การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

การวัดน้ำหนัก ป.2
แบบทดสอบการวัดน้ำหนัก ป.2
 ID: 2353906
Language: Thai
School subject: คณิตศาสตร์
Grade/level: ป.2
Age: 7-8
Main content: การวัดน้ำหนัก
Other contents: บทที่ 4 การวัดน้ำหนัก

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
 Add to my workbooks (1)
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
 Download file pdf
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
 Embed in my website or blog
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
 Add to Google Classroom
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
 Add to Microsoft Teams
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

chaiyanipaporn


การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

What do you want to do?

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

ชั่วโมง เครื่องชั่งชนิดต่างๆ และการชั่งน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด และการเปรียบเทียบน้ำหนักในหน่วยเดียวกัน

เรื่อง เครื่องชั่งชนิดต่างๆ และการชั่งน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด และการเปรียบเทียบน้ำหนักในหน่วยเดียวกัน 31 ม.ค. 2562 (มีแบบฝึกหัด)

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การบอกน้ำหนักของสิ่งต่าง ๆ อาจบอกน้ำหนักเป็นกรัม เป็นกิโลกรัมและกรัม

- น้ำหนัก 1 ขีด เท่ากับ น้ำหนัก   100 กรัม

- น้ำหนัก 1 กิโลกรัม เท่ากับ  น้ำหนัก 1,000 กรัม

การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม

1. การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นการบอกน้ำหนักให้ใกล้เคียงกับน้ำหนักที่ชั่งได้จริง

2. การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม อาจเทียบกับน้ำหนัก 1 กิโลกรัม

ปัจจุบันการเดินทางโดยเครื่องบินมีราคาถูกกว่าแต่ก่อนมาก เนื่องจากมีสายการบิน Low cost มาเปิดให้บริการ อีกทั้งการเดินทางโดยเครื่องบินก็ใช้เวลาเดินทางไม่นาน ทำให้ไม่เหนื่อยกับการเดินทาง จึงมีการเดินทางด้วยเครื่องบินเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก สำหรับมือใหม่ที่ไม่เคยขึ้นเครื่องบินมาก่อน อาจจะกลัวว่าขึ้นเครื่องไม่ถูก กลัวจะตกเครื่อง ลองมาดูรีวิวนี้ครับ รับรองว่าอ่านจบแล้วขึ้นเครื่องได้อย่างแน่นอน

ก่อนที่จะบอกขั้นตอนต่างๆ เรามาเรียนรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการขึ้นเครื่องกันก่อน

Itinerary = ใบรายละเอียดการเดินทาง เรามักจะได้ใบนี้หลังจากที่เราซื้อตั๋วเครื่องบินทางอินเตอร์เนต

Air Ticket = ตั๋วเครื่องบิน

E-Ticket = ตั๋วเครื่องบินแบบอิเล็กทรอนิกส์ในรูปไฟล์ส่งไปทางเมล หรือ แบบกระดาษ A4 ทางสายการบินหรือเอเจนซี่จะส่งให้หลังจากการจองเสร็จสมบูรณ์ ตั๋วชนิดนี้ไม่สามารถใช้ขึ้นเครื่องได้เลย ต้องไป check in ที่สนามบินในวันเดินทางเสียก่อน ถึงจะได้ตั๋วจริง

Boarding Pass = บัตรโดยสาร / ใบผ่านขึ้นเครื่อง

Departure Time = เวลาเครื่องออก

Boarding Time = เวลาขึ้นเครื่อง

Departing = เครื่องออกจาก (สนามบิน) / เวลาออก

Arriving = เครื่องถึงที่หมาย (สนามบิน) / เวลาถึง


ข้อห้าม

การเดินทางโดยเครื่องบินมีข้อห้ามหลายอย่าง เพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสาร ในที่นี้จะพูดถึงกฎทั่วไปของทุกสายการบิน ส่วนกฎของแต่ละสายการบิน เช่นน้ำหนักกระเป๋าถือขึ้นเครื่อง จำนวนสัมภาระติดตัว ฯลฯ ให้ดูได้จากเวบไซต์ของสายการบิน ควรศึกษาก่อนขึ้นเครื่อง

