยดุ ราชการเกี่ยวกับประเพณแี ละวัฒนธรรม เช่น วนั สงกรานต์ วันพืชมงคล

ษ9

สำระที่ 2 หนำ้ ท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และกำรดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม
มำตรฐำน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั ยึดมน่ั ศรทั ธา แ

ทรงเปน็ ประมขุ

ชั้น ตัวชีว้ ดั 

ป.3 1. ระบบุ ทบาทหน้าท่ีของสมาชิกของชมุ ชนในการมีสว่ นร่วมใน
กิจกรรมตา่ ง ๆ ตามกระบวนการประชาธปิ ไตย

2. วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของกระบวนการการตัดสนิ ใจในชัน้ เรียน/ 

โรงเรยี นและชุมชน โดยวธิ ีการออกเสยี งโดยตรงและการเลือก 

ตัวแทนออกเสยี ง

3. ยกตัวอยา่ งการเปลี่ยนแปลงในช้นั เรียน โรงเรียน และชุมชนท่เี ป็น 
ผลจากการตัดสนิ ใจของบุคคลและกลมุ่

พเิ ศษ

และธารงรักษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

 บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ ในชุมชน
 การมีส่วนรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย
 การออกเสียงโดยตรงและการเลอื กตวั แทนออกเสียง
 วธิ กี ารเลือกตวั แทนอย่างถูกต้องและเหมาะสม

 การตัดสนิ ใจของบุคคลและกลุ่มทีม่ ผี ลตอ่ การเปลีย่ นแปลงในชน้ั เรยี น โรงเรียน
และชมุ ชน

การเปลีย่ นแปลงในช้นั เรยี น เช่น การเลือกหวั หนา้ ห้อง การเลอื กคณะกรรมการ
ห้องเรยี น

การเปล่ียนแปลงในโรงเรยี น เช่น เลือกประธานนกั เรยี น เลือกคณะกรรมการ
นักเรียน

การเปลีย่ นแปลงในชุมชน เชน่ การเลอื กผ้ใู หญ่บา้ น กานนั สมาชิก อบต. อบจ.

10

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบร

หลักการของเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อการดารงชวี ิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน้ ตวั ชีว้ ดั

ป.3 1. จาแนกความต้องการและความจาเปน็ ในการใชส้ ินคา้ และบรกิ ารใน 

การดารงชีวิต 

2. วิเคราะห์การใชจ้ ่ายของตนเอง 

3. อธิบายไดว้ ่าทรัพยากรทม่ี ีอยู่จากัดมผี ลต่อการผลิตและบริโภค 
สนิ คา้ และบรกิ าร






พิเศษ

ริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยจู่ ากัดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคมุ้ คา่ รวมทัง้ เข้าใจ

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

 สินคา้ ทจี่ าเปน็ ในการดารงชีวิตที่เรยี กวา่ ปจั จยั 4
 สินคา้ ท่ีเปน็ ความต้องการของมนุษย์ อาจเป็นสินคา้ ทจี่ าเป็นหรอื ไม่จาเปน็ ต่อ

การดารงชวี ติ
 ประโยชนแ์ ละคุณค่าของสินค้าและบริการที่สนองความต้องการของมนษุ ย์
 หลกั การเลอื กสนิ ค้าทีจ่ าเป็น
 ความหมายของผผู้ ลิตและผบู้ รโิ ภค
 ใชบ้ ัญชีรับจา่ ยวิเคราะหก์ ารใชจ้ า่ ยท่ีจาเป็นและเหมาะสม
 วางแผนการใช้จา่ ยเงนิ ของตนเอง
 วางแผนการแสวงหารายได้ที่สจุ รติ และเหมาะสม
 วางแผนการนาเงินที่เหลือจา่ ยมาใชอ้ ย่างเหมาะสม
 ความหมายของผ้ผู ลติ และผู้บริโภค
 ความหมายของสนิ ค้าและบริการ
 ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจท่ีเกดิ จากความหายากของทรัพยากรกบั ความ

ตอ้ งการของมนุษย์ทม่ี ีไม่จากัด

11

สำระท่ี 3 เศรษฐศำสตร์
มำตรฐำน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษ

ชั้น ตวั ชวี้ ดั 

ป.3 1. บอกสินค้าและบริการท่รี ัฐจัดหาและให้บรกิ ารแกป่ ระชาชน

2. บอกความสาคัญของภาษแี ละบทบาทของประชาชนในการเสยี ภาษี 

3. อธบิ ายเหตุผลการแข่งขันทางการค้าที่มีผลทาใหร้ าคาสินคา้ ลดลง 

พเิ ศษ

ษฐกจิ และความจาเป็นของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

 สนิ คา้ และบรกิ ารทภ่ี าครฐั ทุกระดับจดั หาและให้บรกิ ารแก่ประชาชน เชน่ ถนน
โรงเรยี น สวนสาธารณะ การสาธารณสุข การบรรเทาสาธารณภัย

 ความหมายและความสาคัญของภาษีที่รัฐนามาสร้างความเจริญและให้บรกิ าร
แกป่ ระชาชน

 ตัวอย่างของภาษี เช่น
 ภาษีทางตรง
- ภาษรี ายไดบ้ ุคคลธรรมดา
- ภาษีนิตบิ ุคคล
 ภาษที างอ้อม

