เฉลย วิทยาศาสตร์ ม.2 ระบบหมุนเวียนเลือด

หน่วย รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบต่างๆ ในร่างกาย

ชั่วโมง ระบบหมุนเวียนเลือด 2

เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด( 2) วันที่ 6 ส.ค. 63 (มีใบกิจกรรม)

หนว่ ยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01108 คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรูก้ อ่ นเรยี น เขียนเคร่ืองหมาย  ลอ้ มรอบข้อทีถ่ กู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. สารอาหารที่มีขนาดเล็กส่วนใหญ่จะถกู ดูดซึมบรเิ วณใดของทางเดินอาหาร ก. หลอดอาหาร ข. กระเพาะอาหาร ค. ลาไสเ้ ลก็ ง. ลาไส้ใหญ่ 2. สารอาหารส่วนใหญ่จะถกู ลาเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายโดยไปกบั สิง่ ใด ก. เซลล์เม็ดเลือดแดง ข. เลอื ด ค. น้าเหลือง ง. ไขมัน 3. จงเรียงลาดับการจดั ระบบในร่างกายจากหน่วยใหญ่ที่สุดไปยงั หนว่ ยเล็กท่สี ุด 1. ส่ิงมีชีวิต 2. เซลล์ 3. ระบบอวัยวะ 4. เนื้อเยอ่ื 5. อวัยวะ ก. 1 2 3 4 5 ข. 1 3 5 4 2 ค. 2 4 5 3 1 ง. 3 1 4 5 2 4. ภาพใดแสดงระบบอวัยวะของรา่ งกาย ก ข. ค. ง. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

109 หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนษุ ย์ ค่มู อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 2. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือดโดยให้นักเรียนทากิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถเขียนข้อความ แผนผัง หรือแผนภาพได้อย่างอิสระตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูยังไม่เฉลย คาตอบท่ีถูกต้อง แต่ครูควรรวบรวมแนวคิดคลาดเคลื่อนที่พบเพื่อนาไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และแก้ไข แนวคิดคลาดเคลือ่ นเหล่านัน้ ใหถ้ ูกต้อง ตัวอยา่ งแนวคิดคลาดเคลอื่ นซ่ึงอาจพบในเรอื่ งน้ี • เลือดทข่ี าดแก๊สออกซิเจนจะมีสีนา้ เงนิ และจะเปลยี่ นเป็นสแี ดงเมอื่ ไดร้ บั แกส๊ ออกซเิ จน • หลอดเลือดอารเ์ ทอรที ุกหลอดเป็นหลอดเลือดที่นาเลอื ดท่ีมแี ก๊สออกซิเจนสงู หลอดเลือดเวนทกุ หลอดเลือด เปน็ หลอดเลือดทีน่ าเลือดทม่ี ีแก๊สออกซเิ จนต่า • เลือดสร้างขึน้ ภายในหัวใจ • เลอื ดท่ีสูบฉดี ออกจากหัวใจทุกห้องจะไปยังสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย 3. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารในลาไส้เล็กที่ได้เรียนมาแล้ว เพ่ือเช่ือมโยงเข้าสู่ เน้ือหาเก่ียวกับระบบหมุนเวียนเลือด จากนั้นตั้งคาถามเก่ียวกับส่วนประกอบของระบบหมุนเวียนเลือด และ ส่วนประกอบของเลือด แลว้ ให้นกั เรยี นอ่านเนื้อหาในหนงั สอื เรียนหน้า 53-54 ร่วมกันอภปิ รายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า 3.1 ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจ หลอดเลอื ด และเลือด 3.2 เลือดมีส่วนประกอบได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด และพลาสมา โดยพลาสมา ประกอบด้วยน้าและสารหลายชนิดละลายอยู่ เช่น โปรตีนที่เก่ียวข้องกับการแข็งตัวของเลือด แอนติบอดี สารอาหาร ฮอร์โมน ยเู รยี แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ 4. เช่ือมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 3.1 เซลล์เม็ดเลือดมีลักษณะเป็นอย่างไร โดยใช้คาถามว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เซลลเ์ มด็ เลือดแต่ละชนิดมลี ักษณะเหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ 01110 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 3.1 เซลล์เม็ดเลอื ดมลี ักษณะอย่างไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดาเนนิ การดังน้ี กอ่ นการทากิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้คาถาม ดงั ต่อไปน้ี • กิจกรรมนีเ้ รยี นเก่ียวกบั เรื่องอะไร (ลกั ษณะของเซลล์เมด็ เลอื ด) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (สังเกตและเปรียบเทียบขนาด ปริมาณ และรูปร่างลักษณะของเซลล์เม็ดเลือดแดง และเซลล์เมด็ เลือดขาวของมนษุ ย์) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกตเซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาวโดยใช้กล้อง จุลทรรศนใ์ ชแ้ สง เปรยี บเทยี บขนาด ปรมิ าณ และรูปร่างลกั ษณะของเซลล์ท้งั สองชนดิ ) ครคู วรบนั ทึกข้ันตอนการทากจิ กรรมโดยสรุปบนกระดาน • นักเรยี นต้องสงั เกตหรอื รวบรวมขอ้ มลู อะไรบา้ ง (สังเกตและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับขนาด ปริมาณ และรปู รา่ งลักษณะของเซลลเ์ มด็ เลือดแดงและเซลล์เม็ดเลือดขาว) ระหว่างการทากิจกรรม (30 นาท)ี 2. ขณะท่ีแตล่ ะกลุม่ ทากจิ กรรม ครคู วรเดนิ สงั เกตการทากจิ กรรมในแต่ละกลมุ่ และใหค้ าแนะนาถ้านกั เรยี นมีข้อสงสัยใน ประเด็นต่าง ๆ เช่น การใช้กล้องจุลทรรศน์ การตรวจหาชนิดของเซลล์เม็ดเลือด ซ่ึงครูควรรวบรวมปัญหาและ ข้อสงสยั ต่าง ๆ จากการทากิจกรรมของนกั เรียนเพื่อใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการอภปิ รายหลงั การทากิจกรรม หลงั การทากิจกรรม (10 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกิจกรรมเปน็ แนวทาง เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อสรุปจากกจิ กรรมวา่ เซลล์เมด็ เลือดแดงเป็นเซลลท์ ่มี ีรูปร่างกลม ตรงกลาง เวา้ เข้าหากัน และเป็นเซลลท์ ่ีไมม่ นี วิ เคลยี ส ส่วนเซลล์เม็ดเลอื ดขาวเปน็ เซลลท์ ีม่ ีรปู รา่ งกลมและมนี ิวเคลียส ขนาดของ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงเล็กกว่าเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว นอกจากน้ปี ริมาณของเซลล์เม็ดเลือดแดงมมี ากกวา่ เซลล์เมด็ เลือดขาว 4. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติม โดยอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียนหน้า 56-57 เกี่ยวกับหน้าท่ี ความสาคัญ แหล่งที่สร้างและ รายละเอยี ดอ่ืน ๆ ของเซลลเ์ มด็ เลือดและเกล็ดเลือดและตอบคาถามระหว่างเรียน จากน้ันร่วมกันอภปิ ราย เพ่อื ให้ได้ ข้อสรปุ วา่ ส่วนประกอบของเลอื ดมีหน้าที่และความสาคัญแตกตา่ งกัน และสร้างมาจากไขกระดกู สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

111 หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • เพราะเหตุใดผู้ทสี่ ญู เสียเลือดไปกับการให้เลอื ดหรอื การบรจิ าคเลือดจงึ ไม่เป็นอนั ตรายต่อร่างกาย แนวคาตอบ เพราะเลือดท่ีสูญเสียไปจากการให้หรือบริจาคเลือดมีปริมาณไม่มากนัก (ไม่เกินร้อยละ 10 ของ ปริมาณเลือดในร่างกาย) และหลังจากสูญเสียเลือด ไขกระดูกจะสร้างเซลล์เม็ดเลอื ดและเกลด็ เลือดขึ้นมาใหม่ ทดแทนของเดิม • หลังจากบริจาคเลือด เพราะเหตุใดแพทย์จึงแนะนาให้รับประทานอาหารท่ีมีธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบ หรือให้ยาเสรมิ ธาตเุ หล็ก แนวคาตอบ การที่แพทย์แนะนาให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กหรือยาเสริมธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็ก เป็นส่วนประกอบของเฮโมโกลบินของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง และจาเปน็ ต่อการสรา้ งเซลล์เม็ดเลือดแดง • ในการตรวจเลือด บางครั้งแพทย์จะตรวจนับจานวนเซลล์เม็ดเลือด การตรวจนับจานวนเซลล์เม็ดเลือดมี ความสาคญั ตอ่ การวินจิ ฉยั โรคอย่างไร แนวคาตอบ การตรวจนับเซลล์เม็ดเลือดเป็นการวินิจฉัยโรคอย่างกว้าง ๆ เก่ียวกับสุขภาพของร่างกาย โดย สังเกตจากจานวนเซลล์เม็ดเลือดท่ีนับได้ว่ามีมากหรือน้อย เช่น ถ้าจานวนเซลล์เม็ดเลือดแดงน้อยจะทาให้ ร่างกายซีดหรือเป็นโรคโลหิตจาง ส่วนการตรวจนับจานวนเซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิดท่ีมีมากกว่าปกติ แสดง ว่าบคุ คลนัน้ อาจกาลังป่วยหรือเป็นไข้ หรือมีการอักเสบในบรเิ วณใดบริเวณหน่ึง เพราะรา่ งกายกาลังสรา้ งเซลล์ เมด็ เลือดขาวตอ่ สูก้ บั เชอื้ โรค • บุคคลทีม่ ีจานวนเกล็ดเลอื ดต่ากวา่ ปกติมาก ๆ จะสง่ ผลตอ่ รา่ งกายอย่างไร แนวคาตอบ ทาให้เลอื ดแข็งตัวช้ากวา่ ปกติ 5. เชื่อมโยงจากเร่ืองเลือดไปสู่เรื่องหลอดเลือด โดยใช้คาถามว่าเลือดเก่ียวข้องกับหลอดเลือดอย่างไร หรือเลือดอยู่ ภายในร่างกายได้อย่างไร (เลือดอยู่ภายในหลอดเลือด) จากน้ันให้นักเรียนสังเกตหลอดเลือดท่ีอยู่ตามบริเวณต่าง ๆ ของรา่ งกาย ซึ่งสว่ นใหญ่เปน็ หลอดเลอื ดเวน เพราะหลอดเลอื ดเวนอยู่ใกลผ้ วิ หนงั 6. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาและสังเกตภาพ 3.6 หลอดเลือดอาร์เทอรี หลอดเลือดเวน และหลอดเลือดฝอยจากหนังสือ เรยี นหน้า 59 แลว้ รว่ มกันอภปิ รายหน้าท่ีของหลอดเลอื ดทั้ง 3 ชนิด เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ วา่ หลอดเลือดมี 3 ชนิด ได้แก่ หลอดเลือดอารเ์ ทอรี หลอดเลอื ดเวน และหลอดเลอื ดฝอย ซง่ึ หลอดเลอื ดแตล่ ะชนดิ มหี น้าทีแ่ ตกต่างกัน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01112 ค่มู อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 7. ให้นักเรียนร่วมกันทานายโครงสร้างของหลอดเลือดแต่ละชนิด (ขนาด ความหนาของผนังหลอดเลือด แรงดันเลือด) จากหนา้ ที่ของหลอดเลือด โดยใชค้ าถาม เชน่ • จากหนา้ ทข่ี องหลอดเลือดอารเ์ ทอรีที่ทาหนา้ ทน่ี าเลอื ดออกจากหวั ใจโดยการบีบตวั ของหวั ใจไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของ รา่ งกาย และหลอดเลอื ดเวนซึ่งนาเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายเขา้ สหู่ วั ใจ นักเรียนคิดวา่ หลอดเลือดอาร์เทอรี น่าจะมีขนาด ความหนาของผนังหลอดเลือด และแรงดันภายในหลอดเลอื ดเป็นอย่างไรเม่ือเปรยี บเทียบกับหลอด เลอื ดเวน (ตอบได้อย่างอิสระตามความคิดของนกั เรียน) • หลอดเลือดฝอยเป็นหลอดเลือดที่แทรกอยู่ตามเนื้อเยื่อของร่างกาย และเป็นบริเวณท่ีมีการแลกเปล่ียนแก๊สและ สารตา่ ง ๆ ระหวา่ งเลือดกับเซลล์ หลอดเลือดฝอยนา่ จะมีขนาดและความหนาของผนงั หลอดเลือดเปน็ อย่างไรเม่ือ เปรียบเทยี บกบั หลอดเลอื ดเวนและอาร์เทอรี (ตอบไดอ้ ย่างอิสระตามความคดิ ของนักเรียน) 8. ให้นักเรียนเรียนรู้จากการอ่านเน้ือหาเก่ียวกับหลอดเลือดและภาพ 3.7 โครงสร้างของหลอดเลือดชนิดต่าง ๆ ตาม รายละเอียดในหนังสือเรยี นหนา้ 59 แล้วร่วมกันอภิปราย เพื่อใหไ้ ดข้ ้อสรุปว่า 8.1.หลอดเลอื ดแตล่ ะชนิดมโี ครงสร้างเหมาะสมกบั หนา้ ทข่ี องหลอดเลือดชนดิ นัน้ 8.2. หลอดเลือดอาร์เทอรีเป็นหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจโดยการบีบตัวของหัวใจและส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หลอดเลือดอาร์เทอรีมีผนังหนา มีเน้ือเยื่อหลายชั้น และยืดหยุ่นได้ดี สามารถขยายตัวและหดตัว เพือ่ รกั ษาแรงดันเลือดท่เี กิดจากการบีบตวั ของหัวใจไดด้ ี 8.3. หลอดเลือดเวนเป็นหลอดเลือดที่นาเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ มีผนังบางและยืดหยุ่นน้อยกว่าหลอดเลือดอาร์เทอรี ทาให้รกั ษาความดันของเลอื ดไดน้ ้อย แรงดนั ของเลือดในหลอดเลอื ดเวนจงึ นอ้ ยกวา่ ในหลอดเลือดอารเ์ ทอรีมาก 8.4. หลอดเลอื ดฝอยเป็นหลอดเลือดท่ีมีขนาดเล็กมากและผนังบาง ประกอบด้วยเซลล์เพียงชนั้ เดยี ว หลอดเลอื ดฝอย จงึ เป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สและสารต่าง ๆ ระหวา่ งเลอื ดกบั เซลล์ จากน้ันใหน้ กั เรียนตอบคาถามระหว่างเรียน เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • ในการบรจิ าคเลอื ด แพทยจ์ ะเจาะเลือดจากหลอดเลอื ดชนิดใด เพราะเหตุใด แนวคาตอบ หลอดเลือดเวน เพราะหลอดเลือดเวนอยู่ใกล้ผิวหนัง และเป็นหลอดเลือดท่ีมีขนาดใหญ่แต่มี ผนังบาง และแรงดันเลือดในหลอดเลือดเวนน้อย ซ่ึงต่างจากหลอดเลือดอาร์เทอรีที่มีผนังหนา และอยู่ใต้ ผวิ หนังลกึ ลงไป นอกจากนีแ้ รงดนั เลอื ดในหลอดเลอื ดอาร์เทอรียังมีมากกว่าในหลอดเลือดเวน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

