วิทยาศาสตร์ ป.5 สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มีโครงสร้างและลักษณะที่เหมาะสมในแต่ละแหล่งที่อยู่ ซึ่งเป็นผลมาจาก

การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ดำรงชีวิตและอยู่รอดได้ในแต่ละแหล่งที่อยู่

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

 ว 1.1 ป. 5/1 บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่

จุดประสงค์การเรียนรู้

        1  บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ

        2  การสังเกตโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ      

        3 ลงความเห็นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่  ต่าง ๆ

        4  มุ่งมั่นในการทำงาน

การวัดผลและประเมินผล

      1. สังเกตการตอบคำถามในชั้นเรียนและเนื้อหาในใบงาน

      2. สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในขณะทำกิจกรรม

      3. สังเกตด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

วทิ ยาศาสตร์ เล่ม 1
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

2หนว่ ยการเรยี นรู้ที่

สิ่งมีชีวิตกับสง่ิ แวดลอ้ ม

ตัวช้ีวัด
• บรรยำยโครงสรำ้ งและลักษณะของส่งิ มชี ีวิตทเ่ี หมำะสมกับกำรดำรงชวี ติ ซ่ึงเป็นผลมำจำกกำรปรับตัวของสิ่งมีชวี ติ ในแต่ละแหล่งท่อี ยู่
• อธบิ ำยควำมสัมพันธ์ระหวำ่ งสง่ิ มชี วี ติ กับสง่ิ มชี วี ติ และควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งสงิ่ มชี วี ติ กับสิง่ ไม่มีชีวติ เพอื่ ประโยชนต์ อ่ กำรดำรงชีวติ
• เขยี นโซอ่ ำหำรและระบบุ ทบำทหน้ำท่ขี องส่ิงมชี วี ิตท่ีเป็นผ้ผู ลิตและผู้บริโภคในโซ่อำหำร
• ตระหนักในคุณคำ่ ของส่ิงแวดล้อมทีม่ ตี ่อกำรดำรงชวี ิตของสิง่ มชี วี ิต โดยมสี ่วนร่วมในกำรดูแลรักษำสิง่ แวดล้อม
• อธิบำยลกั ษณะทำงพนั ธุกรรมทม่ี กี ำรถ่ำยทอดจำกพอ่ แม่สูล่ ูกของพชื สัตว์ และมนุษย์
• แสดงควำมอยำกรอู้ ยำกเหน็ โดยกำรถำมคำถำมเก่ยี วกับลกั ษณะทค่ี ลำ้ ยคลึงกันของตนเองกบั พ่อแม่

ชีวติ สมั พนั ธ์ โครงสรา้ งและลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ติ ในแหลง่ ทอ่ี ยู่

โครงสรา้ งของพืชท่ีเหมาะสมต่อการดารงชีวติ ในแหล่งที่อยู่

ผักตบชวา กระบองเพชร

ขึน้ ในนำ้ ข้ึนตำมทะเลทรำย
มีโคนกำ้ นพองออก ภำยในมโี พรงอำกำศมำก มีลำต้นหนำเพอ่ื กกั เก็บน้ำ
ลำต้นมีน้ำหนักเบำ เปลย่ี นใบเป็นหนำมเพอ่ื ลดกำรคำยนำ้
ลอยนำ้ ไดด้ ี มรี ำกแผก่ ระจำยไปไกลเพื่อดูดซึมน้ำได้มำก

โกงกาง บวั

ข้ึนตำมป่ำชำยเลน เปน็ พืชน้ำท่ีข้นึ ไดด้ ใี นดนิ เหนยี วและ
มรี ำกคำ้ จนุ ตน้ เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หล้ ำตน้ มนี ้ำทว่ มขังตลอดเวลำ
โคน่ ลม้ ไดง้ ำ่ ย เม่อื มนี ้ำทะเลซดั ชำยฝัง มลี ำต้นเป็นโพรงอำกำศ เพื่อใหล้ ำต้นเบำ
หรือเมอื่ นำ้ ทะเลขน้ึ -ลง และลอยนำ้ ได้