 ภาษกี ารขายทวั่ ไทย
 ภาษมี ลู คา่ เพิม่ ภาษีการคา้ ฯลฯ

 บทบาทหนา้ ท่ีของประชาชนในการเสยี ภาษี
 ความสาคญั และผลกระทบของการแข่งขนั ทางการคา้ ท่มี ีผลทาให้ราคาสินค้า

ลดลง

12

ตัวช้วี ดั สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง และกำ

สำระท่ี 5 ภูมศิ ำสตร์
มำตรฐำน ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธข์ องสรรพส่งิ ซง่ึ

และสรปุ ข้อมลู ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมีประ

ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.3 1. สารวจข้อมลู ทางภูมิศาสตร์ใน  ข้อมูลทางภมู ศิ าสตร์ในชมุ ชน
โรงเรยี นและชุมชนโดยใช้แผนผัง  แผนที่ แผนผงั และรูปถา่ ย
แผนที่ และรูปถา่ ย เพื่อแสดง  ความสมั พันธข์ องตาแหนง่
ความสัมพันธข์ องตาแหนง่ ระยะ ระยะ ทิศทาง
ทศิ ทาง

2. วาดแผนผงั เพ่ือแสดงตาแหน่ง  ตาแหนง่ ทต่ี ง้ั ของสถานที่
ทีต่ ้งั ของสถานทีส่ าคญั ในบริเวณ สาคัญในบริเวณโรงเรยี นและ
โรงเรียนและชมุ ชน ชุมชน เช่น สถานท่ีราชการ
ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณีย์

พิเศษ

ำรรู้เร่อื งภูมศิ ำสตร์ (Geo - Literacy)

งมีผลต่อกัน ใชแ้ ผนท่ีและเครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์
ะสิทธภิ าพ

geo-literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ

ความเข้าใจระบบ 1. การตงั้ คาถามเชิง 1. การสงั เกต
ธรรมชาติและมนุษย์
ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
1. ความเขา้ ใจระบบ
ธรรมชาตแิ ละ 2. การรวบรวมข้อมลู ทางภูมิศาสตร์
มนุษย์
3. การจดั การข้อมลู 3. การใชเ้ ทคนิคและ
2. การใหเ้ หตผุ ลทาง
ภมู ศิ าสตร์ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มลู เครือ่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์

5. การสรุปเพ่ือตอบ 1. การสังเกต
คาถาม 2. การแปลความขอ้ มลู

ทางภูมิศาสตร์

3. การใชเ้ ทคนิคและ

เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์

13

สำระที่ 5 ภูมศิ ำสตร์
มำตรฐำน ส 5.2 เข้าใจปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษยก์ ับสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพที่กอ่ ให

ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาทย่ี งั่ ยืน

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.3 1. เปรยี บเทยี บการเปลีย่ นแปลง  สง่ิ แวดล้อมของชมุ ชนในอดตี กบั

สิ่งแวดล้อมของชมุ ชนในอดตี กบั ปจั จบุ ัน

ปัจจบุ ัน - ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ

- สิง่ แวดลอ้ มทีม่ นุษยส์ ร้างขน้ึ

2. อธิบายการใชป้ ระโยชนจ์ าก  การใชป้ ระโยชนจ์ ากสงิ่ แวดล้อม
สงิ่ แวดล้อมและ การดาเนินชวี ติ ของมนุษย์ เช่น
ทรพั ยากรธรรมชาติในการสนอง คมนาคม บา้ นเรอื น และการ
ความตอ้ งการพื้นฐานของมนุษย์ ประกอบอาชีพในชุมชน
และการประกอบอาชีพ
 การประกอบอาชพี ทีเ่ ปน็ ผลมาจ
สิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติในชุมช

3. อธบิ ายสาเหตทุ ที่ าให้เกดิ มลพิษ  ความหมายและประเภทของมล

โดยมนุษย์ โดยมนุษย์

 สาเหตขุ องการเกิดมลพิษท่ีเกิดจ

พเิ ศษ

หเ้ กิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจติ สานกึ และมีส่วนรว่ มในการจัดการ

geo-literacy

ความสามารถ กระบวนการ ทกั ษะ

บ 1. ความเขา้ ใจระบบ 1. การต้งั คาถามเชิง 1. การสังเกต
ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมศิ าสตร์ 2. การแปลความ

2. การให้เหตผุ ลทาง 2. การรวบรวมขอ้ มลู ข้อมลู ทาง
ภูมิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์
3. การจัดการขอ้ มูล
1. การสงั เกต
มใน 1. ความเข้าใจระบบ 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 2. การแปลความ
การ ธรรมชาติและมนุษย์ 5. การสรปุ เพ่ือตอบ
ข้อมลู ทาง
2. การให้เหตผุ ลทาง คาถาม ภูมิศาสตร์
ภมู ศิ าสตร์

จาก 1. การสงั เกต
ชน 2. การแปลความ

ลพิษ 1. ความเข้าใจระบบ ข้อมลู ทาง
ธรรมชาติและมนุษย์

จาก 2. การให้เหตุผลทาง

14

ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

4. อธิบายความแตกต่างของ การกระทาของมนุษย์
ลักษณะเมืองและชนบท  ลกั ษณะของเมืองและชนบท เช