113 หนว่ ยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 9. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเลือดและหลอดเลือดจากการตอบคาถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรอื อาจตรวจสอบโดยใชก้ ลวธิ ีอื่น ๆ ให้ครแู ก้ไขแนวคดิ คลาดเคลื่อนนน้ั ให้ถูกต้อง เชน่ ใช้คาถามและอภปิ รายร่วมกัน ใชแ้ ผนภาพ วดี ิทศั น์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคดิ คลาดเคลื่อน แนวคิดทถ่ี กู ต้อง เลือดท่ีขาดแก๊สออกซิเจนจะมีสีน้าเงิน และจะ เลือดทั้งหมดในรา่ งกายมสี ีแดง และไมไ่ ดม้ สี ีน้าเงิน เปลีย่ นเป็นสีแดงเมอื่ ได้รับแกส๊ ออกซิเจน แต่ที่เห็นเลือดในหลอดเลือดเวนเป็นสีน้าเงิน (Grade 11 U Biology1, 2018) เน่ืองจากแสงแพร่ผ่านผิวหนังสู่หลอดเลือดเวนซ่ึง อยู่ใกล้ผิวหนังทาให้มองเห็นเป็นสีน้าเงิน เลือด หลอดเลอื ดอาร์เทอรีทกุ หลอดเป็นหลอดเลือดที่นา ภายในหลอดเลือดเวนเป็นเลือดที่มีสีแดงคล้า เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง หลอดเลือดเวนทุก เพราะเป็นเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่าและแก๊ส หลอดเลือดเป็นหลอดเลือดที่นาเลือดท่ีมีแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซดส์ ูง ออกซิเจนตา่ (Khanacademy, 2017) (Grade 11 U Biology1, 2018) หลอดเลอื ดอารเ์ ทอรสี ว่ นใหญ่นาเลอื ดท่ีมีแกส๊ ออกซเิ จนสงู ยกเว้นหลอดเลือดอาร์เทอรีที่นา เลอื ดออกจากหัวใจไปยังปอด ซง่ึ เปน็ หลอดเลือดที่ นาเลือดท่ีมีแกส๊ ออกซเิ จนตา่ (หรอื แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดส์ ูง) หลอดเลือดเวนสว่ นใหญ่ นาเลือดท่ีมีแก๊สออกซเิ จนต่า ยกเวน้ หลอดเลอื ด เวนที่นาเลอื ดจากปอดเขา้ ส่หู ัวใจ ซ่ึงเป็นหลอด เลือดท่ีนาเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสงู (หรอื แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ต่า) (Khanacademy, 2018) 10. เชื่อมโยงสเู่ ร่อื งหัวใจ โดยตั้งคาถามว่า เลอื ดในหลอดเลือดไหลเวียนไปท่วั ร่างกายได้อยา่ งไร (จากการบีบและคลายตวั ของหวั ใจ) จากนน้ั ครใู หน้ ักเรยี นสังเกตโครงสร้างของหวั ใจผ่าตามยาว จากภาพ 3.8 ในหนังสอื เรียนหน้า 60 ครูอาจ ใชค้ าถามเพอ่ื ให้นักเรยี นสงั เกตหรอื ฝึกให้นกั เรยี นตั้งคาถามจากการสังเกตภาพ เช่น • หัวใจมีก่หี ้อง อะไรบ้าง (4 หอ้ ง ไดแ้ ก่ หอ้ งบนซ้าย ห้องลา่ งซา้ ย ห้องบนขวา หอ้ งลา่ งขวา) • ขนาดของหัวใจแต่ละหอ้ งเป็นอยา่ งไร (หอ้ งลา่ งใหญก่ ว่าห้องบน) • ผนงั ของหัวใจห้องใดหนาท่ีสุด (ห้องลา่ งซ้าย) • ระหว่างหัวใจแต่ละหอ้ ง นักเรียนสังเกตเหน็ สงิ่ ใด (ลน้ิ หวั ใจ) • นอกจากจะพบลน้ิ หัวใจระหวา่ งหวั ใจแตล่ ะห้องแล้ว นักเรยี นยงั พบลิน้ หวั ใจที่บริเวณใดอีก (หลอดเลอื ด) สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01114 ค่มู ือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ • หลอดเลอื ดทตี่ ดิ กบั หวั ใจมหี ลอดเลอื ดใดบา้ ง (เอออรต์ า หลอดเลอื ดอาร์เทอรีที่ไปยังปอด หลอดเลอื ดเวนทมี่ าจาก ปอด หลอดเลือดเวนด้านลา่ งและด้านบนที่นาเลือดเข้าส่หู วั ใจห้องบนขวา) • หลอดเลือดใดมีขนาดใหญท่ ี่สุด (เอออร์ตา) ครูอาจนาของจริง รูปภาพ หรือส่ือวีดิทัศน์ท่ีแสดงโครงสร้างภายในหัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม เช่น หมู วัว แพะ มาใหน้ กั เรยี นสังเกตเปรียบเทียบกับแผนภาพ 11. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาและจากภาพ 3.9 เกี่ยวกับการหมุนเวียนเลือดจากหัวใจไปยังปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกาย และกลับเข้าสู่หัวใจ ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหน้า 60-61 ครูอาจใช้วีดิทัศน์หรือภาพเคล่ือนไหวช่วยในการ สอน เพ่ือให้นักเรียนมีความเข้าใจมากยิ่งข้ึน โดยครูเน้นให้นักเรียนสังเกตทิศทางและปริมาณของแก๊สออกซิเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดที่ไหลเวยี นจากห้องของหัวใจไปยังปอดและส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายแล้วกลบั เข้าสู่ หัวใจ 12. ให้นกั เรยี นเขยี นแผนภาพงา่ ย ๆ สรปุ การหมุนเวยี นของเลือดในร่างกายเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจอีกคร้งั ปอด หอ้ งบนขวา หอ้ งบนซา้ ย หวั ใจ หอ้ งลา่ งขวา ห้องล่างซ้าย ร่างกาย - เสน้ สแี ดง หมายถึง เลือดท่ีมีปริมาณแกส๊ ออกซิเจนสูงและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่า - สนี าเงนิ หมายถงึ เลือดท่มี ีปริมาณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดส์ งู และแกส๊ ออกซเิ จนตา่ จากนั้นร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการหมุนเวียนเลือดในร่างกาย เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า หัวใจห้องล่างซ้ายจะสูบฉดี เลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูงและสารต่าง ๆ ออกจากหัวใจและลาเลียงไปยังเซลลท์ ่ัวรา่ งกาย ขณะเดียวกันเลือดที่มีของ เสยี ต่าง ๆ จากเซลล์ เชน่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ยูเรยี จะลาเลยี งกลับเข้าสู่หวั ใจห้องบนขวาและหัวใจห้องล่างขวา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

115 หนว่ ยที่ 3 | ร่างกายมนุษย์ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ แล้วลาเลียงไปยังปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สท่ีปอด เลือดท่ีมีออกซิเจนสูงจากปอดจะกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายและ ไหลลงสู่หวั ใจห้องล่างซา้ ย และลาเลียงไปยังสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย 13. เช่ือมโยงเข้าสู่ กิจกรรม 3.2 หัวใจทางานอย่างไร โดยใช้คาถามว่านักเรียนจะศึกษาการทางานของหัวใจได้จาก แบบจาลองในกจิ กรรม 3.2 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนุษย์ 01116 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 3.2 หัวใจทางานอย่างไร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครดู าเนนิ การดงั น้ี http://ipst.me/9503 กอ่ นการทากจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้คาถาม ดังตอ่ ไปนี • กิจกรรมน้ีเรียนเกีย่ วกับเรอ่ื งอะไร (เรอ่ื งการทางานของหวั ใจจากแบบจาลอง) • กจิ กรรมน้ีมจี ุดประสงค์อะไร (สังเกตและอธิบายการทางานของหวั ใจโดยใช้แบบจาลอง) • วิธีดาเนนิ กจิ กรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (สร้างแบบจาลองการทางานของหวั ใจ สงั เกตทศิ ทางการไหลของน้าสี และเปรียบเทยี บส่วนของแบบจาลองกบั อวยั วะต่าง ๆ ของระบบหมุนเวยี นเลอื ด) ครคู วรบันทึกขันตอนการทากจิ กรรมโดยสรุปบนกระดาน • ขอ้ ควรระวังในการทากิจกรรมมีอะไรบา้ ง (ระวังไมใ่ ห้น้าสีล้นออกนอกภาชนะขณะใช้มือบีบลูกบีบ ระวงั ไม่ให้น้าสี เปรอะเปอ้ื นเสอื้ ผา้ ) • นักเรียนต้องสงั เกตหรอื รวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (สงั เกตทศิ ทางการไหลของนา้ สี) ระหว่างการทากิจกรรม (20 นาที) 2. ขณะท่ีแตล่ ะกลุม่ ทากจิ กรรม ครูควรเดนิ สังเกตการทากจิ กรรมในแต่ละกลุ่ม และใหค้ าแนะนาถา้ นักเรียนมขี อ้ สงสัยใน ประเด็นตา่ ง ๆ เช่น การจดั ชุดอุปกรณ์ การใช้มอื บบี ลูกบบี ซึ่งต้องบีบพร้อม ๆ กนั การควบคมุ ใหร้ ะดับนา้ สีในภาชนะ ทั้งสองใบเท่ากันเพ่ือไม่ให้ล้นออกมานอกภาชนะ ซ่ึงครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากิจกรรม ของนักเรยี นเพือ่ ใช้เป็นขอ้ มลู ประกอบการอภิปรายหลังการทากจิ กรรม หลงั การทากจิ กรรม (20 นาที) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกจิ กรรม และรว่ มกนั สรปุ ผลของกิจกรรมโดยใชค้ าถาม ท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า แบบจาลองการทางานของหัวใจมีลักษณะการทางาน คล้ายกับการทางานของหัวใจมนุษย์ คือ เมื่อหัวใจบีบตัวจะมีการส่งเลือดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย และเลือดจากหัวใจห้องล่างขวาจะถูกส่งไปยังปอด เมื่อหัวใจคลายตัว หัวใจห้องบนขวาจะรับเลือดจากส่วน ต่าง ๆ ของร่างกาย ขณะเดียวกันเลือดจากปอดก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย อย่างไรก็ตามมีข้อจากัดบางอย่างที่ แบบจาลองแตกต่างจากหวั ใจมนุษย์ เชน่ ตาแหนง่ ของห้องหวั ใจ การบบี ตัวของหวั ใจแตล่ ะห้อง ความสามารถในการ หดและขยายตวั ของหลอดเลอื ด สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

117 หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ ค่มู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 4. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และการทางานของหัวใจจากการตอบคาถามก่อน เรียน ระหว่างเรียน หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอ่ืน ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนน้ันให้ถูกต้อง เช่น ใช้ คาถามและอภปิ รายร่วมกัน ใช้แผนภาพ วีดทิ ศั น์ เอกสารอา่ นประกอบ แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคดิ ท่ถี ูกตอ้ ง เลือดสรา้ งขนึ้ ภายในหวั ใจ (Ozgur, 2013) เซลลเ์ ม็ดเลอื ดและเกล็ดเลอื ดสรา้ งโดยไขกระดกู เลือดที่สูบฉีดออกจากหัวใจทุกห้องจะไปยังส่วน เลือดจากหัวใจห้องบนจะเข้าสู่หัวใจห้องล่าง โดย ตา่ ง ๆ ของร่างกาย (Pelaez. et al., 2005) เลือดจะสูบฉีดออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายเท่านั้นที่ ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย แต่เลือดที่สูบฉีดจาก หัวใจห้องล่างขวาจะไปยังปอดก่อนแล้วกลับมาท่ี หัวใจห้องบนและห้องล่างซ้ายอีกคร้ัง ก่อนสูบฉีด ไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย 5. เช่ือมโยงเข้าสู่เร่ืองชีพจร โดยใช้คาถามว่า การปิดของล้ินหัวใจ ทาให้เกิดเสียงเต้นของหัวใจ นักเรียนจะวัดอัตราการ เต้นของหัวใจได้อย่างไร (นับจานวนครั้งที่หัวใจเต้นในเวลา 1 นาที) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าการวัดอัตราการเต้นของ หวั ใจวัดได้จากอัตราชพี จร ซ่งึ การเต้นของหัวใจเปน็ จังหวะเดียวกบั ชพี จร 6. ให้นักเรียนลองจับชีพจรในบริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น บริเวณข้อมือ ข้างคอ จากน้ันให้นักเรียนอ่านเนื้อหา เก่ียวกับชีพจรตามรายละเอียดในหนังสือเรียน จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ชีพจรคือการขยายและ หดตัวของหลอดเลือดอย่างเป็นจังหวะ เกิดข้ึนในขณะท่ีหัวใจบีบตัว ทาให้เกิดแรงส่งเลือดมายังหลอดเลือดอาร์เทอรี แรงที่มากระทบผนังหลอดเลือดจะทาใหห้ ลอดเลือดขยายตัวเพื่อรับเลอื ดและหดตัวเพื่อส่งเลอื ดต่อไปตามจังหวะการ บีบตวั ของหัวใจแต่ละครัง้ 7. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรม 3.3 กิจกรรมใดมีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจมากกว่ากัน โดยใช้คาถามว่านักเรียนทราบ หรือไม่ว่าอัตราการเต้นของหัวใจของแต่ละคนเป็นเท่าไร และกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกายมีผลต่อการเต้นของหัวใจ หรือไม่ อย่างไร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01118 คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.3 กิจกรรมใดมผี ลต่ออตั ราการเต้นของหัวใจมากกว่ากนั http://ipst.me/9502 แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดาเนินการดังนี้ ก่อนการทากจิ กรรม (15 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้คาถาม ดงั ต่อไปนี้ • กจิ กรรมน้ีเรยี นเก่ียวกับเร่ืองอะไร (เร่ืองอตั ราการเต้นของหวั ใจจากอัตราชีพจรขณะพักและหลงั ทากจิ กรรมตา่ ง ๆ) • กิจกรรมน้ีมีจุดประสงค์อะไร (1. วัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยการจับชีพจร 2.ออกแบบการทดลองและทดลอง เพื่อเปรียบเทยี บอตั ราการเตน้ ของหวั ใจขณะพักและหลังทากจิ กรรมต่าง ๆ) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (ในตอนที่ 1 เป็นการวัดอัตราชีพจรเฉล่ียของแต่ละคน ส่วนตอนที่ 2 เป็นการออกแบบการทดลองเพ่ือเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจขณะพักและหลังทากิจกรรม โดยนักเรียน ต้องต้ังคาถาม ตั้งสมมติฐาน ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม จากน้ันทาการทดลองตามที่ได้ ออกแบบไว)้ ครูควรบนั ทกึ ข้นั ตอนการทากจิ กรรมโดยสรุปบนกระดาน • นกั เรยี นตอ้ งสงั เกตหรือรวบรวมขอ้ มลู อะไรบา้ ง (รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกบั อัตราการเตน้ ของหวั ใจขณะพักและหลังทากจิ กรรมตามทไ่ี ด้ออกแบบไว)้ ระหวา่ งการทากิจกรรม (60 นาที) 2. ขณะทแ่ี ต่ละกลุม่ ทากจิ กรรม ครคู วรเดินสังเกตการทากจิ กรรมในแต่ละกลมุ่ และให้คาแนะนาถา้ นกั เรียนมขี อ้ สงสัยใน ประเดน็ ต่าง ๆ เช่น การจับชพี จรในตาแหน่งท่ีถูกต้อง วธิ กี ารออกแบบการทดลอง การต้งั สมมติฐาน การระบตุ ัวแปร ซ่ึงครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากิจกรรมของนักเรียนเพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการอภิปราย หลังการทากจิ กรรม หลงั การทากจิ กรรม (45 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพ่ือให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า อัตราการเต้นของหัวใจขณะพักมีค่าเฉลี่ย ประมาณ 60-100 คร้ังตอ่ นาที อตั ราการเต้นของหัวใจหลงั ทากิจกรรมต่าง ๆ จะมากกวา่ ในขณะพัก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