ชวี ติ สมั พันธ์ โครงสรา้ งและลักษณะของสงิ่ มชี วี ติ ในแหล่งท่ีอยู่

โครงสร้างของสตั วท์ ่เี หมาะสมตอ่ การดารงชวี ติ ในแหลง่ ทอี่ ยู่

ตั๊กแตนใบไม้ หมขี ้ัวโลก

เปน็ แมลงทอ่ี ำศัยอยูบ่ นต้นไมแ้ ละใบไม้ เปน็ สตั วท์ ่อี ำศัยอยบู่ ริเวณข้ัวโลกเหนอื
ลำตัวมสี เี ขยี วหรือมรี ูปรำ่ งเหมือนใบไม้ มีขนหนำฟู
ท่เี กำะอยู่ มอี งุ้ เท้ำหนำ
มีไขมันสะสมอยใู่ ต้ช้ันผวิ หนงั มำก
อฐู ทำให้ทนทำนตอ่ สภำพอำกำศหนำวเยน็
เป็นสตั วท์ อ่ี ำศัยในบริเวณทะเลทรำย
มีขนตำยำวทำให้ทรำยเขำ้ ตำไดย้ ำก ปลา
มหี นอกสะสมไขมนั ไว้สำหรับดึงมำใช้ได้ เป็นสัตว์ที่อำศยั อยู่ในน้ำ มที ง้ั ปลำนำ้ จืด
มขี ำยำวสูงและกบี เทำ้ แบนไวเ้ ดินบนทรำย และปลำน้ำเคม็
มขี นเกรียนทำใหร้ ะบำยควำมรอ้ นไดด้ ี มีรูปร่ำงเรียวยำว ลำตัวแบน เพอ่ื ให้เหมำะสม
กบั กำรเคลอื่ นท่ีในน้ำ
ใชค้ รีบและกลำ้ มเนื้อลำตวั เพ่อื เคลอื่ นท่ีในนำ้

ชวี ติ สัมพนั ธ์ ความสัมพันธใ์ นสง่ิ แวดล้อม ความสัมพันธร์ ะหว่างส่งิ มีชวี ติ กบั สิ่งมชี ีวิต

ความสมั พันธ์ด้านแหลง่ ทอ่ี ยู่อาศัย

เสอื อาศัยอยู่ในปา่ ชา้ งอาศยั อย่ใู นป่า

นกอาศยั อยบู่ นต้นไม้ ผง้ึ ทารังอย่บู นต้นไม้

ชวี ติ สมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ในสิ่งแวดลอ้ ม ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งมชี วี ติ กบั ส่ิงมชี ีวติ

ความสัมพนั ธ์ด้านแหลง่ อาหาร

กบกนิ ตัก๊ แตนเปน็ อาหาร

นกกินปลาเป็นอาหาร

เสอื กินกวางเปน็ อาหาร

ชวี ิตสมั พันธ์ ความสมั พนั ธใ์ นส่ิงแวดลอ้ ม ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี วี ิตกบั ส่งิ มีชวี ติ

ความสมั พันธด์ า้ นแหลง่ สบื พนั ธุ์และเลย้ี งดูลูกอ่อน

นกทารังบนตน้ ไมเ้ พ่อื เลย้ี งดลู ูกอ่อน

ชวี ติ สมั พันธ์ ความสมั พันธ์ในสง่ิ แวดลอ้ ม ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งมีชวี ติ กบั สงิ่ มชี ีวติ

ความสมั พันธด์ า้ นแหลง่ หลบภัย

ปลาการ์ตูนซ่อนตัวในดอกไมท้ ะเล ปา่ รกทบึ เปน็ ทห่ี ลบภัยของสตั วป์ า่

ปะการงั เป็นท่ีหลบภยั ของสตั ว์นา้

ชวี ติ สมั พันธ์ ความสัมพันธใ์ นสิ่งแวดล้อม ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวิตกับส่ิงไม่มชี ีวิต