สง่ิ ปลกู สรา้ ง การใช้ท่ดี นิ การ
ประกอบอาชีพ

5. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่าง  ภมู ิประเทศและภูมิอากาศที่มีผล
ลกั ษณะทางกายภาพกบั การ ตอ่ การดาเนนิ ชีวิตของคนในชุม
ดาเนินชีวิตของคนในชมุ ชน

6. มสี ว่ นรว่ มในการจัดการ  ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลง
สิง่ แวดลอ้ มในชุมชน สิ่งแวดล้อมท่ีมีตอ่ ชุมชน

พเิ ศษ

ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ
กระบวนการ
ภมู ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์

ช่น 1. ความเข้าใจระบบ 1. การสงั เกต
ธรรมชาติและ 2. การแปลความ
มนุษย์
ข้อมูลทาง
2. การใหเ้ หตุผลทาง ภูมิศาสตร์
ภูมศิ าสตร์
1. การสังเกต
ล 1. ความเขา้ ใจระบบ 2. การแปลความ
มชน ธรรมชาตแิ ละ
ขอ้ มลู ทาง
มนษุ ย์ ภมู ศิ าสตร์
2. การใหเ้ หตผุ ลทาง
1. การสังเกต
ภูมศิ าสตร์ 2. การแปลความ

ง 1. ความเข้าใจระบบ ขอ้ มลู ทาง
ธรรมชาติและ ภูมศิ าสตร์
มนุษย์

2. การใหเ้ หตุผลทาง
ภูมิศาสตร์

15

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม เวลำ 80 ช่วั โมง
ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 3

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย เรื่อง ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย ประวัติ
ศาสดาของศาสนา พระไตรปิฎก ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก และศาสนิกชน
ตวั อยา่ ง แสดงความเคารพพระรัตนตรยั เห็นคณุ คา่ ของการสวดมนต์ แผเ่ มตตา พฒั นาจิต และปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนา
ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน ศาสนบคุ คล ประเพณีวัฒนธรรม พฤติกรรมในการดาเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่น วันหยุดราชการ บุคคล
สาคัญในท้องถิ่น บทบาทหน้าท่ีของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ความ
แตกต่างของกระบวนการตดั สินใจ การเปลีย่ นแปลงในชนั้ เรียน โรงเรียน และชุมชน จาแนกความต้องการและความจาเป็นในการ
ใชส้ ินค้าและบริการ วเิ คราะหก์ ารใชจ้ ่ายของตนเอง อธบิ ายทรัพยากรทีม่ ีอยู่อย่างจากัดมีผลต่อการผลิตและการบริโภค สินค้าและ
บริการท่ีรฐั จดั หาให้ ภาษี ท่ตี ง้ั และลกั ษณะทางกายภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรมชุมชน แผนผัง
แผนท่ี และภาพถ่าย เปรียบเทียบสภาพแวดล้อมของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน สภาพแวดล้อมท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต ลักษณะ
ของเมอื งและชนบท มลพิษทเี่ กดิ จากมนษุ ย์ มสี ว่ นร่วมในการจดั การส่งิ แวดล้อม และผลกระทบของสิ่งแวดล้อมท่ีมตี อ่ มนุษย์

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละใชเ้ คร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ในการสบื ค้น และสรุปขอ้ มูลตามกระบวนการ
ทางภมู ิศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ทักษะในศตวรรษที่ 21 คุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มี
หลกั ธรรมในการดาเนินชีวติ รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ และสามารถดาเนินชวี ติ ในสังคมไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ขุ

ตวั ชว้ี ดั
ส 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7
ส 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ส 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 5.1 ป.3/1, ป.3/2
ส 5.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
รวม 31 ตัวช้ีวัด

พิเศษ 16

โครงสร้ำงรำยวิชำ สงั คมศกึ ษำฯ ป.3

ลาดบั ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
ที่ เรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั (ชวั่ โมง) คะแนน

1 ศาสนาน่ารู้ ส 1.1 ป.3/1 พระพทุ ธศาสนาความสาคญั ตอ่ การสรา้ งสรรค์ 3

หน่วยย่อยที่ 1 ป.3/2 วฒั นธรรมอนั เกดิ จากความศรัทธา การศกึ ษาพุทธ 11

(บทที่ 1) ประวัติ และย่อมทาใหไ้ ดค้ ณุ ธรรมอันเป็นแบบอย่าง 3

พระพทุ ธศาสนานา่ รู้ ไปประยกุ ต์ปฏบิ ัติ

2 ศาสนานา่ รู้ ส 1.1 ป.3/4 การแสดงความเคารพพระรตั นตรยั และการปฏิบตั ิ

หนว่ ยย่อยท่ี 2 ป.3/5 ตนตามหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพทุ ธศาสนาย่อม

(บทที่ 2) เครือ่ งยึด ป.3/7 ทาให้การดาเนินชวี ิตไปในทางท่ีถูกต้อง ศาสนิกชน

เหน่ียวจิตใจ ทุกคนพึงปฏบิ ัตติ นตอ่ ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน

และศาสนบคุ คลของศาสนาอ่ืนอยา่ งเหมาะสม

3 ศาสนาน่ารู้ ส 1.1 ป.3/3 การศกึ ษาประวตั ิสาวก ชาดก และศาสนกิ ชน
หนว่ ยยอ่ ยที่ 3
(บทที่ 3) แบบอย่าง ตัวอย่างทาใหไ้ ด้ขอ้ คดิ และคตธิ รรมทเี่ ปน็ แบบอย่าง
ทด่ี ี
ทดี่ ี สามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ได้
4 ศาสนาน่ารู้
หนว่ ยยอ่ ยท่ี 4 ส 1.1 ป.3/6 พุทธศาสนกิ ชนทุกคนพึงปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสม 8
(บทที่ 4) ชาวพุทธท่ีดี ส 1.2 ป.3/1 ต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถุของศาสนา ปฏิบตั ิ 8
8
5 พลเมอื งดีของชาติ ป.3/2 ตนในศาสนพิธี พิธกี รรม วันสาคญั ทางศาสนา และ
หน่วยยอ่ ยท่ี 1 ป.3/3 แสดงตนเป็นพุทธ-มามกะ การสวดมนต์ แผเ่ มตตา
(บทที่ 1)
กระบวนการ การมีสตเิ ปน็ พืน้ ฐานของสมาธิ
ประชาธปิ ไตย ส 2.2 ป.3/1 การเปลย่ี นแปลงในชนั้ เรียน โรงเรยี น และชุมชน

6 พลเมืองดขี องชาติ ป.3/2 เปน็ ผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลมุ่ คน โดย
หน่วยย่อยท่ี 2 ป.3/3 วิธีการออกเสยี งโดยตรงและตัวแทนออกเสยี ง
(บทท่ี 2) การดาเนนิ
ชีวติ ในครอบครวั และ นอกจากนั้น สมาชิกในชุมชนต้องมีบทบาทหนา้ ที่ใน
ทอ้ งถ่นิ การเข้าร่วมกจิ กรรมตามกระบวนการประชาธิปไตย
ส 2.1 ป.3/1 การศึกษาประเพณแี ละวฒั นธรรมในครอบครัว
ป.3/2 ท้องถิน่ การดาเนนิ ชีวิตของผ้คู นในแตล่ ะวฒั นธรรม
ป.3/3 ความสาคญั ของวันหยดุ ราชการ ตลอดจนประวตั ิ
ป.3/4 และผลงานของบุคคลท่ีทาประโยชน์ให้กบั ทอ้ งถ่ิน
และคณุ คา่ ของการทาความดียอ่ มเปน็ ประโยชน์ตอ่
การดาเนินชวี ติ และการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม

พิเศษ 17

ลาดับ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
ที่ เรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ช่วั โมง) คะแนน

7 เศรษฐศาสตร์ใกลต้ วั ส 3.1 ป.3/1 สินค้าและบริการที่ตอบสนองความต้องการของ 5

หน่วยยอ่ ยท่ี 1 มนษุ ย์มีอยูห่ ลายประเภท ซ่งึ จะตอ้ งรหู้ ลกั การเลือก

(บทที่ 1) สนิ คา้ และ ซื้อสินค้าและบริการที่จาเป็นก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ

บริการกบั การ สินคา้

ดารงชวี ติ

8 เศรษฐศาสตร์ใกล้ตวั ส 3.1 ป.3/2 ประชาชนทกุ คนตอ้ งรูจ้ ักวางแผนการใช้จ่ายเงินของ 8

หน่วยย่อยที่ 2 ส 3.2 ป.3/1 ตน และมีหน้าที่เสียภาษีให้แก่รัฐทั้งทางตรงและ

(บทท่ี 2) การวางแผน ป.3/2 ทางอ้อม เพื่อรัฐจะได้นามาเป็นค่าใช้จ่ายในการ

การใชจ้ า่ ยเงินของ พฒั นาประเทศ

ตนเอง

9 เศรษฐศาสตรใ์ กล้ตวั ส 3.1 ป.3/3 ทรัพยากรท่เี รานามาใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ และบริการ 6

หนว่ ยยอ่ ยท่ี 3 ส 3.2 ป.3/3 มีอยู่อย่างจากัด การแข่งขันทางการค้ามีผลทาให้

(บทที่ 3) การผลิตและ ราคาสินคา้ ลดลง

การแขง่ ขนั ทางการค้า

10 รู้รอบภมู ศิ าสตร์ ส 5.1 ป.3/1 แผนท่ี แผนผัง และรูปถ่ายมีความสาคัญในการใช้ 6

หนว่ ยย่อยท่ี 1 ป.3/2 หาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน แสดงท่ีตั้งของ

(บทที่ 1) เครอ่ื งมือ สถานที่สาคญั ในบรเิ วณโรงเรียนและชุมชน

ทางภูมศิ าสตร์

11 รรู้ อบภมู ิศาสตร์ ส 5.2 ป.3/1 สภาพแวดลอ้ มในชุมชนจากอดีตถงึ ปัจจุบนั มีการ 10

หน่วยยอ่ ยท่ี 2 ป.3/2 เปล่ยี นแปลง ความสมั พันธ์ของลักษณะทางกายภาพ

(บทที่ 2) ชุมชน ป.3/4 กบั ลักษณะทางสงั คมของชมุ ชน มกี ารพึง่ พาส่ิงแวดลอ้ ม

ของเรา ป.3/5 และทรพั ยากรธรรมชาตใิ นการสนองความต้องการ

พื้นฐานของมนษุ ยแ์ ละการประกอบอาชีพ แล้วยังมี

ความแตกตา่ งกันของเมอื งและชนบท

12 รู้รอบภมู ิศาสตร์ ส 5.2 ป.3/3 กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์สง่ ผลใหเ้ กดิ มลพิษ ดังน้ัน