119 หนว่ ยที่ 3 | ร่างกายมนุษย์ คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 4. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาและตอบคาถามระหว่างเรียนเก่ียวกับอัตราการเต้นของหัวใจท่ีเพ่ิมสูงขึ้น ซ่ึงเป็นผลจาก การออกกาลังกาย และประโยชน์ของการออกกาลังกายต่อการสูบฉีดเลือดจากหนังสือเรียนหน้า 65 จากน้ันร่วมกัน อภิปราย เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ในการออกกาลังกายหรือการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องใช้พลังงาน หัวใจจึงต้องสูบฉีด เลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์เพ่ือสลายสารอาหารให้ได้พลังงานมาใช้ ขณะเดียวกันหัวใจจะต้องนาเลือดที่มีแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเกิดข้ึนจากการสลายสารอาหารจากเซลล์ไปกาจัดออก จึงเป็นผลให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ดังน้ันผู้ท่ี ออกกาลังกายเปน็ ประจา กล้ามเนอื้ หวั ใจจงึ แขง็ แรง และมีประสทิ ธภิ าพสงู ในการสูบฉดี เลือด เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • อัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกาลังกายระหว่างนักกีฬากับบุคคลท่ีไม่ค่อยได้ออกกาลังกายแตกต่างกัน อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด แนวคาตอบ ขณะออกกาลังกาย นกั กีฬามีอัตราการเต้นของหัวใจต่ากว่าบุคคลที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย ทงั้ นี้ เน่ืองจากนักกีฬาออกกาลังกายเป็นประจา จึงเป็นการช่วยบริหารกล้ามเน้ือของร่างกายรวมถึงกลา้ มเนื้อหวั ใจ อย่างสม่าเสมอ ทาใหห้ ัวใจแข็งแรงสามารถสบู ฉีดเลอื ดได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพกวา่ บุคคลท่ีไม่ค่อยไดอ้ อกกาลังกาย 5. เชื่อมโยงเข้าสู่เร่ืองความดันเลือดว่า ผลของการบีบและคลายตัวของหัวใจทาให้เกิดแรงท่ีเลือดกระทาต่อผนัง หลอดเลอื ด หรอื เรียกวา่ ความดันเลอื ด 6. ให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติมโดยการอ่านเนื้อหาและตอบคาถามระหว่างเรียนเกี่ยวกับค่าความดันเลือด สาเหตุของโรค ความดันเลือดสูง และรายละเอียดอ่ืน ๆ จากหนังสือเรียนหน้า 66 ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ความดัน เลือดประกอบด้วยตัวเลข 2 ค่า ค่าแรกเป็นความดันสูงสุดขณะหัวใจบีบตัวหรือเรียกว่า ความดันซีสโทลิก คนปกติ ขณะพักมีค่าอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอท ส่วนค่าหลังเป็นความดันขณะที่หัวใจคลายตัวหรือความดัน ไดแอสโทลกิ โดยคนปกติขณะพักจะมีค่าอยู่ในชว่ ง 60–90 มลิ ลเิ มตรปรอท ผูท้ มี่ คี วามดันเลือดสงู คือมีความดันเลือด มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท สาเหตุหลักของโรคความดันเลือดสูงมาจากหลอดเลือดอาร์เทอรี แข็งตัว เนือ่ งจากการสะสมของไขมันบรเิ วณผนังด้านในของหลอดเลือด ถ้าโรงเรยี นใดมเี คร่ืองวดั ความดันเลือด อาจให้นักเรียนทากิจกรรมเสริม เร่ือง ความดันมีค่าเท่าใด เพ่ือวัดความดนั เลือดของนักเรยี น เฉลยคาถามระหว่างเรียน • นักเรยี นจะปฏิบตั ิตนอย่างไรเพื่อหลกี เล่ียงไมใ่ หเ้ กิดโรคความดนั เลอื ดสูง แนวคาตอบ หลีกเลีย่ งอาหารที่มไี ขมันสงู ทาอารมณ์ให้ร่าเริงแจม่ ใส ไมเ่ ครียด และออกกาลงั กายเป็นประจา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01120 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 7. เชื่อมโยงเข้าสู่โรคหัวใจ โดยครูใชค้ าถามว่า นอกจากโรคความดันเลือดสูงแลว้ นกั เรยี นทราบหรือไมว่ ่าโรคใดในระบบ หมนุ เวียนเลอื ดทคี่ นไทยเป็นกันมากและเป็นสาเหตุการเสยี ชีวติ ของคนไทยเป็นอนั ดับต้น ๆ 8. ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์กราฟในภาพ 3.10 กราฟจานวนการตายของคนไทยด้วยโรคหัวใจ ในหน้า 67 จากนั้น ร่วมกันอภิปรายข้อมูลจานวนการตายของคนไทยในแต่ละปีจากกราฟ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า จานวนการตายของ ประชากรด้วยโรคหัวใจในปี พ.ศ. 2555-2557 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น และปี พ.ศ. 2558 จานวนการตายของประชากร ลดลงกว่า 3 ปีแรก แตใ่ นปีพ.ศ. 2559 กลบั มาเพม่ิ จานวนขน้ึ อีก 9. ให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติม โดยอ่านเนื้อหาและตอบคาถามระหว่างเรียนเกี่ยวกับโรคหัวใจ การปฏิบัติตนไม่ให้เป็น โรคหวั ใจ และรายละเอยี ดอื่น ๆ จากหนังสือเรียนหนา้ 67 จากนัน้ รว่ มกันอภิปรายเพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ 9.1 โรคหวั ใจมีหลายชนดิ เช่น โรคหวั ใจขาดเลือด ความผดิ ปกตขิ องลิน้ หัวใจ หวั ใจพิการแตก่ าเนิด การเต้นของหวั ใจ ผดิ จังหวะ การตดิ เชอ้ื บริเวณหวั ใจ 9.2 โรคหัวใจขาดเลือดเป็นโรคท่ีคนไทยเป็นกันมาก มีสาเหตุจากการตีบตันของหลอดเลือดอาร์เทอรีที่มาเล้ียงหัวใจ หรอื หลอดเลอื ดเกิดการแข็งตวั ทาใหป้ รมิ าณของเลือดผา่ นไปเลี้ยงหัวใจได้นอ้ ย 9.3 โรคหัวใจขาดเลือดสามารถป้องกันได้โดยการควบคุมน้าหนักไม่ให้อ้วน ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ หลีกเล่ียง อาหารที่มีไขมันสูง การนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่สูบบุหรี่ และการรักษาภาวะอารมณ์ให้เป็นปกติ ไม่ เครยี ด 10. เช่ือมโยงเข้าสู่เร่ืองระบบหายใจว่า ขณะหัวใจบีบตัว เลือดบางส่วนจะส่งไปยังปอด ปอดเป็นอวัยวะในระบบหายใจ ระบบหายใจกับระบบหมนุ เวียนเลือดสมั พันธ์กันอยา่ งไร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

121 หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ คู่มือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เรื่องท่ี 2 ระบบหายใจ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูดาเนินการดังนี้ 1. ให้นักเรียนดูภาพนาเรื่อง อ่านเน้ือหา และคา สาคัญเร่ืองระบบหายใจ จากน้ันทากิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ถ้าครูพบว่านักเรียน ยังมีความเข้าใจในเน้ือหาส่วนใดยังไม่สมบูรณ์ หรือไม่ถูกต้อง ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับ เน้ือหาส่วนนั้น เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐาน ที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนรู้เก่ียวกับเร่ือง ระบบหายใจตอ่ ไป เฉลยทบทวนความรู้ก่อนเรยี น เขียนเครอ่ื งหมาย  หน้าข้อความที่ถูกตอ้ ง และเขยี นเครือ่ งหมาย  หน้าขอ้ ความที่ไมถ่ กู ต้อง  การแพร่เปน็ การเคล่อื นท่ีของสารจากบริเวณทีม่ ีความเข้มข้นของสารตา่ ไปยงั บริเวณทม่ี ีความเข้มขน้ ของสารสูงกวา่ ไมถ่ ูกตอ้ ง เพราะการแพร่เป็นการเคลื่อนทีข่ องสารจากบริเวณที่มีความเขม้ ขน้ ของสารสูงไปยงั บริเวณท่ี มีความเข้มข้นของสารตา่ กว่า  ระบบหมุนเวียนเลอื ดทาหน้าที่ลาเลียงแกส๊ และสารอาหารไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย  เซลล์เม็ดเลือดแดงมีเฮโมโกลบินเปน็ ส่วนประกอบสาคัญซึ่งสามารถจบั กับโมเลกุลของแกส๊ ออกซเิ จนได้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนุษย์ 01122 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 2. ตรวจสอบความรู้เดมิ ของนกั เรยี นเก่ียวกบั เรื่องระบบหายใจ โดยให้ทากจิ กรรม รูอ้ ะไรบา้ งก่อนเรยี น นักเรียนสามารถ เขียนข้อความ แผนผัง หรือแผนภาพได้อย่างอิสระตามความเข้าใจของนักเรียน โดยครูจะไม่เฉลยคาตอบ ครูควร รวบรวมแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นท่ีพบเพอ่ื นาไปใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรียนรแู้ ละแก้ไขแนวคดิ เหลา่ นน้ั ให้ถกู ต้อง ตัวอย่างแนวคิดคลาดเคลือ่ นซงึ่ อาจพบในเร่ืองนี้ • หลอดลมเชอื่ มต่อกับปอดและหวั ใจ • อากาศท่หี ายใจเข้ามีแต่แกส๊ ออกซิเจนเท่านนั้ และอากาศที่หายใจออกมีแตแ่ กส๊ คาร์บอนไดออกไซด์เท่านนั้ • การแลกเปลยี่ นระหวา่ งแก๊สออกซิเจนกบั แก๊สคาร์บอนไดออกไซดเ์ กิดขึ้นท่บี ริเวณถงุ ลมปอดเทา่ นน้ั 3. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหา ในหนังสือเรียนหน้า 69 เกี่ยวกับการทางานของอวัยวะต่าง ๆ ในระบบหายใจ และสังเกต ภาพ 3.13 เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า กลไกการหายใจเข้าและการหายใจออกของมนุษย์ เกิดจากการทางานร่วมกันของ อวัยวะตา่ ง ๆ ในระบบหายใจ ไดแ้ ก่ จมกู ทอ่ ลม ปอด (รวมถงึ หลอดลม หลอดลมฝอย ถุงลมภายในปอด) และอวยั วะ ท่ีเกีย่ วข้อง ได้แก่ กระดกู ซโี่ ครง และกะบงั ลม 4. เช่ือมโยงเข้าสู่ กิจกรรมท่ี 3.4 การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดข้ึนได้อย่างไร โดยใช้คาถามว่าอวัยวะต่าง ๆ ในระบบหายใจทางานร่วมกันเพื่อให้เกิดหายใจเข้าและหายใจออกได้อย่างไร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

123 หนว่ ยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ คู่มือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 3.4 การหายใจเข้าและการหายใจออกเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครดู าเนนิ การดังนี้ http://ipst.me/9504 ก่อนการทากิจกรรม (10 นาที) 1. ใหน้ ักเรยี นอา่ นช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวธิ ีดาเนนิ กิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้คาถาม ดังตอ่ ไปน้ี • กิจกรรมนี้เรยี นเกย่ี วกบั เรื่องอะไร (เรื่องการหายใจเข้าและการหายใจออกของมนุษย์) • กิจกรรมนมี้ จี ุดประสงค์อะไร (สังเกตและอธิบายกลไกการหายใจเขา้ และการหายใจออกโดยใช้แบบจาลองการ ทางานของปอด) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกตและเปรียบเทียบแบบจาลองการทางานของปอดกับอวัยวะท่ี เกีย่ วกบั การหายใจ และเปรียบเทยี บระหวา่ งการทางานของแบบจาลองปอดกับการหายใจเข้าและการหายใจออก ของมนุษย์) ครูควรบนั ทึกขั้นตอนการทากิจกรรมโดยสรุปบนกระดาน • นักเรยี นต้องสงั เกตหรือรวบรวมข้อมลู อะไรบ้าง (สังเกตการเปล่ียนแปลงที่เกิดช้ึนกับลูกโป่งทั้งสองใบใน กล่องพลาสติกขณะดึงและดันแผ่นยาง) ระหว่างการทากิจกรรม (10 นาท)ี 2. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทากิจกรรมตามวธิ กี ารดาเนนิ กิจกรรม ครสู ังเกตการทากิจกรรมของนักเรยี น พรอ้ มให้คาแนะนา และความชว่ ยเหลือเพ่ิมเตมิ หากนักเรยี นมปี ัญหาหรือขอ้ สงสยั เชน่ การดึงแผ่นยางข้ึนลง การสงั เกตการเปล่ียนแปลง ของลกู โป่ง ซึ่งครคู วรรวบรวมปัญหาและข้อสงสยั ต่าง ๆ จากการทากจิ กรรมของนักเรยี นเพ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลประกอบการ อภปิ รายหลังการทากิจกรรม หลงั การทากจิ กรรม (20 นาที) 3. ให้นักเรยี นตอบคาถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนาเสนอในรปู แบบต่าง ๆ เช่น นาเสนอหน้าชนั้ เรียน หรือเขยี นอธบิ ายและ ติดแสดงไว้รอบห้องเพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นชมผลงาน และอภิปรายคาตอบร่วมกัน เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า แบบจาลองการทางานของปอด เป็นการจาลองกลไกการทางานของการหายใจเข้าและการหายใจออกของมนุษย์ โดยท่อตัว Y ซ่ึงประกอบด้วยท่อตรงเปรียบได้กับท่อลม และท่อท่ีแยกออกมาท้ัง 2 ข้างจากท่อตรงเปรียบได้กับ หลอดลม ลูกโป่งเปรยี บได้กบั ปอด ช่องวา่ งภายในกล่องพลาสติกใสทรงกระบอกเปรยี บได้กับช่องอก แผน่ ยางเปรียบได้ กับกะบังลม การดึงแผ่นยางลงส่งผลให้อากาศจากภายนอกเคล่ือนเข้าสู่ลูกโป่ง เปรียบได้กบั การหายใจเข้า ส่วนการดัน แผ่นยางขนึ้ สง่ ผลใหอ้ ากาศเคลอ่ื นทอี่ อกจากลูกโป่ง เปรียบไดก้ ับการหายใจออก สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01124 คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 4. ให้นกั เรียนอ่านเนื้อหาเก่ียวกับการหายใจเขา้ และออกและสงั เกตภาพ 3.14 ในหนังสอื เรียนหน้า 71 และตอบคาถาม ระหว่างเรียน เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การดึงแผ่นยางลงหรือดันแผ่นยางขึ้น เปรียบได้กับการทางานของกะบังลม ซึ่งมี ผลต่อปริมาตรอากาศและความดันภายในกล่องพลาสติก ทาให้อากาศเคล่ือนเข้าไปในลูกโป่ง หรือเคลื่อนท่ีออกจาก ลูกโป่งได้ การที่กล้ามเนื้อกะบังลมหดตัว จะทาให้กะบังลมลดตัวต่าลงในขณะที่กระดูกซ่ีโครงจะยกตัวข้ึน ส่งผลให้ ช่องอกมีปริมาตรเพิ่มข้ึน และความดันภายในช่องอกลดลง อากาศจากภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด เกิดเป็นการ หายใจเข้า ในทางกลับกันเมื่อกล้ามเนื้อกะบังลมคลายตัว จะทาให้กะบังลมยกตัวสูงขึ้นในขณะท่ีกระดูกซ่ีโครงจะลด ต่าลง ส่งผลให้ช่องอกมีปริมาตรลดลง ความดันภายในช่องอกเพ่ิมขึ้น อากาศจึงเคลื่อนท่ีออกจากปอดเกิดเป็นการ หายใจออก ครูช้ีให้นักเรียนเห็นว่าถึงแม้ว่าแบบจาลองการทางานของปอดในกิจกรรมจะสามารถอธิบายกลไกการหายใจ เข้าและออกของมนุษย์ได้ แต่แบบจาลองยังมีข้อจากัดบางประการ ซึ่งไม่เหมือนกับการทางานของอวัยวะในระบบ หายใจในร่างกายมนุษย์ ครูควรให้นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือน ความแตกต่าง และข้อจากัดของแบบจาลองกับ อวยั วะในระบบหายใจ โดยการตอบคาถามระหว่างเรียน เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • แบบจาลองการทางานของปอดเหมือนหรือแตกต่างกับกลไกการหายใจที่เกิดข้ึนในรา่ งกายมนุษย์อย่างไร และมีขอ้ จากัดอย่างไร แนวคาตอบ แบบจาลองการทางานของปอดเหมือนกบั กลไกการหายใจท่เี กดิ ขึ้นในร่างกายมนุษย์ดังน้ี 1. ลูกโปง่ ท้ังสองใบแสดงถึงปอดท้ังสองขา้ งคลา้ ยปอดจริงของมนุษย์ 2. ท่อรูปตัว Y คลา้ ยกับท่อลมและหลอดลมของมนษุ ย์ 3. การเปลย่ี นแปลงปรมิ าตรและความดนั ของแบบจาลองขณะดึงแผ่นยางลงและดันแผ่นยางข้นึ คล้ายกับการเคลื่อนท่ีข้ึนลงของกะบังลมของมนุษย์ ซึ่งทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงปริมาตรและ ความดันในช่องอกเหมอื นกัน ขอ้ จากดั ของแบบจาลอง 1. กล่องพลาสติกใสแข็ง ไม่สามารถยืดหยุ่น ทาให้การเปล่ียนแปลงปริมาตรของอากาศภายในกล่อง พลาสตกิ ไม่เหมือนกับการเปล่ียนแปลงปริมาตรของอากาศภายในช่องอกซึ่งขึน้ อยู่กับการยกตัวขึ้น และลดตัวลงของกระดกู ซี่โครง 2. กะบังลมจะเคล่ือนลงต่าจากระดับช่องอก แต่กะบังลมของมนุษย์ไม่ได้ต่าลงมาด้านล่าง เชน่ เดยี วกบั แบบจาลอง 3. กะบงั ลมในตาแหน่งพักควรมลี ักษณะโค้งเล็กน้อย ไม่ใชแ่ บนราบ 4. แบบจาลองไม่ได้แสดงการเคลอ่ื นท่ขี องกระดกู ซีโ่ ครง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