ในการดารงชวี ติ ของสิ่งมชี ีวติ จาเปน็ ต้องอาศัยสง่ิ แวดลอ้ มต่างๆ ท่เี ปน็ ส่ิงไมม่ ชี วี ิตเพื่อการดารงชวี ติ เชน่

1. แสง เป็นปัจจยั สาคญั ในการสร้างอาหารของพชื

2. อากาศ เปน็ ปัจจัยสาคญั ทม่ี อี ิทธิพลตอ่ การดารงชีวติ ของสง่ิ มชี ีวติ
เชน่ ส่งิ มชี ีวติ ใชแ้ ก๊สออกซิเจนในการหายใจ
3. อุณหภูมิ เป็นปจั จยั สาคญั ในการดารงชีวิตของสิ่งมชี ีวติ และมีผล
ต่อโครงสรา้ งหรอื ลกั ษณะของสงิ่ มีชีวิต เชน่ หมีขว้ั โลก
ปรบั ตวั ให้เหมาะสมกับแหลง่ ทีอ่ ยู่

ชวี ติ สัมพนั ธ์ ความสัมพันธใ์ นสง่ิ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชีวติ กบั ส่งิ ไม่มชี วี ิต

4. นา้ เปน็ ปัจจัยสาคญั ในการดารงชวี ติ ของสง่ิ มีชวี ติ เป็นแหลง่ ทอ่ี ยู่อาศยั
เป็นแหล่งอาหารใหก้ ับสง่ิ มชี ีวติ ตา่ งๆ

5. ดินและแร่ธาตุ เปน็ ปจั จัยสาคัญทช่ี ่วยในการเจรญิ เติบโตของพืช
เพราะเปน็ แหล่งแรธ่ าตทุ ส่ี าคัญของพืช เปน็ แหล่งทอ่ี ยอู่ าศยั
และแหล่งอาหารของสตั ว์บางชนิด เชน่ มด

ชวี ติ สมั พนั ธ์ การถ่ายทอดพลงั งานของสงิ่ มชี วี ติ โซอ่ าหาร

โซ่อาหาร คอื ควำมสมั พนั ธข์ องกลุม่ สิ่งมีชีวิตท่มี ีกำรกนิ ต่อกันเป็นทอด ๆ จำกผู้ผลติ สูผ่ บู้ ริโภคทำให้
มกี ำรถ่ำยทอดพลังงำนในอำหำรตอ่ เนือ่ งกันเป็นลำดับ จำกกำรกนิ ตอ่ กัน

ตวั อยา่ ง โซอ่ าหาร

แคร์รอต กระตา่ ย สนุ ขั จ้ิงจอก สิงโต
(ผู้ผลติ ) (ผบู้ ริโภคลาดับท่ี 1) (ผู้บริโภคลาดับที่ 2) (ผู้บริโภคลาดับสุดทา้ ย)

ผู้ผลิต คอื ส่งิ มชี ีวิตทสี่ รา้ งอาหารไดเ้ อง ผู้บริโภค คือ ส่งิ มชี วี ติ ทส่ี รา้ งอาหารเองไมไ่ ด้
จึงต้องกินสงิ่ มชี วี ติ อื่นเปน็ อาหาร

ชวี ติ สมั พันธ์ การถา่ ยทอดพลงั งานของสง่ิ มีชวี ิต โซ่อาหาร

ตวั อย่าง โซอ่ าหาร

ข้าวโพด ตัก๊ แตน กบ งู เหยยี่ ว
(ผผู้ ลติ ) (ผู้บรโิ ภคลาดบั ท่ี 3) (ผบู้ ริโภคลาดบั สดุ ทา้ ย)
(ผบู้ รโิ ภคลาดับท่ี 1) (ผู้บริโภคลาดบั ท่ี 2)