หนว่ ยยอ่ ยที่ 3 ป.3/6 ทกุ คนจงึ ควรมีสว่ นร่วมในการจดั การสิ่งแวดล้อม

(บทท่ี 3) ส่งิ แวดล้อม

ในชมุ ชน

หมำยเหตุ : หากสถานศึกษาใดเลอื กใชห้ นงั สือเรียน วิชาพระพุทธศาสนา (สาระท่ี 1) ฉบบั แยกเล่ม ใหผ้ ้สู อนลดจานวน
ช่ัวโมงของวิชาสังคมศึกษาฯ ลงเหลอื 60 ชวั่ โมง ทัง้ นผ้ี ู้สอนสามารถปรบั ชัว่ โมงการเรียนไดต้ ามความเหมาะสม

พเิ ศษ 18

พเิ ศษ 19

โครงสร้ำงแผนฯ สงั คมศกึ ษำฯ ป.3

หน่วยการ แผนการจัดการเรยี นรู้ วิธีสอน/กระบวนการ ทักษะการคดิ เวลา
เรียนรู้ 1. ความสาคัญของ จดั การกจิ กรรมการเรียนรู้ (ชัว่ โมง)

หนว่ ยการ พระพุทธศาสนา - วธิ ีสอนโดยเนน้ 1. ทกั ษะการเชื่อมโยง 1
เรียนร้ทู ี่ 1 2
ศาสนานา่ รู้ 2. พุทธประวตั ิ กระบวนการ : 2. ทักษะการวเิ คราะห์
หนว่ ยย่อยที่ 1 1. พระไตรปิฎก 1
(บทที่ 1) กระบวนการสรา้ ง 3. ทักษะการสรุปความเหน็
พระพุทธศาสน 2. ศรทั ธาในพระ 1
านา่ รู้ รตั นตรยั ความตระหนัก 4. ทกั ษะการสังเกต
1
หนว่ ยการ 3. โอวาท 3 : 5. ทักษะการนาความรไู้ ปใช้
เรียนรทู้ ่ี 1 ไม่ทาชวั่
ศาสนาน่ารู้ - วิธีสอนแบบสืบ 1. ทกั ษะการสังเกต
หน่วยยอ่ ยที่ 2
(บทที่ 2) เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทกั ษะการสรุปความเหน็
เคร่อื งยดึ
เหนีย่ วจติ ใจ Instructional Model) 3. ทกั ษะการนาความร้ไู ปใช้

- วธิ สี อนโดยเน้น 1. ทกั ษะการวิเคราะห์

กระบวนการ : 2. ทักษะการจาแนก

กระบวนการสร้าง 3. ทักษะการสังเกต

ความตระหนัก 4. ทกั ษะการสรุป

ความเห็น

5. ทกั ษะการแสวงหา

ความรู้

- วธิ ีสอนโดยเนน้ 1. ทกั ษะการวเิ คราะห์

กระบวนการ : 2. ทักษะปฏบิ ตั ิ

กระบวนการสรา้ ง 3. ทกั ษะการสรปุ ความเหน็

ความตระหนัก 4. ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้

- วิธสี อนโดยเนน้ 1. ทกั ษะการวเิ คราะห์

กระบวนการ : 2. ทกั ษะการสังเกต

กระบวนการสร้าง 3. ทักษะการสรุป

ความตระหนัก ความเห็น

4. ทักษะการนาความรู้ไปใช้

พิเศษ 20

หนว่ ยการ แผนการจดั การเรียนรู้ วิธสี อน/กระบวนการ ทกั ษะการคิด เวลา
เรียนรู้ จัดการกิจกรรมการเรียนรู้ (ชัว่ โมง)

หน่วยการ 4. โอวาท 3 : - วธิ สี อนแบบธรรม 1. ทกั ษะการวิเคราะห์ 4
เรยี นรูท้ ่ี 1
ศาสนาน่ารู้ ทาความดี สากจั ฉา 2. ทกั ษะการแสวงหา 1
หนว่ ยย่อยที่ 3
(บทท่ี 3) ความรู้ 1
แบบอย่าง
ทด่ี ี 3. ทักษะการสรปุ ลง 2
1
ความเห็น
1
4. ทักษะการนาความร้ไู ปใช้

5. โอวาท 3 : ทา - วิธีสอนโดยเน้น 1. ทักษะการปฏบิ ัติ

จิตให้ผอ่ งใส กระบวนการ : 2. ทักษะการนาความรู้ไปใช้

บรสิ ทุ ธิ์ กระบวนการสร้าง

ความตระหนัก

6. พุทธศาสน - วธิ ีสอนโดยเน้น 1. ทักษะการวเิ คราะห์

สุภาษิต กระบวนการ : 2. ทกั ษะการแสวงหา

กระบวนการสรา้ ง ความรู้

ความตระหนัก 3. ทักษะการสรปุ ลง

ความเห็น

4. ทักษะการนาความรู้ไปใช้

7. การปฏบิ ตั ติ นอยา่ ง - วิธีสอนแบบสบื 1. ทกั ษะการวเิ คราะห์

เหมาะสมต่อศาสน เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทักษะการสรปุ ลง