125 หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 5. ถา้ พบว่านกั เรียนมีแนวคิดคลาดเคลอื่ นเก่ียวกบั โครงสรา้ ง หนา้ ทขี่ องอวยั วะในระบบหายใจจากการตอบคาถามก่อน เรยี น ระหว่างเรยี น หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวธิ อี น่ื ๆ ใหค้ รูแก้ไขแนวคดิ คลาดเคล่ือนนน้ั ให้ถกู ต้อง เช่น ใชค้ าถาม และอภปิ รายรว่ มกนั ใช้แผนภาพ วดี ทิ ัศน์ เอกสารอา่ นประกอบ แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น แนวคดิ ที่ถูกตอ้ ง ทอ่ ลมเช่ือมตอ่ กับปอดและหวั ใจ (Silva. M.& ท่อลมเช่ือมต่อไปยงั หลอดลมซึ่งเชื่อมต่อไปยังปอด Almeida A, 2017) ส่วนหัวใจทางานรว่ มกบั ปอด โดยหัวใจสูบฉีดเลือด มายังหลอดเลือดฝอยท่ีปอดเพื่อแลกเปล่ียนแก๊ส แต่ไม่มีการเช่ือมต่อกันโดยตรงระหว่างท่อลมกับ ปอดและหัวใจ 6. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปว่า ในการหายใจเข้าและการหายใจออกน้ัน ปริมาณแก๊สต่าง ๆ จะมีการ เปล่ียนแปลงไปหรือไม่ อย่างไร โดยให้นกั เรียนศึกษาข้อมลู จากแผนภมู ิในภาพ 3.15 ปริมาณแก๊สต่าง ๆ ในลมหายใจ เขา้ และออก อ่านเนือ้ หาในหนงั สือเรยี นหน้า 72 และตอบคาถามในหนังสือเรยี น เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • จากภาพ 3.15 แก๊สแต่ละชนิดในอากาศที่หายใจเข้าและหายใจออกมีปริมาณเท่ากันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตใุ ด แนวคาตอบ แก๊สแต่ละชนิดในอากาศท่ีหายใจเข้าและหายใจออกมีทั้งที่มีปริมาณเท่ากันและแตกต่างกัน ดังน้ี แก๊สออกซิเจนในลมหายใจเข้ามีปริมาณมากกว่าในลมหายใจออก ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และไอน้าในลม หายใจออกจะมีปริมาณมากกว่าลมหายใจเข้า สาหรับแก๊สไนโตรเจนในลมหายใจเข้าและออกมีปริมาณเท่ากัน สาเหตุท่ีปริมาณของแก๊สแต่ละชนิดแตกต่างกันเนื่องจากในการหายใจเข้า ร่างกายได้รับแก๊สออกซิเจนจากอากาศ เข้าไปในปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส แก๊สออกซิเจนจะนาไปใช้ในการสร้างพลังงานภายในเซลล์ ขณะเดียวกันจะเกิด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้า ซึ่งร่างกายจาเป็นต้องกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้าในรูปของไอน้าออกมา กับลมหายใจออก ส่วนปริมาณแก๊สไนโตรเจนในลมหายใจเข้าและลมหายใจออกไม่เปล่ียนแปลง เนื่องจากร่างกาย ไมไ่ ดน้ าแกส๊ ไนโตรเจนไปใช้ในการหายใจ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01126 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 7. ถา้ พบวา่ นักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเกี่ยวกบั อากาศทหี่ ายใจเข้าและออกจากการตอบคาถามก่อนเรียน ระหว่างเรยี น หรอื อาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอื่น ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนน้ันใหถ้ ูกต้อง เชน่ รว่ มกันอภิปรายโดยใช้แผนภาพ วดี ทิ ัศน์ หรืออา่ นเอกสารความรู้ แนวคดิ คลาดเคลือ่ น แนวคิดทถ่ี กู ตอ้ ง อากาศท่ีหายใจเข้ามีแต่แก๊สออกซเิ จนเท่าน้ัน และ อากาศท่ีหายใจเขา้ และหายใจออกมีท้งั แกส๊ ออกซเิ จน อากาศท่หี ายใจออกมีแตแ่ กส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจนและแก๊สอ่ืน ๆ เทา่ นนั้ (Khanacademy, 2017) แตป่ รมิ าณแก๊สออกซเิ จนในลมหายใจเข้ามมี ากกวา่ ป ริ ม า ณ แ ก๊ ส อ อ ก ซิ เ จ น ใ น ล ม ห า ย ใ จ อ อ ก ในทางกลับกันปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ใน ลมหายใจออกมมี ากกวา่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ในลมหายใจเข้า (Khanacademy, 2017) 8. ตั้งคาถามเพื่อกระตุ้นความสนใจว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่าการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกดิ ขึน้ ท่บี ริเวณใดบา้ ง และเกิดขึ้นได้อย่างไร 9. ให้นักเรียนศึกษาภาพ 3.16 การแลกเปล่ียนแก๊สที่เกิดขึ้นบริเวณถุงลมปอดกับหลอดเลือดฝอย และภาพ 3.17 การ แลกเปลี่ยนแก๊สบริเวณหลอดเลือดฝอยกับเซลล์ หรืออาจให้ศึกษาจากวีดิทัศน์ และอ่านเนื้อหาหน้า 72-74 แล้วต้ัง คาถามว่าการแลกเปล่ียนแก๊สเกิดขึ้นได้อย่างไรและบริเวณใดบ้าง จากน้ันตอบคาถามในหนังสือเรียน เพ่ือให้ได้ ข้อสรุปวา่ การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซเิ จนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ กดิ ข้นึ 2 บริเวณ คือ ระหวา่ งถุงลมในปอดกับ หลอดเลอื ดฝอย และระหว่างหลอดเลือดฝอยกับเซลล์ โดยใช้กระบวนการแพร่ ดังน้ี 9.1 การแลกเปล่ยี นแก๊สระหวา่ งถงุ ลมในปอดกบั หลอดเลือดฝอย แก๊สออกซิเจนในถุงลมปอดท่ีได้จากการหายใจซึ่งมีปริมาณสงู กวา่ เลือดในหลอดเลอื ดฝอยจะแพร่เข้าไปจับกับ เฮโมโกลบินในเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง ส่วนแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ในเลือดภายในหลอดเลือดฝอยซงึ่ มีปริมาณสูงกว่าแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ในถงุ ลม จะแพร่จากเลอื ดเข้าไปยงั ถุงลมปอด ซึง่ จะลาเลยี งออกจากร่างกายทางลมหายใจออก 9.2 การแลกเปลย่ี นแกส๊ ระหวา่ งหลอดเลอื ดฝอยกบั เซลล์ เมอ่ื หวั ใจสูบฉีดเลือดทมี่ ีแกส๊ ออกซิเจนสูงมายังเซลล์ตา่ ง ๆ ของร่างกาย แก๊สออกซเิ จนจากเฮโมโกลบินในเซลล์ เม็ดเลือดแดงจะแพร่ผ่านผนังหลอดเลือดฝอยไปยังเซลล์ ขณะเดียวกันแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีมีปริมาณสูงจาก เซลลจ์ ะแพรไ่ ปยงั เลือดในหลอดเลือดฝอยและลาเลยี งกลับสู่หวั ใจ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

127 หน่วยท่ี 3 | รา่ งกายมนุษย์ คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหว่างเรียน • เพราะเหตุใดแก๊สออกซเิ จนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ึงแพร่ผ่านถุงลมและหลอดเลือดฝอยได้ แนวคาตอบ แก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่ผ่านถุงลมและหลอดเลือดฝอยได้ เน่ืองจากแก๊ส ออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายในถุงลมมีความเข้มข้นแตกต่างกัน ดังน้ี แกส๊ ออกซิเจนภายในถุงลมซ่ึงมี ความเข้มข้นสูงกว่าแก๊สออกซิเจนภายในหลอดเลือดฝอย แก๊สออกซิเจนจากถุงลมจึงแพร่ไปยังหลอดเลือดฝอย ใน ทานองเดียวกัน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดภายในหลอดเลือดฝอยซ่ึงมีความเข้มข้นสูงกว่าในถุงลม แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์จากหลอดเลือดฝอยจึงแพร่ไปยังถุงลมเชน่ กนั 10. เช่ือมโยงเข้าสู่ กิจกรรมท่ี 3.5 ปอดจุอากาศได้เท่าใด โดยใช้คาถามว่า มนุษย์จาเป็นต้องได้รับอากาศในปริมาณที่ เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของร่างกาย นกั เรยี นทราบหรอื ไมว่ า่ ปอดของแตล่ ะคนสามารถจอุ ากาศได้เท่ากันหรอื ไม่ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01128 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 3.5 ปอดจอุ ากาศไดเ้ ทา่ ใด แนวการจัดการเรยี นรู้ ครดู าเนนิ การดงั น้ี http://ipst.me/9505 กอ่ นการทากจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านรายละเอียดกิจกรรมและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม กรณีท่ีนักเรียนยังตอบไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนครูควรอธิบายเพิ่มเติมโดยใช้ตัวอย่างคาถามและแนวคาตอบ ดังต่อไปน้ี • กิจกรรมน้เี กย่ี วข้องกบั เรอ่ื งอะไร (การวัดความจอุ ากาศของปอด) • กจิ กรรมน้มี ีจุดประสงค์อะไร (ทดลองและอธิบายความจอุ ากาศของปอด) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (ทดสอบความจุอากาศของปอดจากชุดอุปกรณ์วัดความจุของปอด โดยให้คนทดสอบหายใจเข้าให้เต็มท่ีแล้วเป่าลมเข้าไปในถุงพลาสติกให้มากที่สุด เพื่ออ่านค่าความจุอากาศของ ปอด) ครคู วรบันทึกขนั้ ตอนการทากิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • ขอ้ ควรระวังในการทากจิ กรรมมีอะไรบ้าง (โรคติดต่อทางนา้ ลาย ควรปอ้ งกนั โดยไม่ใช้ทอ่ เปา่ ซา้ กับเพื่อน) • นักเรยี นตอ้ งสังเกตหรือรวบรวมขอ้ มูลอะไรบ้าง (รวบรวมข้อมูลคา่ ความจอุ ากาศของปอดของนักเรียน) ระหว่างการทากจิ กรรม (20 นาท)ี 2. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทากิจกรรมตามวธิ กี ารดาเนนิ กจิ กรรม ครสู ังเกตการทากจิ กรรมของนกั เรียน พร้อมให้คาแนะนา และความช่วยเหลือเพ่ิมเติมหากนักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัย เช่น วิธีการติดสติกเกอร์แสดงปริมาตรความจุอากาศ ของปอดบนถงุ พลาสติกยาว การสอดท่อพลาสติกสน้ั ลงไปในถุงพลาสติกและใชเ้ ทปพนั ซงึ่ ครคู วรรวบรวมปญั หาและ ข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากจิ กรรมของนักเรียนเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการอภิปรายหลังการทากจิ กรรม 3. ครูควรเนน้ เรือ่ งความปลอดภัยในการใช้ชุดอุปกรณ์ หากต้องใหน้ กั เรียนใช้ชดุ อุปกรณ์เดียวกันควรมีการเปลย่ี นท่อเป่า เพื่อปอ้ งกันโรคติดตอ่ ทางนา้ ลาย หลงั การทากิจกรรม (20 นาที) 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพือ่ ให้ไดข้ อ้ สรปุ จากกิจกรรมวา่ การวัดความจุอากาศของปอดอย่างง่าย วัดได้จาก ชดุ อปุ กรณ์วัดความจอุ ากาศของปอด โดยวัดปริมาตรของอากาศเมื่อหายใจเข้าเต็มท่ีแล้วผอ่ นลมหายใจออกมาให้มาก ท่ีสุด ซ่ึงความจุอากาศของปอดแต่ละบุคคลอาจจะแตกต่างกันได้ข้ึนอยู่กับหลายปัจจัย เช่น เพศ ขนาดของร่างกาย การออกกาลังกายเป็นประจา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