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

1. ห้ามนำของเหลวถือขึ้นเครื่องเกินชิ้นละ 100 ml (ml, cc, g ให้ถือเป็นค่าเดียวกัน) หากมีความจำเป็นต้องนำของเหลวติดตัวไปด้วยเช่นพวกแชมพู สบู่เหลว ให้ใช้วิธีแบ่งใส่ขวดเล็กๆ ที่มีปริมาตรไม่เกิน 100 ml ควรจะเป็นขวดที่ระบุปริมาณชัดเจน เช่น ขวดแชมพูเก่า ขนาดเล็ก โดยวิธีนี้เราสามารถนำของเหลวติดตัวรวมกันแล้วไม่เกิน 1,000 ml ขนาดของของเหลวจะยึดจากฉลากบรรจุภัณฑ์เป็นหลัก เช่น ครีม ที่ฉลากติดไว้ว่า 120 ml ถึงแม้ว่าจะใช้ไปแล้วครึ่งหนึ่งก็ไม่สามารถนำติดตัวไปได้ เพราะปริมาตรที่ฉลากระบุไว้เกิน 100 ml ของเหลวที่มีปริมาณเกินที่ระบุไว้จะต้องถูกทิ้งขยะ แต่ในกรณีของเหลวโหลดเป็นสัมภาระใต้ท้องเครื่องจะไม่จำกัดปริมาณ

น้ำพริก จัดอยู่ในประเภทของเหลว ถ้าต้องการนำติดตัวขึ้นเครื่อง ให้เลือกบรรจุภัณฑ์ที่ฉลากระบุปริมาตรไม่เกิน 100 กรัม

2. ห้ามนำของมีคม วัตถุไวไฟ อาวุธ ถือขึ้นเครื่อง เช่นกรรไกร มีด คัทเตอร์ ดอกไม้ไฟ ถ้าเจ้าหน้าที่ตรวจเจอจะต้องถูกทิ้งขยะ

3. น้ำหนักกระเป๋า – สัมภาระขึ้นเครื่อง สายการบินโดยทั่วไป ให้นำกระเป๋าถือขึ้นเครื่องได้ 1 ใบ น้ำหนักไม่เกิน 7 กิโลกรัม ขนาดไม่เกิน 56x36x23 cm สำหรับกระเป๋าถือของผู้หญิงหรือกระเป๋ากล้องสามารถนำติดตัวไปได้โดยไม่นับว่าเป็นสัมภาระ

4. ห้ามนำ Power bank โหลดใต้ท้องเครื่อง แต่สามารถถือขึ้นเครื่องได้ โดย Power bank ต้องมีขนาดไม่เกิน 32,000 mAh โดยพนักงานจะอ้างอิง mAh ของ Power bank ตามรายละเอียดที่ติดกับ Power bank หากไม่มีรายละเอียดติดไว้ หรือลอกออกหมดแล้ว อาจถูกปฏิเสธไม่ให้นำ Power bank ขึ้นเครื่อง


ขั้นตอนการขึ้นเครื่องบิน

หลังจากศึกษาข้อห้ามเรื่องของเหลว ของมีคม และข้อห้ามของสายการบินไปแล้ว ทีนี้เรามาดู 9 ขั้นตอนง่ายๆ ในการขึ้นเครื่องกัน

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

1. เตรียมตัว หลังจากที่เราได้จองตั๋วเครื่องบินกับสายการบิน หรือ เอเจนซี่เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เราจะได้ Itinerary หรือ E-Ticket ใบนี้จะพิมพ์ออกมาเป็นกระดาษหรือจะเก็บเป็นรูปไว้ในมือถือก็ได้ ใบ Itinerary หรือ E-Ticket ยังไม่ใช่ตั๋วที่ขึ้นเครื่องได้เลย เราจะต้องผ่านกระบวนการเช็คอิน เพื่อยืนยันว่าเรามาถึงสนามบิน พร้อมขึ้นเครื่องแล้ว สำหรับมือใหม่แนะนำว่าควรไปถึงสนามบินก่อนเครื่องออก 2 ชั่วโมง