บุคคล ศาสนวตั ถุ Instructional Model) ความเหน็

ศาสนสถาน 3. ทักษะการนาความรไู้ ปใช้

1. ประวัติพุทธสาวก - วิธสี อนโดยการจัดการ 1. ทักษะการวิเคราะห์

เรยี นร้แู บบร่วมมือ : 2. ทกั ษะการสรุปลง

เทคนิคคู่คิด ความเห็น

3. ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้

2. ชาดก - วธิ สี อนโดยการจดั การ 1. ทักษะการวิเคราะห์

เรียนรูแ้ บบร่วมมือ : 2. ทกั ษะการสรปุ ลง

เทคนคิ คคู่ ิดส่ีสหาย ความเห็น

3. ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้

พิเศษ 21

หน่วยการ แผนการจดั การเรยี นรู้ วธิ ีสอน/กระบวนการ ทักษะการคิด เวลา
เรยี นรู้ จดั การกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชั่วโมง)

หน่วยการ 3. ชาวพุทธตัวอย่าง - วิธสี อนโดยการจัดการ 1. ทกั ษะการสารวจค้นหา 1
เรียนรทู้ ี่ 1
ศาสนานา่ รู้ เรยี นรู้แบบร่วมมอื : 2. ทักษะการวิเคราะห์ 3
หน่วยยอ่ ยท่ี 4
(บทท่ี 4) เทคนิคคคู่ ิดส่สี หาย 3. ทกั ษะการสรุปความเหน็ 3
ชาวพุทธท่ดี ี
4. ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ 2
หน่วยการ 2
เรยี นรู้ที่ 2 1. มรรยาทชาวพทุ ธ - วิธีสอนโดยใชก้ าร 1. ทักษะการแสวงหา 2
พลเมอื งดขี อง
ชาติ สาธติ ความรู้
หน่วยย่อยท่ี 1
(บทที่ 1) 2. ทักษะการปฏบิ ตั ิ

3. ทักษะการวิเคราะห์

4. ทักษะการสรปุ ความเห็น

5. ทักษะการนาความรไู้ ปใช้

2. ศาสนพธิ แี ละการ - วิธีสอนโดยเน้น 1. ทักษะการแสวงหา

แสดงตนเป็นพุทธ กระบวนการ : ความรู้

มามกะ กระบวนการปฏบิ ตั ิ 2. ทกั ษะการปฏบิ ัติ

3. ทกั ษะการวิเคราะห์

4. ทกั ษะการสรปุ ความเห็น

5. ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้

3. การพัฒนาจติ - วิธีสอนโดยเน้น 1. ทักษะการแสวงหา

ตามแนวทางของ กระบวนการ : ความรู้

พระพทุ ธศาสนา กระบวนการปฏบิ ตั ิ 2. ทกั ษะการวิเคราะห์

3. ทกั ษะการปฏิบัติ

4. ทักษะการสรปุ ความเหน็

5. ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้

1. บทบาทหนา้ ที่ - วธิ ีสอนแบบสืบ 1. ทักษะการตีความ

ของสมาชิกใน เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทกั ษะการแปลความ

ชุมชน Instructional Model) 3. ทักษะการให้เหตุผล

2. การมสี ว่ นร่วมใน - วิธีสอนโดยใช้ทักษะ 1. ทกั ษะการตีความ

กระบวนการ กระบวนการเผชิญ 2. ทักษะการแปลความ

ประชาธปิ ไตย สถานการณ์ 3. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล

พิเศษ 22

หนว่ ยการ แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธีสอน/กระบวนการ ทกั ษะการคิด เวลา
เรียนรู้ จัดการกิจกรรมการเรยี นรู้ (ชั่วโมง)
3. การเลือกตวั แทน - วิธีสอนแบบสบื 1. ทักษะการวเิ คราะห์
กระบวนการ ในชัน้ เรียน 2. ทักษะการเปรียบเทียบ 2
ประชาธปิ ไตย โรงเรยี นและการ เสาะหาความรู้ (5Es 3. ทักษะการตัดสินใจ 2
เปลี่ยนแปลง Instructional Model) 2
หน่วยการ 1. ทักษะการวิเคราะห์
เรียนรู้ท่ี 2 4. การเลอื กตัวแทน - วธิ สี อนโดยการจัดการ 2. ทักษะการตัดสินใจ 2
พลเมอื งดีของ ในชุมชนและการ เรียนรแู้ บบรว่ มมอื : 3. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ 2
ชาติ เปล่ียนแปลง เทคนคิ คคู่ ดิ 1. ทักษะการสารวจ 2
หน่วยย่อยที่ 2 2. ทักษะการเชื่อมโยง
(บทท่ี 2) 5. ประเพณีและ - วิธีสอนโดยใชท้ กั ษะ 3
การดาเนนิ ชวี ิต วัฒนธรรมใน กระบวนการเผชญิ 1. ทกั ษะการสารวจ
ในครอบครวั ครอบครวั และ สถานการณ์ 2. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู
และท้องถ่ิน ท้องถน่ิ
- วธิ สี อนแบบสบื 1. ทกั ษะการสารวจ
หนว่ ยการ 6. พฤติกรรมการ เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล
เรยี นรู้ที่ 3 ดาเนินชีวิตใน Instructional Model)
เศรษฐศาสตร์ กระแสวัฒนธรรม 1. ทกั ษะการวเิ คราะห์
ใกล้ตัว ทหี่ ลากหลาย - วิธสี อนแบบสืบ 2. ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้
หน่วยย่อยท่ี 1 เสาะหาความรู้ (5Es
(บทที่ 1) 7. บคุ คลตวั อย่าง Instructional Model) ความรู้
ของชุมชนและ 1. ทกั ษะการแสวงหาความรู้
ท้องถ่ิน - วิธีสอนโดยใช้เทคนคิ 2. ทักษะการวิเคราะห์
จิ๊กซอว์ 3. ทักษะการสรปุ ลง
8. วันหยุดราชการท่ี
สาคญั - วธิ สี อนแบบสบื ความเห็น
เสาะหาความรู้ (5Es 4. ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้
1. สินค้าและบรกิ าร Instructional Model) 5. ทกั ษะการจาแนก
ในการดารงชีวติ 6. ทกั ษะการจัดกลุม่