129 หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนุษย์ คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 5. ให้นักเรียนศึกษากราฟในภาพ 3.18 และ 3.19 ในหนังสือเรียนหน้า 78 และตอบคาถามระหว่างเรียน จากนั้นอ่าน เน้ือหาเก่ียวกับปัจจัยท่ีมีผลต่อความจุอากาศของปอด รวมถึงสาเหตุของโรคท่ีเกี่ยวข้องกับทางเดินหายใจในหนังสือ เรียนหน้า 79 เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ค่าความจุอากาศของปอดแต่ละบุคคลอาจจะไม่เท่ากัน ข้ึนอยู่กับปัจจัยหลาย ประการ เช่น เพศ อายุ ความสูงของร่างกาย อาชีพ นอกจากน้ีบุคคลที่มีภาวะผิดปกติ หรือเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดิน หายใจ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็งในปอด วัณโรค ปอดติดเชื้อ อาจจะส่งผลให้ความจุของปอดลดลง ซ่ึงส่งผล ให้ความสามารถในการแลกเปลย่ี นแกส๊ ของปอดลดลงดว้ ย ครูควรเน้นถึงประโยชน์ของการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ซ่ึงจะทาให้ความจุอากาศของปอดเพ่ิมขึ้นเป็น การเพ่ิมประสิทธิภาพในการแลกเปล่ียนแก๊ส และสาเหตุของโรคถุงลมโป่งพอง ซ่ึงส่วนใหญ่มักจะเกิดจากสารพิษใน ควันบุหรี่ซ่ึงจะไปทาลายผนังของถุงลม ทาให้พื้นท่ีผิวในการแลกเปล่ียนแก๊สของถุงลมลดลง ซ่ึงอาจนาภาพของผู้ที่ ป่วยเปน็ โรคถุงลมโปง่ พองมาใหน้ ักเรยี นดู เพอ่ื ให้นกั เรยี นตระหนักถึงพษิ ภยั ของบุหรี่และไมส่ ูบบหุ ร่ี หรอื ถ้ามนี กั เรียน บางคนติดบุหร่ีควรเลิกสูบ นอกจากน้ีครูควรแนะนาให้หลีกเล่ียงสถานที่ที่มีควันบุหรี่ ฝุ่นละออง อันเป็นสาเหตุให้ เกิดโรคถุงลมโปง่ พอง เฉลยคาถามระหว่างเรียน • จากกราฟในภาพ 3.18 และ 3.19 นักเรียนคดิ ว่าความจุอากาศของปอดขนึ้ อย่กู ับปัจจัยใดบ้าง แนวคาตอบ ความจุอากาศของปอดข้ีนอยู่กับความสูงและอายุ กล่าวคือ ความจุของปอดในภาพ 3.18 ผู้ชายและ ผู้หญิงที่มีอายุเท่ากัน ค่าความจุอากาศจะเพิ่มขึ้นตามความสูงของร่างกายท่ีเพ่ิมขึ้น ส่วนในภาพ 3.19 ผู้ชายและ ผหู้ ญิงท่มี ีความสงู เทา่ กนั ค่าความจุอากาศจะลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น 6. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากกราฟในภาพ 3.21 กราฟอัตราการตายของประชากรไทยด้วยโรคมะเร็ง ท่อลม หลอดลม และปอด เพ่อื ใหน้ กั เรยี นเห็นว่าอตั ราการตายด้วยโรคมะเรง็ ของอวัยวะเหล่านี้มีจานวนเพมิ่ มากขนึ้ ในแต่ละปี 7. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมท่ี 3.6 ทาอย่างไรจึงจะรักษาระบบหายใจให้ทางานเป็นปกติ โดยใช้คาถามว่า นอกจาก โรคมะเร็งของอวัยวะในทางเดินหายใจแล้ว ยังมีโรคอื่น ๆ ท่ีเก่ียวกับระบบหายใจอีก นักเรียนทราบหรือไม่ว่ามีโรค อะไรบา้ ง และโรคเหล่าน้มี ีสาเหตุมาจากอะไร นกั เรียนจะดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหายใจได้อย่างไร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | ร่างกายมนษุ ย์ 01130 คูม่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 3.6 ทาอยา่ งไรเพอื่ ใหร้ ะบบหายใจทางานอย่างเป็นปกติ แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดาเนินการดังนี้ กอ่ นการทากจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านรายละเอียดกิจกรรมและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม กรณีท่ีนักเรียนยังตอบไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนครูควรอธิบายเพิ่มเติมโดยใช้ตัวอย่างคาถามและแนวคาตอบ ดงั ต่อไปน้ี • กจิ กรรมนเี้ ก่ยี วข้องกับเรอ่ื งอะไร (เรอ่ื งโรคและสาเหตุของโรคทเี่ กีย่ วข้องกับระบบหายใจ การดแู ลรกั ษาอวัยวะใน ระบบหายใจใหท้ างานไดอ้ ยา่ งปกติ) • กจิ กรรมน้ีมีจุดประสงค์อะไร (รวบรวมขอ้ มลู และนาเสนอวิธกี ารดูแลรักษาอวยั วะในระบบหายใจ) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับโรคในระบบหายใจ วิเคราะห์ สาเหตขุ องโรค และนาเสนอวิธกี ารดแู ลรักษาอวัยวะของระบบหายใจใหท้ างานเปน็ ปกติ) ครคู วรบนั ทึกขน้ั ตอนการทากิจกรรมโดยสรุปบนกระดาน • นกั เรยี นต้องสงั เกตหรอื รวบรวมข้อมลู อะไรบา้ ง (รวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกับโรคในระบบหายใจ) ระหวา่ งการทากจิ กรรม (45 นาที) 2. ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มทากจิ กรรมตามวธิ กี ารดาเนนิ กิจกรรม ครสู ังเกตการทากิจกรรมของนักเรยี น พร้อมใหค้ าแนะนา และความช่วยเหลือเพ่ิมเติมหากนักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัย เช่น เว็บไซต์ที่เก่ียวข้อง เว็บไซต์ที่น่าเช่ือถือ ขอบเขต ของเน้ือหาที่สืบค้น หนังสือหรือตาราที่เก่ียวข้อง ซ่ึงครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากิจกรรม ของนกั เรียนเพ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการอภปิ รายหลงั การทากจิ กรรม หลังการทากจิ กรรม (45 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทางเพ่ือให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจมีหลายโรค เช่น โรคมะเรง็ ปอด โรคหอบหดื โรคถุงลมโปง่ พอง โรคหลอดลมอักเสบ โรควณั โรค โรคบางโรคเกิดจากมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง ควันบุหร่ี ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ บางโรคเกิดจากเช้ือโรคต่าง ๆ การป้องกันโรคเหล่าน้ีทาได้โดย การหลีกเล่ียงบริเวณท่ีมีมลพิษทางอากาศ ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรสวมหน้ากากอนามัยในบริเวณท่ีมีฝุ่นหรือควัน หลีกเล่ียงการอยู่ใกลช้ ิดกับผปู้ ่วยที่เป็นโรคตดิ ต่อทางลมหายใจ ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อ่ืน ดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรง โดยการรับประทานอาหารท่ีเป็นประโยชน์ การพักผ่อนให้เพียงพอ และการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอจะทาให้ ร่างกายมีภมู คิ ุ้มกนั ต่อโรคท่จี ะเกดิ ขึน้ ได้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

131 หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหว่างเรียน • เพราะเหตุใดจึงควรใสห่ น้ากากอนามยั เวลาเป็นหวัด แนวคาตอบ หน้ากากอนามัยช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากผู้ป่วยไปยังบุคคลอื่น ป้องกันการ กระจายของน้ามูกและน้าลายเวลาท่ีไอหรือจาม นอกจากนี้หน้ากากอนามัยยังชว่ ยกรองฝุ่นละอองต่าง ๆ ท่ีจะ ทาให้ระคายเคืองผวิ หนงั บรเิ วณจมกู ได้อีกทางหนึ่งดว้ ย 4. เชอื่ มโยงไปสกู่ ารเรยี นรใู้ นเร่อื งต่อไปวา่ ระบบหมุนเวยี นเลือดและระบบหายใจนั้นทางานร่วมกนั เพื่อนาแกส๊ ออกซิเจน เข้าสู่ร่างกาย และกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกนอกร่างกาย นอกจากการกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว ร่างกายยังจาเป็นต้องกาจัดของเสียและสารส่วนเกินออกนอกร่างกายด้วย นักเรียนทราบหรือไม่ว่า ร่างกายของเรามี ระบบใดท่ีทาหน้าทด่ี ังกล่าว สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01132 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เรื่องท่ี 3 ระบบขับถ่าย แนวการจัดการเรยี นรู้ ครดู าเนินการดังน้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพนาเร่ือง อ่านเน้ือหา และคา สาคัญเร่ืองระบบขับถ่าย จากนั้นทากิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ถ้าครูพบว่านักเรียน ยังมีความเข้าใจในเน้ือหาส่วนใดยังไม่สมบูรณ์ หรือไม่ถูกต้อง ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับ เน้ือหาส่วนน้ัน เพื่อให้นักเรียนมีความร้พู ื้นฐาน ที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนรู้เก่ียวกับเรื่อง ระบบขบั ถา่ ยต่อไป เฉลยทบทวนความรู้กอ่ นเรียน วงล้อมรอบสารที่สามารถพบได้ในพลาสมา เมด็ เลอื ดแดง กรดอะมโิ น แก๊สออกซิเจน น้า เกลด็ เลือด ยเู รีย กลูโคส เม็ดเลอื ดขาว แนวคาตอบ จากวงเส้นสีแดงทลี่ ้อมรอบสาร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

133 หนว่ ยท่ี 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 2. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองระบบขับถ่าย โดยให้ทากิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียน สามารถเขียนคาตอบตามความเข้าใจ โดยครยู ังไม่เฉลยคาตอบ ครคู วรรวบรวมแนวคิดคลาดเคล่อื นทพี่ บเพอ่ื นาไปใช้ ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และแก้ไขแนวคิดเหล่านั้นให้ถูกต้อง หรือนาไปใช้ในการเน้นย้าหรืออธิบายเนื้อหา สว่ นใดเป็นพเิ ศษ เพื่อให้นักเรยี นได้เรียนรแู้ ละมีความเขา้ ใจครบถว้ นตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตัวอยา่ งแนวคดิ คลาดเคล่ือนซ่ึงอาจพบในเรื่องนี้ • ไตทาหน้าทก่ี รองของเสียออกจากเลือดเท่านัน้ 3. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและสังเกตภาพ 3.23 ภาพ 3.24 และภาพ 3.25 ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหน้า 83-85 และตอบคาถามระหว่างเรียน เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า อวัยวะในระบบขับถ่ายประกอบด้วยไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ระบบขับถ่ายมีหน้าที่กาจัดของเสียออกนอกร่างกายในรูปของปัสสาวะ ซึ่งมีไตเป็นอวัยวะหลัก ไตของมนุษย์มี 2 ข้าง แต่ละข้างแบ่งออกเป็น 2 ช้ัน ได้แก่ ไตช้ันนอกและไตช้ันใน ภายในไตประกอบด้วยหน่วยไตที่ ทาหนา้ ทก่ี รองสารตา่ ง ๆ ออกจากเลอื ดซง่ึ สารที่กรองไดม้ ีทง้ั สารที่มปี ระโยชน์และของเสีย และยังทาหนา้ ทด่ี ูดสารที่มี ประโยชน์กลบั เข้าสูร่ ่างกาย สารทผี่ า่ นการกรองและการดดู กลบั จากหนว่ ยไตซง่ึ จะถูกขบั ออกส่ภู ายนอกรา่ งกาย เรียกวา่ ปัสสาวะ การวิเคราะห์ส่วนประกอบและสารต่าง ๆ ที่พบในปัสสาวะจงึ ใช้ตรวจวินจิ ฉัยเบ้ืองต้นเกี่ยวกับภาวะของโรค บางโรคของรา่ งกายได้ เชน่ โรคเบาหวาน โรคตบั โรคกระเพาะปสั สาวะอักเสบ เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • ปัสสาวะประกอบด้วยสารใดบ้าง แนวคาตอบ น้า ยูเรีย แอมโมเนีย กรดยูริก โซเดียม และสารบางชนิด เช่น ยา โพแทสเซียมไอออน สารที่ เป็นกรด 4. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 3.7 ดูแลรักษาไตอย่างไร โดยใช้คาถามว่าถ้าไตทางานผิดปกติ การกรองและการดูดกลับ สารตา่ ง ๆ จะเป็นอยา่ งไร และจะมีวิธีปฏิบตั ิตนอย่างไร เพ่อื ให้ไตทางานไดอ้ ยา่ งเปน็ ปกติ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01134 คูม่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.7 ดูแลรกั ษาไตอยา่ งไร แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดาเนินการดังนี้ ก่อนการทากิจกรรม (10 นาที) 1. ใหน้ กั เรียนอ่านชอ่ื กิจกรรม จุดประสงค์ และวธิ ดี าเนินกจิ กรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใชค้ าถาม ดงั ต่อไปน้ี • กิจกรรมนเี้ กีย่ วข้องกบั เรอื่ งอะไร (การดูแลรักษาอวยั วะในระบบขบั ถ่ายใหท้ างานได้อยา่ งปกติ) • กจิ กรรมน้มี ีจดุ ประสงค์อะไร (รวบรวมขอ้ มลู และนาเสนอวิธกี ารดแู ลรักษาอวยั วะในระบบขับถ่าย) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านสถานการณ์เกี่ยวกับโรคไตในประเทศไทย สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ โรคไต สาเหตุและผลกระทบ แนวทางในการดแู ลอวัยวะระบบขบั ถา่ ย นาเสนอข้อมูล) ครคู วรบนั ทกึ ขั้นตอนการทากิจกรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นกั เรียนต้องสงั เกตหรอื รวบรวมข้อมลู อะไรบา้ ง (รวบรวมข้อมลู เก่ยี วกับโรคไตและสาเหตุของโรค) ระหวา่ งการทากิจกรรม (30 นาที) 2. ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มทากิจกรรมตามวธิ ีการดาเนนิ กิจกรรม ครสู ังเกตการทากจิ กรรมของนักเรียน พรอ้ มให้คาแนะนา และความชว่ ยเหลอื เพิม่ เตมิ หากนักเรียนมปี ญั หาหรือข้อสงสัย เช่น แหลง่ ขอ้ มูลในการสบื ค้นข้อมลู ขอบเขตเนอ้ื หาใน การสืบค้น ซ่ึงครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากิจกรรมของนักเรียน เพ่ือใช้เป็นข้อมูล ประกอบการอภปิ รายหลังการทากจิ กรรม หลังการทากจิ กรรม (10 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามทา้ ยกิจกรรมเป็นแนวทางเพื่อใหไ้ ด้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า สาเหตขุ องโรคไตเกิดจากการรับประทานอาหารท่ี มีเกลือแร่ในปริมาณสูง หรืออาหารที่มีรสเค็มจัด การใช้ยาบางชนิดท่ีมีผลเสียต่อไต การเป็นโรคความดันเลือดสูง โรคเบาหวานเร้ือรัง ดังน้ันวิธีลดปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นได้จากการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการออกกาลังกาย รับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน ลดการรับประทานอาหารที่เค็มจัด ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกาย ไม่สบู บุหร่หี รือสารเสพติด นอกจากนี้การรณรงค์เพ่ือสร้างความตระหนักถึงอันตรายเกี่ยวกับโรค ไตก็มคี วามสาคัญตอ่ การแก้ปัญหาที่มปี ระสิทธภิ าพในระยะยาวอีกด้วย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

135 หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนุษย์ คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 4. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับหน้าท่ีของไตจากการตอบคาถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรืออาจ ตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอื่น ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนนั้นให้ถูกต้อง เช่น ใช้คาถามและอภิปรายร่วมกัน ใช้ แผนภาพ วีดิทศั น์ เอกสารอา่ นประกอบ แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคิดที่ถูกต้อง ไตทาหนา้ ทก่ี รองของเสียออกจากเลือดเท่าน้ัน ไตทาหน้าทีก่ รองสาร ดดู กลับสาร รักษาสมดุลของ (Discovery education, 2018) น้ารวมถึงสารส่วนเกินออกจากร่างกายในรูป ปัสสาวะ 5. เช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเร่ืองต่อไปว่า ในการดารงชีวิตของมนุษย์อย่างปกติสุข จาเป็นต้องอาศัยการทางานร่วมกัน ของระบบอวัยวะต่าง ๆ เช่น ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ และระบบขับถ่าย นักเรียนทราบหรือไม่ว่า ในการ ทางานร่วมกันของระบบต่าง ๆ น้ัน มีระบบอวัยวะใดที่เป็นตัวประสานและควบคุมการทางานให้ระบบต่าง ๆ ทางาน รว่ มกันได้อยา่ งปกติและมีประสทิ ธภิ าพ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01136 คูม่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เรื่องที่ 4 ระบบประสาท แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดาเนินการดงั น้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพนาเร่ือง อ่านเน้ือหานาเรื่อง เพ่ือให้นักเรียนเห็นถึงความสาคัญของสมองซ่ึง เป็นอวัยวะหนึ่งในระบบประสาท และอ่านคา สาคัญ ทากิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้คาตอบท่ีถูกต้อง ถ้าครูพบว่านักเรียนยังทากิจกรรมทบทวน ความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนและ แก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพ่ือให้ นักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียง พอทจ่ี ะเรียนเรื่องระบบประสาทต่อไป เฉลยทบทวนความร้กู อ่ นเรียน เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครอ่ื งหมาย หนา้ ข้อความท่ีไมถ่ ูกต้อง  ระบบประสาทประกอบไปด้วยเซลล์  สมองอย่ภู ายในกะโหลกศรี ษะ ทาหนา้ ท่ีควบคมุ การทางานของร่างกาย  เซลล์ประสาทมรี ูปร่างกลม แบน ไม่มนี ิวเคลยี ส ไมถ่ ูกต้อง เพราะ เซลล์ประสาทเป็นเซลล์ที่ไมไ่ ดม้ ีรูปร่างกลม เพราะมสี ่วนของเซลล์ยื่นออกมาจากตัว เซลล์ นอกจากน้ยี ังเปน็ เซลล์ท่ีมีนวิ เคลยี ส)  เซลล์ประสาทมเี ส้นใยประสาทเป็นเส้นแขนงยาว เพ่อื นากระแสประสาทไปยังเซลลอ์ ื่น ๆ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