ชวี ิตสมั พนั ธ์ ความสาคัญของสง่ิ แวดล้อม

มนุษยแ์ ละส่ิงมีชวี ติ ตา่ ง ๆ สามารถใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตติ ่าง ๆเพื่อการดารงชีวติ หากเราใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
โดยไม่ระวัง อาจเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตต่าง ๆได้ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติบางประเภท
เช่น ปา่ ไม้ หมนุ เวียนกลับมาใชใ้ หม่ได้อกี แตต่ ้องใชร้ ะยะเวลานาน ดังนน้ั เราจึงต้องช่วยกันรกั ษาทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม

ตวั อยา่ ง การทาลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตวั อย่าง การรักษาทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม

โรงงานปลอ่ ยควันพษิ ปลูกต้นไม้

ท้ิงขยะในแหล่งนา้ ช่วยกันรณรงค์
ใหร้ กั ษาสิ่งแวดล้อม

ลกั ษณะทางพันธกุ รรมของสงิ่ มชี วี ติ การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของส่ิงมชี ีวติ

ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลกั ษณะของสิ่งมชี วี ิตทถ่ี ่ำยทอดจำกพ่อแมไ่ ปสลู่ ูกได้
และถำ่ ยทอดจำกรนุ่ หนึ่งไปยังอีกร่นุ หนึง่ ตอ่ ไปเร่ือยๆ เชน่

ลักษณะสีผมของมนุษย์
ลกั ษณะสดี อกของพชื

ลกั ษณะสขี นของสตั ว์

ลกั ษณะทางพันธกุ รรมของสง่ิ มีชีวิต การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสิ่งมีชวี ิต

การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของมนุษย์

ตวั อย่าง × T แทน แอลลีลของมนุษย์ท่มี ผี มหยกั ศก
t แทน แอลลลี ของมนษุ ย์ทีม่ ีผมตรง
รุ่นพ่อแม่ Tt
tt
เซลลส์ บื พนั ธ์ุ TT
T t

รุ่นลูก Tt Tt Tt

Tt

ลกั ษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ิต การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของสง่ิ มชี ีวติ

การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของสตั ว์ สัตว์แต่ละชนิดย่อมเกดิ มำจำกสัตว์ชนดิ เดียวกนั และลูกของสตั ว์เหล่ำนน้ั จะมี

ลักษณะหลำยๆอยำ่ งที่คลำ้ ยคลงึ กบั พอ่ และแมข่ องมนั เชน่ ลักษณะขน สีผวิ

ตัวอยา่ ง รุ่นพ่อแม่ × A แทน แอลลลี ของปลาสดี า
a แทน แอลลลี ของปลาสขี าว
AA aa

เซลลส์ ืบพนั ธ์ุ A Aa a

รนุ่ ลกู Aa Aa Aa Aa
เซลลส์ บื พันธ์ุ
A a Aa

รุ่นหลาน AA Aa Aa aa

ปลารุ่นหลานจะปรากฏเปน็ สัดส่วนของลักษณะเดน่ ต่อลกั ษณะด้อย = 3 : 1

ลกั ษณะทางพันธุกรรมของสง่ิ มีชวี ิต การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของสิ่งมีชวี ติ

การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมของพืช ลักษณะทำงพนั ธุกรรมของพืชแต่ละชนิดที่ไดร้ ับถำ่ ยทอด
มำจำกรุน่ บรรพบรุ ุษ เชน่ สีของดอก ควำมสงู ของตน้

ตวั อย่าง รุ่นพอ่ แม่ × A แทน แอลลลี ความสงู ของพชื
aa a แทน แอลลีลความเต้ยี ของพชื
AA
เซลล์สบื พนั ธ์ุ A Aa a

ลูกรนุ่ ที่ 1

Aa Aa Aa Aa

เซลล์สบื พันธุ์ A a A a

ลูกรุ่นที่ 2 AA Aa Aa aa

ต้นพืชรุ่นท่ี 2 จะปรากฏเปน็ สดั สว่ นของลกั ษณะเดน่ ต่อลักษณะดอ้ ย = 3 : 1