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

ซ้าย. Itinerary ของ Air Asia, ขวา. eTicket ของ Thai Lion Air

2. ตรวจสอบเที่ยวบิน เมื่อถึงสนามบินให้เช็คดูจอมอนิเตอร์ว่าเที่ยวบินที่เรานั่งมีสถานะเป็นยังไง ออกตามเวลาหรือ Delay หรือไม่ เค้าน์เตอร์เช็คอินหมายเลขอะไร

(2.1) สำหรับคนที่บินสายการบิน Air Asia, Nok Air และ Lion Air ที่ไม่มีสัมภาระโหลด + ทำ Web Check-in มาแล้ว ให้ข้ามไปข้อ 4 เลย

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

3. เช็คอิน ให้เดินไปที่เคาน์เตอร์ของสายการบินช่องผู้โดยสารในประเทศ เพื่อทำการเช็คอิน – โหลดกระเป๋า (ถ้ามี) โดยจะต้องใช้บัตรประชาชน (Itinerary จะมีหรือไม่มีก็ได้) เสร็จจากขั้นตอนนี้เราจะได้ใบ Boarding Pass มา ให้ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ – นามสกุล ที่นั่ง เกต

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

เค้าน์เตอร์เช็คอิน นกแอร์

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

Boarding Pass นกแอร์

4. เข้าโซนผู้โดยสารขาออก เดินตามป้ายผู้โดยสารขาออกภายในประเทศ ส่งบัตรประชนชนพร้อม Boarding Pass ให้เจ้าหน้าที่ตรวจ จากนั้นก็วางกระเป๋าที่จะถือขึ้นเครื่องใส่สายพาน x-ray ส่วนของที่อยู่ในกระเป๋ากางเกง กระเป๋าเสื้อ เข็มขัด ให้หยิบออกมาวางในตระกร้าให้หมด แล้วเดินผ่านประตูตรวจจับโลหะ รับสัมภาระคืน (บางสนามบินจะมีการตรวจ Boarding Pass หลังสแกนสัมภาระ เช่นสนามบินเชียงราย)

ในขั้นตอนสแกนสัมภาระจะเข้าได้เฉพาะคนที่มี Boarding Pass เท่านั้น คนที่มาส่งจะไม่สามารถเข้าไปด้านในได้, น้ำดื่ม จะต้องทานให้หมดก่อนเข้าสแกนสัมภาระ หรือไม่ก็ต้องทิ้งลงถังขยะ

ในขั้นตอนนี้ บางสนามบินอาจไม่ได้ x-ray กระเป๋าต่อจากการตรวจ Boarding Pass แต่จะ x-ray ก่อนเข้าเกต เช่น สนามบินสุวรรณภูมิ

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

5. รอขึ้นเครื่อง เดินไปรอขึ้นเครื่องตามเกตที่ระบุใน Boarding Pass ในกรณีที่ Boarding Pass ไม่ได้ระบุไว้ก็สามารถดูได้จากจอมอนิเตอร์ได้เช่นกัน เมื่อถึงเกตแล้วให้ดูว่าเที่ยวบินตรงกับใน Boarding Pass เราหรือไม่ ระหว่างรอให้ดูจอประจำเกตอยู่ตลอดเวลาว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ บางครั้งก็มีการเปลี่ยนเกตได้เหมือนกัน

ถ้าไปถึงเกตก่อนเวลาเครื่องออกตั้งแต่ 60 นาทีขึ้นไปจะไปชอปปิ้ง ทานข้าว เดินเล่นก่อนก็ได้ แนะนำว่าให้เข้าห้องน้ำ ทำธุระให้เรียบร้อยก่อนขึ้นเครื่อง

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

รายละเอียดเที่ยวบิน, Boarding Time, ที่นั่ง, เกต ที่ระบุใน Boarding Pass

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

ที่นั่งรอขึ้นเครื่อง

6. ขึ้นเครื่อง ก่อนเครื่องออก 30-40 นาที (Boarding Time) จะมีเจ้าหน้าที่เรียกขึ้นเครื่อง โดยจะเรียกผู้โดยสารที่ซื้อตั๋วใน class แพงขึ้นก่อน เช่น Business class, Hot seat, High Flyer จากนั้นจึงตามด้วยผู้โดยสารที่เหลือ เจ้าหน้าที่จะขอดูบัตรประชาชนพร้อม Boarding Pass และฉีก Boarding Pass ส่วนของสายการบินออก คืนส่วนที่เหลือให้เรา