137 หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนษุ ย์ ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 2. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับระบบประสาทโดยให้ทากิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถ เขียนขอ้ ความและวาดรูปได้อย่างอสิ ระตามความเข้าใจของนักเรียน โดยครูจะไมเ่ ฉลยคาตอบ ครคู วรรวบรวมแนวคิด คลาดเคลือ่ นที่พบเพ่ือนาไปใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรียนร้แู ละแกไ้ ขแนวคดิ เหลา่ นน้ั ให้ถูกต้อง ตัวอยา่ งแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นซึง่ อาจพบในเรอ่ื งนี้ • ระบบประสาทประกอบดว้ ยสมองเทา่ น้ัน 3. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและสังเกตภาพ 3.27 3.28 และ 3.29 เกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบประสาท รูปร่างของ เซลล์ประสาท การเกิดกระแสประสาท ชนดิ ของเซลล์ประสาท ในหนังสือเรียนหน้า 88-89 และตอบคาถามระหว่าง เรยี น จากนัน้ รว่ มกนั อภิปราย เพ่ือให้ไดข้ ้อสรปุ ว่า 3.1 ระบบประสาทประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาท หน่วยย่อยของสมองและไขสันหลัง ได้แก่ เซลล์ประสาท ซงึ่ ประกอบด้วยตัวเซลล์และเส้นใยประสาท 3.2 เส้นใยประสาทประกอบด้วยเดนไดรต์และแอกซอน เดนไดรต์ทาหน้าท่ีรับกระแสประสาท ส่วนแอกซอนทา หนา้ ทส่ี ง่ กระแสประสาท 3.3 กระแสประสาทเคลื่อนที่จากเซลล์หนึง่ ไปยังอีกเซลล์หน่ึง โดยผ่านช่องวา่ งแคบ ๆ ซึ่งต้องอาศัยสารเคมีท่ีสร้าง จากบรเิ วณปลายแอกซอน เพื่อไปกระตุ้นทาใหเ้ กิดกระแสประสาทบนเดนไดรตใ์ นเซลลถ์ ัดไป 3.4 เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่ได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทส่ังการและ เซลล์ประสาทประสานงาน เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • รปู รา่ งของเซลลป์ ระสาทแตกต่างจากเซลล์โดยทัว่ ไปอยา่ งไร แนวคาตอบ เซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์ซ่ึงมีส่วนที่ย่ืนแตกแขนงออกจากตัวเซลล์ เรียกว่า เส้นใย ประสาทเปน็ แขนงยาว ซ่ึงตา่ งจากเซลล์โดยทั่วไป 4. ถา้ พบวา่ นักเรียนมแี นวคิดคลาดเคลือ่ นเก่ียวกับระบบประสาทจากการตอบคาถามก่อนเรียน ระหว่างเรยี น หรืออาจ ตรวจสอบโดยใชก้ ลวธิ อี ่นื ๆ ใหค้ รแู ก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนนั้นให้ถกู ต้อง เช่น ใชค้ าถามและอภิปรายรว่ มกนั ใช้ แผนภาพ วดี ทิ ศั น์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคดิ คลาดเคล่อื น แนวคิดทถ่ี ูกต้อง ระบบประสาทประกอบด้วยสมองเทา่ น้นั ระบบประสาทประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และ (Discovery education, 2018) เส้นประสาท สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01138 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 5. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาและสังเกตภาพ 3.30 ในหนังสือเรียนหน้า 90 ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า สมอง ประกอบดว้ ยส่วนหลกั ๆ ไดแ้ ก่ ซรี ีบรัม ซีรเี บลลัม และก้านสมอง และหนา้ ทข่ี องส่วนประกอบเหล่าน้ีตามรายละเอียด ในหนังสอื เรียน จากนน้ั ตอบคาถามระหวา่ งเรยี น เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • สมองมีความสาคัญต่อรา่ งกายอยา่ งไร แนวคาตอบ สมองเป็นสว่ นศูนย์กลางการควบคุมการทางานของรา่ งกายทุกส่วน เช่น ความจา การคิด สตปิ ญั ญา การเคล่อื นไหวของกล้ามเน้ือต่าง ๆ การหายใจ การเต้นของหวั ใจ ตลอดจนการรับรู้และการตอบสนองของร่างกาย เช่น รับความรู้สกึ ร้อนหนาวและอุณหภมู ิของรา่ งกาย การมองเห็น การรับรส การดมกล่นิ การไดย้ นิ • ถ้าผู้ขับขี่หรือผู้ซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์โดยไม่สวมหมวกนิรภัย แล้วเกิดอุบัติเหตุทาให้เกิดอันตรายต่อ สมอง จะสง่ ผลต่อการทางานของรา่ งกายอย่างไร แนวคาตอบ การควบคุมการทางานบางอย่างของร่างกายอาจสูญเสียไป หรืออาจถึงแก่ชีวิตได้ขึ้นอยู่กับว่า อุบัติเหตุน้ันทาอันตรายกับสมองส่วนใด เช่น ถ้าเกิดอันตรายกับสมองส่วนซีรีเบลลัม การควบคุมการทรงตัว และการเคลื่อนไหวของกล้ามเน้ือต่าง ๆ จะเสียไป หรือถ้าเกิดอันตรายต่อก้านสมอง ซ่ึงควบคุมการหายใจ และการเต้นของหัวใจอาจถึงแกค่ วามตายได้ 6. ถา้ มีเวลาในการเรียนเพียงพอครูอาจให้นักเรยี นทา กจิ กรรมเสริม เราจาได้มากแค่ไหน เพือ่ ทดสอบความสามารถใน การจาของนักเรยี น เน่ืองจากความสามารถในการจาของแตล่ ะคนไมเ่ ท่ากัน 7. เช่ือมโยงเข้าสู่หัวข้อไขสันหลังว่า สมองเป็นอวัยวะหน่ึงในระบบประสาทส่วนกลาง นอกจากนี้ยังมีไขสันหลังอีกดว้ ย ไขสนั หลงั อยู่บรเิ วณใด มีหนา้ ทีแ่ ละความสาคญั อย่างไร 8. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาเกี่ยวกับไขสันหลังในหนังสือเรียนหนา้ 93 และสังเกตภาพ 3.31 ร่วมกันอภิปรายตาแหนง่ ของ ไขสันหลังจากภาพ และหน้าที่ของไขสันหลัง เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ไขสันหลังเป็นส่วนที่ต่อลงมาจากก้านสมองตาม แนวยาวภายในช่องของกระดูกสันหลัง หน้าท่ีหลักของไขสันหลัง คือ เชื่อมต่อการทางานระหว่างสมองและ เส้นประสาท และเปน็ ศูนย์กลางควบคุมการตอบสนองของรา่ งกายอย่างทันทที นั ใดหรือปฏกิ ิริยารีเฟล็กซ์ 9. เชอ่ื มโยงเข้าสู่เร่ืองเสน้ ประสาทว่า ส่วนของระบบประสาทท่ีอยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง เรียกว่า ระบบประสาท รอบนอก ซ่งึ ไดแ้ ก่ เสน้ ประสาท เส้นประสาทมีหน้าทีอ่ ะไร 10. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาเรอื่ งเส้นประสาทในหนงั สือเรยี นหน้า 93 ครูใช้คาถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายตาแหน่ง และหน้าทขี่ องเส้นประสาท เพ่ือใหไ้ ด้ข้อสรุปว่า เส้นประสาทเป็นส่วนท่ียื่นออกมาจากสมองและไขสันหลัง และเชื่อมไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ทาหน้าที่รับข้อมูลจากอวัยวะต่าง ๆ แล้วส่งไปยังสมองและไขสันหลังและ รับกระแสประสาทจากสมองและไขสันหลังสง่ ไปยังอวยั วะต่าง ๆ ของรา่ งกาย 11. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 3.8 ร่างกายจะมีปฏิกิริยาอย่างไรเมื่อถูกเคาะบริเวณหัวเข่า โดยใช้คาถามว่า นักเรียน ทราบมาแลว้ ว่าหนา้ ทข่ี องไขสันหลังเปน็ ศนู ยก์ ลางการควบคมุ ปฏกิ ริ ิยารีเฟลก็ ซ์ ปฏกิ ิรยิ ารีเฟลก็ ซเ์ ป็นอย่างไร สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

139 หนว่ ยท่ี 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ คู่มอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.8 รา่ งกายจะมปี ฏิกริ ยิ าอย่างไรเมอ่ื ถูกเคาะบริเวณหัวเข่า แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูดาเนนิ การดงั นี้ ก่อนการทากจิ กรรม (10 นาที) 1. ใหน้ ักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวธิ ดี าเนินกจิ กรรม และตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่านโดยใชค้ าถาม ดังตอ่ ไปน้ี • กจิ กรรมน้ีเกีย่ วขอ้ งกับเรอ่ื งอะไร (ปฏิกริ ิยาของร่างกายเม่ือถูกเคาะบริเวณหวั เข่า) • กิจกรรมนีม้ จี ุดประสงค์อะไร (ทดสอบและอธิบายปฏิกิริยารเี ฟล็กซ์) • วิธดี าเนนิ กิจกรรมมีข้นั ตอนโดยสรปุ อยา่ งไร (จบั ค่กู ัน คนหนงึ่ น่งั เก้าอหี้ ้อยขา อีกคนหนงึ่ ยนื อยดู่ ้านข้างใช้ค้อนยาง เคาะเบา ๆ บรเิ วณหวั เขา่ ของคนนั่ง สังเกตการตอบสนอง และสลับกนั ทดสอบ) ครูควรบันทกึ ขน้ั ตอนการทากจิ กรรมโดยสรุปบนกระดาน • นักเรียนตอ้ งสงั เกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบา้ ง (สงั เกตการตอบสนองของขาเมื่อใช้ค้อนเคาะบริเวณหวั เข่า) ระหวา่ งการทากจิ กรรม (10 นาท)ี 2. ขณะทแ่ี ตล่ ะกลุ่มทากิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทากจิ กรรมในแตล่ ะกลมุ่ และให้คาแนะนาถ้านกั เรียนมขี ้อสงสัยใน ประเด็นต่าง ๆ เช่น วิธีทากิจกรรม ตาแหน่งของหัวเข่าท่ีใช้ค้อนเคาะซึ่งบริเวณนี้คือบริเวณเอ็นตรงสะบ้าหัวเข่า ครู แนะให้นักเรียนดูตาแหน่งท่ีใช้ค้อนเคาะจากภาพ 3.33 ในหนังสือเรียนหน้า 95 และครูควรรวบรวมปัญหาและข้อ สงสัยตา่ ง ๆ จากการทากิจกรรมของนกั เรียน เพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมลู ประกอบการอภปิ รายหลงั การทากจิ กรรม หลงั การทากิจกรรม (10 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกจิ กรรมเป็นแนวทาง เพอ่ื ให้ได้ข้อสรุปจากกจิ กรรมวา่ รา่ งกายมกี ารตอบสนองอย่างทันทีทันใดต่อส่ิงเร้า ท่ีมากระตุน้ การตอบสนองนเี้ กดิ ข้ึนอยา่ งอัตโนมตั ิและไม่มีการคดิ ลว่ งหนา้ มาก่อน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ 01140 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 4. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติม โดยอ่านเน้ือหาและตอบคาถามระหว่างเรียนเก่ียวกับปฏิกิริยารีเฟล็กซ์จากหนังสือเรียน หน้า 94-95 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความหมายของปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ การทางานของวงจรประสาทใน ปฏิกริ ยิ ารเี ฟลก็ ซ์ที่บรเิ วณใต้หวั เขา่ จากภาพ 3.33 เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ 4.1 ปฏิกริ ยิ ารีเฟลก็ ซ์เป็นพฤตกิ รรมที่เกดิ ขนึ้ แบบทนั ทีทนั ใดโดยอตั โนมัติ ควบคุมโดยไขสันหลัง ไมผ่ า่ นสมอง 4.2 วงจรรีเฟล็กซ์บริเวณหัวเข่า (knee-jerk reflex) เร่ิมจากเคาะบริเวณหัวเข่าเบา ๆ หน่วยรับความรู้สึกท่ีอยู่ บริเวณกล้ามเนอ้ื จะสง่ กระแสประสาทผา่ นเซลลป์ ระสาทรบั ความรสู้ กึ ไปยังไขสนั หลงั เซลลป์ ระสาทสัง่ การจะนา คาส่ังจากไขสันหลังไปกระตุ้นให้กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้าหดตัว ขณะเดียวกันเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะส่ง กระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงานไปยังเซลล์ประสาทส่ังการ เพ่ือยับย้ังการหดตัวของกล้ามเน้ือตน้ ขาดา้ นหลงั ซ่งึ จะทาให้กลา้ มเน้ือสว่ นนค้ี ลายตวั เป็นผลใหเ้ กดิ การกระตกุ ขาไปข้างหนา้ เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • เมื่อจับวัตถุร้อนนักเรียนจะชักมือออกทันที ปฏิกิริยาการตอบสนองโดยการชักมือออกเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ หรือไม่ เพราะเหตุใด แนวคาตอบ เปน็ ปฏิกริ ิยารีเฟลก็ ซ์ เพราะเปน็ ตอบสนองอยา่ งทนั ทีทนั ใด โดยไม่มกี ารคิดล่วงหน้า • ปฏกิ ริ ยิ ารเี ฟล็กซ์มีประโยชนต์ อ่ มนุษยอ์ ยา่ งไร แนวคาตอบ ชว่ ยป้องกนั และหลกี เลย่ี งอันตรายท่จี ะเกิดขน้ึ กับรา่ งกาย 5. เช่อื มโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.9 นกั เรียนตอบสนองได้ดีแค่ไหน โดยต้งั คาถามว่า ปฏกิ ิรยิ ารีเฟลก็ ซ์เปน็ การตอบสนองที่ เกิดข้นึ ทันทที นั ใด ทาใหม้ นษุ ยร์ อดพน้ จากอนั ตราย นักเรยี นจะทดสอบความสามารถในการตอบสนองดังกล่าวได้จาก กจิ กรรม 3.9 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