พิเศษ 23

หนว่ ยการ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/กระบวนการ ทักษะการคิด เวลา
เรยี นรู้ จัดการกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชวั่ โมง)

สนิ คา้ และ 2. หลกั การเลอื กซอ้ื - วิธสี อนแบบ 1. ทกั ษะการแสวงหาความรู้
บรกิ ารกบั การ 2. ทกั ษะการวเิ คราะห์
ดารงชีวิต สินค้าที่จาเป็นใน กระบวนการเรียน 3. ทักษะการสรุปลง

หนว่ ยการ การดารงชวี ิต ความรู้ความเข้าใจ ความเหน็
เรียนรู้ท่ี 3
เศรษฐศาสตร์ 2
ใกล้ตวั
หน่วยย่อยท่ี 2 4. ทักษะการจาแนก
(บทที่ 2)
การวางแผน 5. ทักษะการจัดกลุ่ม
การใช้จ่ายเงนิ
ของตนเอง 6. ทักษะการนาความรไู้ ปใช้

หนว่ ยการ 3. การใช้จา่ ยของ - วธิ ีสอนโดยเนน้ 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู
เรียนรูท้ ่ี 3
เศรษฐศาสตร์ ตนเอง กระบวนการ : 2. ทกั ษะการวเิ คราะห์

กระบวนการปฏิบตั ิ 3. ทักษะการใหเ้ หตุผล 3
4. ทกั ษะการสรปุ ลง

ความเหน็

5. ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้

4. สนิ คา้ และบริการ - วิธสี อนแบบสืบ 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล

ท่ีภาครฐั จัดหา เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล

และใหบ้ ริการแก่ Instructional Model) 3. ทักษะการสรปุ ลง 2
ประชาชน ความเห็น

4. ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้

5. ทกั ษะการจาแนก

5. ภาษีท่ีเกย่ี วข้อง - วธิ ีสอนแบบสบื 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล

กบั ชวี ติ ประจาวัน เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล

Instructional Model) 3. ทกั ษะการสรปุ ลง 3

ความเหน็

4. ทักษะการนาความรู้ไปใช้

6. การผลติ และการ - วิธสี อนโดยการจัดการ 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล

บริโภคสินค้าและ เรยี นรแู้ บบรว่ มมือ : 2. ทักษะการวเิ คราะห์ 2
บรกิ าร
เทคนิคคูค่ ิด 3. ทกั ษะการสรปุ ลง

ความเห็น

พิเศษ 24

หนว่ ยการ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ สี อน/กระบวนการ ทกั ษะการคดิ เวลา
เรยี นรู้ จดั การกิจกรรมการเรียนรู้ (ชั่วโมง)

ใกล้ตัว 7. ปัญหาพน้ื ฐาน - วธิ ีสอนแบบสบื 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู

หนว่ ยยอ่ ยที่ 3 ทางเศรษฐกิจกับ เสาะหาความรู้ (5Es 2. ทักษะการวเิ คราะห์ 2
(บทท่ี 3) ทรพั ยากร Instructional Model) 3. ทักษะการสรุปลง

การผลติ และ ที่มอี ยู่อย่างจากดั ความเห็น

การแขง่ ขนั ทาง 8. การแขง่ ขันทาง - วิธสี อนแบบแสดง 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู

การคา้ การคา้ บทบาทสมมติ 2. ทักษะการวิเคราะห์ 2
3. ทักษะการสรปุ ลง

ความเห็น

พเิ ศษ 25

หนว่ ยการ แผนการจัดการ วิธสี อน/วธิ กี าร การรเู้ รือ่ งภมู ิศาสตร์ (Geo-Literacy) เวลา
เรียนรู้ เรยี นรู้ จดั การกิจกรรม ความสามารถ กระบวนการ ทกั ษะ (ชวั่ โมง

หนว่ ยการ การเรยี นรู้ 1
เรยี นร้ทู ่ี 4 3
รูร้ อบ 1. ขอ้ มูลทาง - วธิ สี อนโดย - 1. ทักษะการ
ภูมิศาสตร์ 2
หนว่ ยย่อย ภมู ิศาสตร์ การจดั การ สงั เกต
ที่ 1 3
(บทท่ี 1) เรยี นรแู้ บบ 2. ทักษะการ 3
เครื่องมือ
ทาง ร่วมมอื : แปลความ
ภูมศิ าสตร์
เทคนคิ คคู่ ิด ข้อมูล
หน่วยการ
เรยี นรทู้ ่ี 4 2. ข้อมลู ทาง - กระบวนการ ความเข้าใจ 1. การตง้ั 1. ทกั ษะการ
ร้รู อบ
ภมู ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ระบบ คาถามเชงิ สังเกต
หน่วยย่อย
ที่ 2 ของโรงเรียน (Geographic ธรรมชาติและ ภูมิศาสตร์ 2. ทักษะการ
(บทที่ 2)
และชมุ ชน Inquiry มนุษย์ 2. การ แปลความ