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

สิ่งที่แตกต่างระหว่างเครื่องบินกับรถทัวร์คือเวลาขึ้นเครื่อง เครื่องบินจะต้องขึ้นก่อนเครื่องออก 30-40 นาที (Boarding Time) มือใหม่บางคนไม่รู้ไปขึ้นเครื่องตามเวลาเครื่องออกเป๊ะ (Departure Time) ผลสุดท้ายคือตกเครื่องไปตามระเบียบ เวลาที่เครื่องออกจะเป็นเวลาที่เครื่อง Push back ถอยออกจากงวงช้าง เตรียมที่จะ Take Off

7. นั่งตามหมายเลข เมื่อขึ้นไปอยู่บนเครื่องแล้วให้นั่งตามหมายเลขที่ระบุไว้ หมายเลขที่นั่งจะติดอยู่บริเวณที่เก็บสัมภาระ หากหาไม่เจอ หรือมีคนมานั่งที่เรา ให้ขอความช่วยเหลือกับลูกเรือบนเครื่อง สัมภาระที่นำติดตัวขึ้นเครื่องสามารถเก็บไว้ในช่องด้านบนได้ ส่วนของมีค่าให้เก็บไว้กับตัว

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

หมายเลขที่นั่งบนเครื่องบิน

เมื่อนั่งแล้วให้รัดเข็มขัด อุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด โทรศัพท์มือถือ ไอแพด จะต้องปิดเครื่องก่อนที่เครื่องบินจะออก และจะสามารถเปิดใช้งานใน Flight mode ได้หลังจากที่เครื่องรักษาระดับได้แล้ว จะมีไฟสัญญาณบอก

ก่อนที่เครื่องจะ Take Off จะมีลูกเรือมาสาธิตความปลอดภัย เช่นหน้ากากออกซิเจน เสื้อชูชีพ ประตูทางออกฉุกเฉิน

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

8. เดินทาง ผู้โดยสารจะต้องรัดเข็มขัดในเวลาที่เครื่องขึ้น และ ลง แต่เพื่อความปลอดภัยจะแนะนำให้รัดเข็มขัดไว้ตลอดเวลา สำหรับคนที่ไม่เคยขึ้นเครื่อง เวลาเครื่อง Take Off หรือ Landing มักจะมีอาการหูอื้อ แนะนำให้เคี้ยวหมากฝรั่งหรือกลืนน้ำลายบ่อยๆ จะช่วยได้ ถ้ารู้สึกเวียนหัวให้หลับตา นอน หรือ ถ้าอยากจะอาเจียนให้หยิบถุงอ้วกที่ช่องใส่หนังสือมาใช้ได้ ลักษณะจะเป็นถุงกระดาษสีขาว

บนเครื่องบินมีห้องน้ำแต่จะใช้ได้ช่วงที่เครื่องบินรักษาระดับได้แล้ว ช่วงบินขึ้น (Take Off) และลง (Landing) ไม่สามารถใช้ห้องน้ำได้ ให้สังเกตดูได้จากไฟสถานะห้องน้ำบนเครื่อง ถ้าไฟเขียวแสดงว่าใช้งานได้

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

9. ถึงที่หมาย เมื่อถึงที่หมายให้ไปรอรับกระเป๋าที่สายพาน (ถ้ามี) ตามที่หน้าจอระบุไว้ในสนามบินปลายทาง แล้วก็เดินออกจากสนามบินได้เลย เป็นอันจบภารกิจ

การวัด น้ำหนักเป็น กิโลกรัม ป 2

เก้าขั้นตอนง่ายๆ นี้ เราคิดว่าจะทำให้มือใหม่ได้รู้ขั้นตอนการขึ้นเครื่อง ไม่ต้องกลัวตกเครื่อง การขึ้นเครื่องบินนั้นขั้นตอนอาจจะเยอะกว่าการขึ้นรถทัวร์นิดหน่อย เพราะมีขั้นตอนความปลอดภัยที่เข้มงวดกว่า แต่ก็ไม่ได้ยุ่งยากมากมาย