141 หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนุษย์ คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.9 นกั เรยี นตอบสนองได้ดีแคไ่ หน แนวการจดั การเรยี นรู้ ครดู าเนินการดงั นี้ กอ่ นการทากิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรยี นอ่านช่ือกจิ กรรม จุดประสงค์ และวิธดี าเนินกจิ กรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอา่ นโดยใช้คาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ • กิจกรรมนเ้ี กี่ยวขอ้ งกับเร่อื งอะไร (เร่อื งความสามารถในการตอบสนองโดยการหลบเหรยี ญ) • กิจกรรมนมี้ ีจดุ ประสงค์อะไร (เพอ่ื ทดสอบและอธบิ ายความสามารถในการตอบสนอง) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (นักเรียนจับคู่กัน คนหน่ึงคว่ามือ อีกคนหนึ่งจับเหรียญบาทอยู่เหนือ หลังมือของเพ่ือนสูงประมาณ 20 เซนติเมตร จากนั้นปล่อยเหรียญลงบนหลังมือ นักเรียนคนท่ีคว่ามือพยายาม หลบไมใ่ ห้ถูกเหรยี ญ บันทึกจานวนท่หี ลบเหรียญได)้ ครูควรบันทกึ ข้นั ตอนการทากจิ กรรมโดยสรปุ บนกระดาน • นักเรยี นต้องสงั เกตหรอื รวบรวมข้อมลู อะไรบา้ ง (สังเกตความสามารถในการหลบเหรียญ และรวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับจานวนครัง้ ของการหลบเหรียญ) ระหว่างการทากิจกรรม (10 นาท)ี 2. ขณะทแ่ี ตล่ ะกลมุ่ ทากิจกรรม ครคู วรเดนิ สังเกตการทากิจกรรมในแตล่ ะกลุ่ม และให้คาแนะนาถา้ นักเรียนมีข้อสงสัยใน ประเด็นต่าง ๆ เช่น วธิ ที ากจิ กรรม และอน่ื ๆ ซงึ่ ครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสยั ตา่ ง ๆ จากการทากิจกรรมของ นกั เรยี น เพ่ือใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการอภปิ รายหลงั การทากิจกรรม หลงั การทากจิ กรรม (10 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ความสามารถในการตอบสนองของแต่ละคนจะ แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสามารถในการรับรู้ของอวัยวะรับความรู้สึก เช่น ตา และประสิทธิภาพในการทางาน ร่วมกันระหว่างกล้ามเนื้อกับระบบประสาท ครูควรช้ีให้เห็นว่าความสามารถในการตอบสนองมีประโยชน์ต่อมนุษย์ ซ่ึงทุกคนสามารถฝึกฝนให้เร็วข้ึนได้ เพราะจะทาให้หลบหลีกอันตรายได้อย่างรวดเร็ว สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนษุ ย์ 01142 คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 4. ตั้งคาถามเพ่ือนาเข้าสู่ความสาคัญของระบบประสาท โดยใช้คาถาม เช่น ถ้าสมองหรือไขสันหลังถูกทาลายหรือได้รับ อันตรายจะมผี ลตอ่ ร่างกายอยา่ งไร นกั เรียนมีวิธีดูแลรักษาระบบประสาทได้อย่างไร จากนัน้ ใหอ้ ่านเนื้อหาจากหนังสือ เรียนหนา้ 97 และรว่ มกนั อภิปราย เพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรุปว่า การดแู ลรักษาระบบประสาททาไดห้ ลายทาง เช่น ระมัดระวัง ไม่ให้เกิดความกระทบกระเทือนหรืออันตรายบริเวณศีรษะและกระดูกสันหลัง ฉีดวัคซีนป้องกันโรคที่เก่ียวกับสมอง หลีกเลีย่ งการใชส้ ารเสพติดหรอื สารท่ีมผี ลกระทบต่อระบบประสาท พกั ผ่อนให้เพยี งพอ ออกกาลงั กายอยา่ งสม่าเสมอ น่ังสมาธิ และรบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ตอ่ รา่ งกาย เฉลยคาถามระหว่างเรียน • นักเรยี นจะหลีกเลี่ยงสง่ิ ที่จะลดประสิทธภิ าพในการทางานของระบบประสาทไดอ้ ยา่ งไร แนวคาตอบ เราควรหลีกเลยี่ งสารที่จะลดประสทิ ธภิ าพในการทางานของระบบประสาท เช่น ไมเ่ สพสารเสพติด ทุกชนิด ไม่รบั ประทานยาระงบั ประสาทหรอื ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และหลกี เลย่ี งความเครยี ด 5. เชอ่ื มโยงเนอื้ หาเรื่องระบบประสาทไปยังเรือ่ งตอ่ ไปวา่ ระบบประสาทเปน็ ระบบที่ควบคมุ การทางานของทกุ ระบบใน ร่างกาย รวมถงึ ระบบสืบพันธ์ุ ซึ่งนกั เรยี นจะได้เรียนในเร่ืองตอ่ ไป สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

143 หนว่ ยท่ี 3 | รา่ งกายมนุษย์ คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เรือ่ งที่ 5 ระบบสืบพนั ธ์ุ แนวการจดั การเรียนรู้ ครดู าเนนิ การดงั นี้ 1. ให้นักเรียนดูภาพนาเร่ือง อ่านเนื้อหา และ คาสาคัญเรื่องระบบสืบพันธ์ุ จากนั้นทา กิจกรรม ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ถ้าครู พบว่านักเรียนยังมคี วามเขา้ ใจในเน้ือหาส่วน ใดยังไม่สมบูรณ์ หรือไม่ถูกต้อง ครูควร อธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับเน้ือหาส่วนนั้น เพื่อให้นักเรียนมีความรู้พ้ืนฐานที่ถูกต้อง และเพียงพอที่จะเรียนรู้เก่ียวกับเร่ืองระบบ สบื พนั ธ์ุต่อไป เฉลยทบทวนความรกู้ ่อนเรยี น เขยี นเครือ่ งหมาย  หนา้ ข้อความทถ่ี กู ต้อง และเขียนเครือ่ งหมาย × หนา้ ข้อความทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง  สิง่ มีชีวิตทกุ ชนิดสามารถสืบพันธุ์ได้  สตั ว์ส่วนใหญส่ บื พันธุ์ได้เม่อื เจริญเตบิ โตเป็นตัวเตม็ วัย  สัตวแ์ ต่ละชนิดมีวฏั จักรชีวิตเหมือนกนั ไม่ถูกต้องเพราะวัฏจักรชีวิตของสัตว์แต่ละชนดิ จะแตกต่างกัน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01144 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 2. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับระบบสืบพันธุ์ โดยให้ทากิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถ เขียนข้อความ แผนผัง หรือแผนภาพได้อย่างอิสระตามความเข้าใจของนักเรียน โดยครูจะไม่เฉลยคาตอบ ครูควร รวบรวมแนวคิดคลาดเคล่ือนทีพ่ บเพอื่ นาไปใชใ้ นการวางแผนการจัดการเรียนร้แู ละแก้ไขแนวคิดเหลา่ นัน้ ให้ถกู ต้อง ตัวอยา่ งแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นซึง่ อาจพบในเรื่องน้ี • การปฏิสนธเิ กิดข้นึ ในรังไขห่ รือในมดลูก • ประจาเดอื นเปน็ เลอื ดสกปรกรา่ งกายจะตอ้ งกาจดั ออกจงึ จะทาให้มีสุขภาพดีขนึ้ • การกินยาคมุ กาเนิดสามารถป้องกันการติดโรคทางเพศสมั พันธ์ได้ 3. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหา สังเกตภาพ 3.35 และภาพ 3.36 ในหนังสือเรียนหน้า 99-100 โดยต้ังคาถามเพ่ือให้นักเรียน ตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน เช่น ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงและเพศชายแตกต่างกันอย่างไรและประกอบด้วย อวัยวะใดบ้าง อวัยวะแต่ละอวัยวะในระบบสืบพันธุ์มีหน้าท่ีอะไร จากน้ันให้นักเรียนตอบคาถามระหว่างเรียน และ อภปิ รายรว่ มกันตามรายละเอียดในหนังสอื เรียน เพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรุปว่า 3.1 ระบบสืบพันธ์ุของเพศชายประกอบด้วยอัณฑะ หลอดเก็บอสุจิ หลอดนาอสุจิ ต่อมสร้างน้าเล้ียงอสุจิ ต่อม ลูกหมาก และต่อมคาวเปอร์ ส่วนระบบสืบพันธุ์เพศหญิงประกอบด้วยรังไข่ ท่อนาไข่ มดลูก ปากมดลูก และ ชอ่ งคลอด อวยั วะแตล่ ะอวัยวะในระบบสบื พนั ธจุ์ ะมีหน้าทีต่ า่ งกนั ไป 3.2 อณั ฑะทีท่ าหน้าที่สรา้ งอสจุ ิซึ่งเป็นเซลล์สืบพนั ธุเ์ พศผู้ ส่วนรังไข่ ทาหน้าท่สี รา้ งเซลลไ์ ข่ซึง่ เปน็ เซลล์สืบพันธ์ุเพศเมยี เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • อวัยวะใดในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิงท่ีทาหนา้ ทีเ่ หมือนกัน แนวคาตอบ ระบบสืบพันธุ์เพศชายมีอัณฑะทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ เหมือนกันกับรังไข่ในระบบ สืบพันธ์ุเพศหญิงท่ีทาหน้าท่ีสร้างเซลล์สืบพันธเ์ุ พศเมีย ระบบสืบพันธุ์เพศชายมีหลอดนาอสจุ ิ ซึ่งเป็นบริเวณที่ ให้อสุจิเคลือ่ นที่ ทาหนา้ ท่ีเหมือนกบั ทอ่ นาไขใ่ นระบบสบื พันธ์ุเพศหญงิ ซง่ึ เป็นบริเวณให้เซลล์ไขเ่ คลือ่ นท่ี 4. เช่ือมโยงเข้าสู่ กิจกรรมที่ 3.10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวเป็นอย่างไร โดยใช้คาถามว่า นักเรียนทราบหรือไม่ว่าอัณฑะและรังไข่นอกจากจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์แล้วยังสร้างฮอร์โมนเพศซึ่งควบคุมการ เปลย่ี นแปลงของรา่ งกายเม่ือเข้าสู่วยั หนุ่มสาว การเปลี่ยนแปลงทางรา่ งกายท่คี วบคุมด้วยฮอร์โมนเพศนัน้ มอี ะไรบา้ ง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

145 หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนุษย์ ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 3.10 การเปล่ยี นแปลงของรา่ งกายเมอื่ เข้าสูว่ ยั หนมุ่ สาวเป็นอย่างไร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครดู าเนินการดงั น้ี กอ่ นการทากิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นกั เรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวธิ ีดาเนินกจิ กรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอา่ นโดยใชค้ าถาม ดังต่อไปน้ี • กิจกรรมน้ีเก่ยี วข้องกบั เร่ืองอะไร (การเปลย่ี นแปลงของร่างกายเม่ือเขา้ สู่วยั หน่มุ สาว) • กิจกรรมน้ีมีจดุ ประสงค์อะไร (1. สารวจและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายเม่อื เขา้ สู่วยั หนุ่มสาว 2.สบื ค้น ขอ้ มูล อภปิ รายและเสนอแนะแนวทางการดูแลรกั ษาร่างกายของตนเองในชว่ งที่มีการเปล่ียนแปลงของรา่ งกาย) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (สารวจการเปล่ียนแปลงของร่างกายตนเองในปัจจบุ ันเปรียบเทียบกบั ช่วงทอี่ ย่ชู น้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้แบบสารวจ สืบค้นข้อมูลและอภปิ รายเกยี่ วกับแนวทางการดูแลรักษาร่างกาย ของตนเองในช่วงท่มี กี ารเปลี่ยนแปลง และนาเสนอดว้ ยรปู แบบทนี่ า่ สนใจ) ครูควรบนั ทกึ ขั้นตอนการทากจิ กรรมโดยสรุปบนกระดาน • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของร่างกายตนเองจาก การสารวจ) ระหวา่ งการทากิจกรรม (20 นาท)ี 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมตามวิธีการดาเนินกิจกรรม ครูสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียน พร้อมให้คาแนะนา และความช่วยเหลือเพิ่มเติมหากนักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัย ซึ่งครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการ ทากจิ กรรมของนักเรียน เพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลประกอบการอภปิ รายหลังการทากจิ กรรม หลงั การทากจิ กรรม (30 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามทา้ ยกิจกรรมเป็นแนวทาง เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปจากกิจกรรมวา่ เมื่อเขา้ สู่วยั หนุ่มสาวทั้งเพศหญิงและเพศชาย จะ เกิดการเปล่ียนแปลงของร่างกายที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน เช่น เพศชายเสียงจะแตก ไหล่ผาย มีหนวด เครา ขนรักแร้ และขนบริเวณอวัยวะเพศ มีการสร้างอสุจิและหลั่งน้าอสุจิ ส่วนเพศหญิงมีสะโพกผาย เสียงแหลมเล็ก เต้า นมขยายใหญข่ น้ึ มีประจาเดือน และขนบริเวณอวัยวะเพศ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01146 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 4. นักเรียนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในหนังสือเรียน ตอบคาถามระหว่างเรียน ร่วมกันอภิปราย เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อเข้าสู่วัย หนุ่มสาวท้ังเพศหญิงและเพศชายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์และสภาพจิตใจ ซึ่งเป็นผลมาจากฮอร์โมน เพศทรี่ ่างกายสร้างข้ึน การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเกิดข้ึนตามธรรมชาติ ซึง่ นักเรียนสามารถเตรียมพร้อมด้วยการยอมรับการ เปล่ียนแปลง รักษาความสะอาดส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ออกกาลังกายเป็นประจา ทางานอดิเรกหรือกิจกรรมอ่ืน ๆ เพื่อ คลายเครียด เฉลยคาถามระหวา่ งเรียน • เมื่อนักเรียนเข้าสู่วัยหนุ่มสาวร่างกายและจิตใจมีการเปล่ียนแปลงอย่างไรบ้าง และมีวิธีการดูแลตนเอง อย่างไร แนวคาตอบ เม่ือเข้าสู่วัยหนุ่มสาว ทั้งเพศหญิงและเพศชายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่สามารถ สังเกตได้อย่างชัดเจน เช่น เพศชายเสียงจะแตก ไหล่ผาย มีหนวด เครา ขนรักแร้ และขนบริเวณอวัยวะเพศ มกี ารสร้างอสจุ แิ ละหล่ังน้าอสุจิ สว่ นเพศหญิงมสี ะโพกผาย เสยี งแหลมเลก็ เตา้ นมขยายใหญข่ น้ึ มปี ระจาเดือน และขนบริเวณอวัยวะเพศ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และสภาพจิตใจ เช่น อารมณ์ไม่คงที่ เปล่ียนแปลงง่ายและรวดเร็ว วู่วาม หงุดหงิด วิตกกังวล อาจมีอารมณ์เศร้าร่วมด้วย เร่ิมสนใจเพศตรงข้าม ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน เป็นต้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเรื่องท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ นักเรียนสามารถเตรียมพร้อมด้วยการยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น รักษาความสะอาดส่วน ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ออกกาลังกายเป็นประจา ทางานอดเิ รกหรอื กิจกรรมอืน่ ๆ เพ่อื คลายเครียด 5. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาเก่ียวกับประจาเดือน การตกไข่ และการปฏิสนธิเป็นไซโกต เอ็มบริโอ การเปลี่ยนแปลงของ เอ็มบริโอเป็นฟีตัส จนกระท่ังคลอดเป็นทารก และสังเกตภาพ 3.38 3.39 และ 3.40 ในหนังสือเรียนหน้า 104-106 เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในเนือ้ หา แลว้ ตอบคาถามระหวา่ งเรยี น เพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปว่า 5.1 ประจาเดือน คือ ผนังมดลูกชั้นในทีห่ นาขึ้นระหว่างรอบเดือนและหลุดลอกออกมาพร้อมกับเลือดทางช่องคลอด ซึ่งจะ เกิดข้ึนเป็นรอบ แต่ละรอบใช้เวลาประมาณ 28 วัน การเปล่ียนแปลงของผนังมดลูกเป็นผลมาจากฮอร์โมนเพศหญิง ไดแ้ ก่ อีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน 5.2 เซลล์ไข่เม่ือพัฒนาเต็มท่ีจะหลุดออกจากรังไข่เข้าไปในท่อนาไข่ เรียกว่า การตกไข่ และเม่ือเซลล์ไข่เกิดการ ปฏิสนธิกับอสุจิจะเกิดเป็นเซลล์ท่ีเรียกว่า ไซโกต ต่อจากนั้นไซโกตจะเพิ่มจานวนเซลล์โดยการแบ่งเซลล์จน กลายเป็นกลมุ่ เซลล์ เรียกว่า เอม็ บรโิ อ ซ่ึงจะมกี ารเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงรูปร่างจนมอี วัยวะครบเม่ืออายุ 8 สัปดาห์ เรยี กวา่ ฟีตัส จากนนั้ ฟตี ัสจะเจริญเติบโตจนกระท่งั คลอดออกมาเป็นทารก สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