Process) รวบรวม ขอ้ มูล

3. การวาด - กระบวนการ 1. ความ ขอ้ มลู 3. ทักษะการ

แผนผังแสดง ทางภูมศิ าสตร์ เข้าใจ 3. การจัดการ ใชเ้ ทคนิค
ตาแหนง่ และ (Geographic ระบบ ข้อมูล และ
สถานท่ี Inquiry ธรรมชาติ เครอื่ งมือ
สาคัญใน Process) และมนษุ ย์ 4. การ ทาง
โรงเรียนและ 2. การให้ วเิ คราะห์ ภมู ศิ าสตร์
ชุมชน เหตผุ ลทาง ขอ้ มูล

ภูมิศาสตร์ 5. การสรปุ
เพ่ือตอบ

คาถาม

4. ลักษณะทาง - กระบวนการ 1. ความ 1. การต้ัง 1. ทกั ษะการ

กายภาพกับ ทางภูมศิ าสตร์ เข้าใจ คาถามเชงิ สังเกต

การดาเนนิ (Geographic ระบบ ภูมศิ าสตร์ 2. ทักษะการ

ชวี ิตใน Inquiry ธรรมชาติ 2. การ แปลความ

ชุมชน Process) และมนุษย์ รวบรวม ขอ้ มลู

5. ส่ิงแวดล้อม - กระบวนการ 2. การให้ ข้อมลู

และทรัพยา ทางภมู ศิ าสตร์ เหตุผลทาง 3. การจัดการ
กรธรรมชาติ (Geographic ภมู ิศาสตร์

พิเศษ 26

หนว่ ยการ แผนการจัดการ วธิ สี อน/วธิ ีการ การร้เู รื่องภูมิศาสตร์ (Geo-Literacy) เวลา
เรยี นรู้ เรียนรู้ จัดการกิจกรรม ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ช่วั โมง

การเรียนรู้ 2
2
ชุมชน กบั การ Inquiry ข้อมูล 2

ของเรา ดาเนินชวี ิต Process) 4. การ 2
ในชมุ ชน วิเคราะห์
6. ลักษณะของ - กระบวนการ ขอ้ มูล
เมืองและ ทางภมู ศิ าสตร์
ชนบท (Geographic 5. การสรุป
เพ่อื ตอบ
Inquiry คาถาม
Process)

7. สงิ่ แวดล้อม - กระบวนการ

ของชมุ ชน ทางภมู ิศาสตร์

ในอดีตกับ (Geographic

ปจั จบุ นั Inquiry

Process)

หน่วยการ 8. มลพิษและ - กระบวนการ 1. ความ 1. การตงั้ 1. ทักษะการ

เรยี นรู้ที่ 4 ผลกระทบ ทางภูมิศาสตร์ เขา้ ใจ คาถามเชิง สังเกต

รอบรู้ ของ เปล่ียน (Geographic ระบบ ภมู ศิ าสตร์ 2. ทกั ษะการ

ภูมิศาสตร์รู้ แปลง Inquiry ธรรมชาติ 2. การ แปลความ
หนว่ ยย่อย ส่งิ แวดล้อม Process) และมนุษย์ รวบรวม ขอ้ มลู
ท่ี 3 ในชมุ ชน
2. การให้ ขอ้ มูล

(บทที่ 3) 9. การจดั การ - กระบวนการ เหตผุ ลทาง 3. การจดั การ
ทางภมู ศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ ข้อมูล
ส่งิ แวดล้อม ส่งิ แวดลอ้ ม (Geographic 3. การ
Inquiry ตัดสินใจ 4. การ
ในชุมชน ในชมุ ชน Process) อย่างเป็น วิเคราะห์
ระบบ ขอ้ มูล

5. การสรปุ

เพอ่ื ตอบ

คาถาม

พิเศษ 27

องค์ประกอบของหน่วยกำรเรยี นรู้ / แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ช่ัวโมง

องค์ประกอบของหน่วยกำรเรียนรู้ องิ มำตรฐำน

หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่
กลุม่ สำระกำรเรียนรู้
ชั้น เวลำเรียน

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั

2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถิน่ (ถ้ามี)

4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น

5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

6. ช้นิ งาน/ภาระงาน

7. การวดั และการประเมนิ ผล
7.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน
(ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ประจำหน่วยกำรเรยี นร.ู้ ..)
7.2 การประเมินระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
7.3 การประเมินหลงั เรียน
(ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ประจำหนว่ ยกำรเรยี นร้.ู ..)
7.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

8. กจิ กรรมการเรียนรู้

9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้

พเิ ศษ 28

องคป์ ระกอบของแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้

แผนกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ี่

หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ช้นั ชัว่ โมง
เร่อื ง เวลำเรียน

1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

2. ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรยี นรู้

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ (ถา้ ม)ี คำถำมกระตุ้นควำมคดิ
4. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น
5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
6. กิจกรรมการเรยี นรู้

วิธสี อนและขนั้ ตอนกำรจัดกจิ กรรม
7. การวัดและการประเมินผล

8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

พิเศษ 29