147 หนว่ ยท่ี 3 | ร่างกายมนุษย์ ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • เพราะเหตุใดผนงั มดลูกจงึ หลดุ ออกมาและสลายตวั ออกมาเปน็ ประจาเดอื นได้ แนวคาตอบ การที่ผนังมดลูกหลุดออกมาและสลายตัวออกมาเป็นประจาเดือน เป็นผลจากปริมาณอีสโทรเจน และโพรเจสเทอโรนลดลง ทาให้ผนงั มดลกู ชั้นในที่หนาขน้ึ หลดุ ลอกออกมาพร้อมเลือดเป็นประจาเดอื น • ผู้หญิงคนหนึ่งมีประจ่าเดือนอย่างสม่าเสมอทุก 28 วัน ถ้าผู้หญิงคนนี้มีประจ่าเดือนวันแรกคือวันที่ 14 กุมภาพนั ธ์ ผ้หู ญิงคนน้จี ะตกไขค่ ร้งั ตอ่ ไปในวนั ท่เี ทา่ ใด แนวคาตอบ ในกรณีนี้ผู้หญิงคนน้ีมีประจาเดือนทุก 28 วัน ไข่จะตกหลังจากมีประจาเดือนวันแรกคือวันที่ 14 กุมภาพนั ธ์ุถดั ไปอกี 14 วนั ดังน้นั ผูห้ ญิงคนนจ้ี ะตกไข่อกี ครงั้ ในวนั ที่ 28 กุมภาพันธ์ 6. ถา้ พบวา่ นกั เรียนมแี นวคิดคลาดเคลือ่ นเก่ียวกบั การปฏิสนธแิ ละประจาเดอื นจากการตอบคาถามก่อนเรยี น ระหว่าง เรยี น หรอื อาจตรวจสอบโดยใชก้ ลวธิ อี ื่น ๆ ใหค้ รูแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนนนั้ ให้ถกู ต้อง เช่น ใช้คาถามและอภปิ ราย รว่ มกัน ใชแ้ ผนภาพ วีดทิ ัศน์ เอกสารอ่านประกอบ แนวคดิ คลาดเคล่อื น แนวคดิ ที่ถกู ต้อง การปฏสิ นธิเกิดขนึ้ ในรังไขห่ รือในมดลูก (Heathline, 2017) การปฏิสนธิเกิดขึ้นในท่อนาไข่ ซึ่งเป็นส่วนท่ีเช่ือม ระหว่างรังไข่และมดลูก เม่ือมีการปฏิสนธิระหว่าง ประจาเดือนเป็นเลือดสกปรกร่างกายจะต้องกาจดั อสุจิและเซลล์ไข่บริเวณท่อนาไข่ จะเกดิ เปน็ ไซโกต ออกจงึ จะทาให้มสี ุขภาพดีข้นึ (Rizvi & Ali, 2016) ซึ่งจะแบ่งเซลล์และเคลื่อนไปฝังตัวบริเวณผนัง มดลูก (Heathline, 2017) ประจาเดือนเป็นผนังด้านในของมดลูกท่ีหลุดลอก ออกมาพร้อมเลือด จึงไม่ใช่เลือดสกปรกท่ีร่างกาย ตอ้ งกาจัดออกแล้วจงึ จะมีสุขภาพดีขน้ึ 7. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปว่า เม่ือเข้าสู่วัยหนุ่มสาว อวัยวะในระบบสืบพันธุ์จะมีการพัฒนาจนสามารถ สืบพันธุ์ได้ อย่างไรก็ตามในการสืบพันธ์ุหรือการมีบุตรยังต้องอาศัยความพร้อมในหลาย ๆ ด้าน ดังน้ันนักเรียนจึงควร เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ในภาวะท่ีนักเรียนยังไม่มีความพร้อม จากนั้นครูต้ังคาถามกระตุ้น ความสนใจวา่ จะมีวิธีการป้องกันการต้งั ครรภใ์ นขณะทย่ี ังไม่มีความพร้อมได้อยา่ งไร 8. ให้นักเรยี นอ่านเน้ือหาเก่ยี วกบั การคุมกาเนดิ ด้วยวิธตี ่าง ๆ ในหนังสอื เรียนหน้า 107-108 แลว้ ใช้คาถามเพอ่ื ตรวจสอบ ความเข้าใจในการอ่าน เช่น การคุมกาเนิดมีกี่ประเภทและแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร การคุมกาเนิดแต่ละแบบมี ข้อดีและข้อเสียอย่างไรบ้าง และตอบคาถามระหว่างเรียน เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การคุมกาเนิดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื การคมุ กาเนดิ ชวั่ คราวและการคุมกาเนิดถาวร สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ 01148 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 8.1 การคุมกาเนิดชั่วคราวเป็นการป้องกันการตั้งครรภ์ในช่วงเวลาท่ีไม่พร้อมจะมีบุตร และสามารถกลับมาต้ังครรภ์ เมื่อหยุดการคมุ กาเนิด แบ่งออกเปน็ 3 วิธี ไดแ้ ก่ 8.1.1 การคมุ กาเนดิ โดยวิธีธรรมชาติ ซึง่ อาศัยการนับวันขณะมเี พศสัมพันธ์ ซึ่งมโี อกาสผิดพลาดสงู 8.1.2 การคมุ กาเนดิ โดยใชฮ้ อร์โมนสังเคราะหท์ ี่เลียนแบบฮอรโ์ มนเพศหญิง เชน่ การกินยาเม็ด คุมกาเนิด การใช้ยาฝงั คุมกาเนิด 8.1.3 การคุมกาเนิดโดยใชอ้ ปุ กรณ์ เชน่ การใชถ้ งุ ยางอนามัย การใช้หว่ งอนามยั 8.2 การคมุ กาเนดิ ถาวรหรอื ทาหมัน ในเพศชายทาไดโ้ ดยผกู และตดั หลอดนาอสจุ ิ เพ่ือป้องกันไมใ่ หอ้ สจุ ิออกมาพร้อม กับน้าอสุจิ ส่วนเพศหญิงทาโดยผูกและตัดท่อนาไข่ท้ัง 2 ข้าง เพ่ือป้องกันเซลล์ไข่เคล่ือนท่ีไปปฏิสนธิกับอสุจิใน ทอ่ นาไข่ ในการคมุ กาเนดิ ถาวร คสู่ ามภี รรยาจะไมส่ ามารถกลบั มามลี ูกได้อกี เฉลยคาถามระหว่างเรียน • เพราะเหตุใดการคุมกาเนิดด้วยวิธีธรรมชาติจึงต้องมีเพศสัมพันธ์ในช่วงระยะ 7 วัน ก่อนมีประจาเดือน วนั แรกและหลงั วันแรกของการมปี ระจาเดอื นต่อไปอีก 7 วนั แนวคาตอบ เนอื่ งจากเปน็ ระยะที่ไข่ยังไมต่ ก โอกาสในการต้งั ครรภ์จงึ ตา่ อยา่ งไรกต็ ามวธิ กี ารนี้ยังไม่เหมาะสม กับการคุมกาเนิดใหไ้ ด้ผลเตม็ ที่ ควรใชว้ ิธอี ืน่ ๆ รว่ มด้วย เชน่ การใช้ถงุ ยางอนามัย 9. เชอื่ มโยงเขา้ สู่ กจิ กรรมที่ 3.11 เลือกวธิ กี ารคุมกาเนิดอย่างไรให้เหมาะสม โดยครูใช้คาถามวา่ ถา้ คู่ชายหญงิ แต่งงาน กันแตย่ งั ไมพ่ ร้อมจะมีบตุ ร ควรเลือกวธิ ีคมุ กาเนดิ อยา่ งไรจึงจะเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

149 หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนษุ ย์ คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ กิจกแนรรวมกาทรี่จ3ัด.ก1า1รเรียนรเลู้ คอื รกูดวาเธิ นีกนิ ากราครดุมงักนา้ี เนิดอยา่ งไรให้เหมาะสม กอ่ นการทากิจกรรม (5 นาท)ี 1. ใหน้ กั เรยี นอา่ นช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวธิ ดี าเนินกจิ กรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใช้คาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ • กิจกรรมนี้เกยี่ วข้องกบั เรื่องอะไร (วิเคราะห์สถานการณ์ทกี่ าหนดให้ ข้อดี-ขอ้ เสียในการคุมกาเนิดแบบต่าง ๆ และ การเลอื กวิธีในการคุมกาเนดิ อยา่ งเหมาะสม) • กิจกรรมนมี้ ีจดุ ประสงค์อะไร (วิเคราะห์สถานการณ์และเลือกวธิ ีการคุมกาเนดิ ท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (วิเคราะห์สถานการณ์ เสนอแนะแนวทางการคุมกาเนิดที่เหมาะสม กบั แตล่ ะสถานการณ์ ระบขุ อ้ ดแี ละขอ้ จากดั ของการคุมกาเนิดแตล่ ะวธิ ี) ครคู วรบันทึกขนั้ ตอนการทากจิ กรรมโดยสรปุ บนกระดาน ระหวา่ งการทากิจกรรม (15 นาท)ี 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทากจิ กรรมตามวธิ กี ารดาเนินกจิ กรรม ครูสงั เกตการทากิจกรรมของนกั เรียน พร้อมให้คาแนะนา และความช่วยเหลือเพิ่มเติมหากนักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัย เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์ที่กาหนดให้ ซ่ึงครูควร รวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากิจกรรมของนักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการอภิปรายหลังการ ทากจิ กรรม หลังการทากิจกรรม (10 นาที) ป3. ให้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนาเสนอและอภปิ รายคาตอบร่วมกัน เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การคุมกาเนดิ เป็นวิธีป้องกันการต้งั ครรภ์ ซึ่งมีอยู่หลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อจากัดแตกต่างกันไป การเลือกใช้วิธีการคุมกาเนิด วิธีใดนั้นขึ้นอยู่กับเหตุผลและความเหมาะสมในหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านความพร้อมในการมีบุตร สุขภาพ หรือ โรคประจาตัว เป็นต้น สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ 01150 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 4. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับยาคุมกาเนิดจากการตอบคาถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรืออาจ ตรวจสอบโดยใช้กลวิธีอ่ืน ๆ ให้ครูแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนนั้นให้ถูกต้อง เช่น ใช้คาถามและอภิปรายร่วมกัน ใช้ แผนภาพ วีดทิ ศั น์ เอกสารอา่ นประกอบ แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคิดท่ีถกู ต้อง การกินยาคมุ กาเนิดสามารถป้องกันการติดโรคทาง ยาคุมกาเนิดสามารถช่วยคุมกาเนิดได้ แต่ไม่ เพศสมั พันธไ์ ด้ สามารถป้องกันการติดโรคทางเพศสัมพันธ์ได้ (สานกั คณะกรรมการอาหารและยา, 2561) อย่างไรก็ตามการคุมกาเนิดวิธีอ่ืนอาจจะช่วยลด ความเส่ียงของโรคทางเพศสัมพันธ์ได้ เช่น การใช้ ถงุ ยางอนามัย (สานกั คณะกรรมการอาหารและยา, 2561) 5. เชื่อมโยงเข้าสู่ กิจกรรมท่ี 3.12 การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควรส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง โดยครูใช้คาถามว่า ปัจจุบัน การตั้งครรภข์ องวัยรุ่นซึง่ ยังไมพ่ รอ้ มจะมบี ุตรมีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึน ทาใหเ้ กิดปญั หาต่าง ๆ ตามมามากมาย นกั เรียนทราบ หรอื ไม่วา่ ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

151 หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ ค่มู ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.12 การต้งั ครรภ์ก่อนวัยอันควรส่งผลกระทบอยา่ งไรบา้ ง แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดาเนนิ การดงั น้ี ก่อนการทากิจกรรม (10 นาที) 1. ให้นกั เรยี นอา่ นช่ือกจิ กรรม จุดประสงค์ และวิธดี าเนินกจิ กรรม และตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่านโดยใชค้ าถาม ดังต่อไปน้ี • กจิ กรรมนเ้ี ก่ยี วขอ้ งกับเร่ืองอะไร (การต้ังครรภก์ อ่ นวัยอันควรและแนวทางในการป้องกนั การตัง้ ครรภก์ ่อนวยั อันควร) • กจิ กรรมน้ีมีจดุ ประสงคอ์ ยา่ งไร (วเิ คราะห์สถานการณ์และเสนอแนะแนวทางป้องกนั การตง้ั ครรภ์กอ่ นวัยอันควร) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรปุ อย่างไร (วิเคราะห์สถานการณ์และผลกระทบของการตง้ั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควรและ เสนอแนะแนวทางปอ้ งกันการตั้งครรภก์ อ่ นวัยอนั ควร) ครูควรบนั ทึกขั้นตอนการทากิจกรรมโดยสรุปบนกระดาน ระหวา่ งการทากิจกรรม (20 นาที) 2. ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ทากิจกรรมตามวิธีการดาเนินกิจกรรม ครูสงั เกตการทากจิ กรรมของนกั เรียนพร้อมให้คาแนะนา และความช่วยเหลือเพ่ิมเติมหากนักเรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัย เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวทางการ คุมกาเนิด ซ่ึงครูควรรวบรวมปัญหาและข้อสงสัยต่าง ๆ จากการทากิจกรรมของนักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูล ประกอบการอภปิ รายหลงั การทากิจกรรม หลังการทากจิ กรรม (20 นาที) 3. ให้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนาเสนอและอภิปรายคาตอบร่วมกัน เพ่ือให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมวา่ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรส่งผลกระทบทั้งต่อตนเอง เช่น เสียการเรียน เสียโอกาสในการทางาน และอาจส่งผลต่อ สุขภาพจิต ทางด้านสังคม เช่น เกิดปัญหาในครอบครัว เกิดการหย่าร้าง และเป็นภาระแก่รัฐในการสงเคราะห์เด็ก ทารกที่เกิดจากความไม่พร้อมของพ่อแม่ วิธีป้องกันท่ีดีท่ีสุด คือ ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ส่วนการคุมกาเนิด อยา่ งถูกต้องและเหมาะสมเป็นอีกวิธที ีช่ ว่ ยลดปัญหาการตัง้ ครรภก์ ่อนวยั อันควรได้อีกทางหนง่ึ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนุษย์ 01152 ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 4. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับระบบอวัยวะในร่างกายของเรา จากน้ันทากิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพ่ือสรุปองค์ ความรทู้ ไ่ี ดเ้ รยี นร้จู ากบทเรียน ดว้ ยการเขยี นบรรยาย วาดภาพ หรอื เขียนผังมโนทัศน์สิ่งท่ีได้เรยี นรจู้ ากบทเรยี น เรือ่ ง ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา ตวั อย่างผงั มโนทศั น์ในบทเรียนระบบอวัยวะในรา่ งกายของเรา 5. ให้นักเรียนทากิจกรรมท้ายบท เรื่อง ระบบของร่างกายมนุษย์กับสถานีอวกาศเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และ ตอบคาถามท้ายกิจกรรม 6. ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามสาคญั ของบทและอภิปรายร่วมกนั โดยนกั เรยี นควรตอบคาถามสาคัญดงั กลา่ วได้ ดงั ตวั อยา่ ง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

153 หน่วยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามสาคญั • ระบบอวัยวะของร่างกายมนุษยแ์ ต่ละระบบมีหนา้ ท่ีอะไรและทางานอย่างไร แนวคาตอบ ระบบหมุนเวียนเลือด มีหน้าที่ลาเลียงสารอาหารและแก๊สออกซิเจนไปเล้ียงเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย และลาเลียงของเสียและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายไปกาจัดออก โดยเลือด จะไหลเวียนจากหัวใจห้องล่างซ้ายไปยังเซลล์ต่าง ๆ ของรา่ งกาย แล้วกลบั เข้าส่หู ัวใจหอ้ งบนขวา ไหลลงส่หู ัวใจ ห้องล่างขวา แล้วส่งไปยังปอด เลือดจากปอดจะกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายและลงสู่หัวใจห้องล่างซ้ายเพื่อ ลาเลยี งไปยงั เซลลต์ ่าง ๆ ของร่างกาย ระบบหายใจ มีหน้าท่ีในการแลกเปล่ียนแก๊ส โดยเลือดที่มีปริมาณแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์สูงจากหวั ใจ จะส่งไปยังปอด เข้าสู่หลอดเลือดฝอยบริเวณที่ล้อมรอบถุงลม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่ผ่านผนังของ หลอดเลือดฝอยเข้าสู่ภายในถุงลม และถูกกาจัดออกจากร่างกายโดยการหายใจออก ขณะเดียวกันแก๊ส ออกซิเจนจากลมหายใจเข้าจะเข้าสู่ภายในถุงลมซ่ึงจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอย เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูงใน หลอดเลอื ดฝอยจะถกู ลาเลียงไปยังหวั ใจเพอื่ สง่ ไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย ระบบขับถ่าย มีหน้าท่ีกาจัดของเสียซึ่งมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ โดยมีหน่วยไตทาหนา้ ที่กรองสาร โมเลกลุ ขนาดเลก็ เชน่ ยูเรยี โซเดยี ม นา้ กลโู คส กรดอะมิโนออกจากเลอื ด สารท่ีผา่ นการกรองแลว้ จะมที ั้งสาร ทเี่ ป็นประโยชน์และของเสีย ซึ่งสารทมี่ ีประโยชน์ เชน่ กลโู คส กรดอะมโิ น รวมทง้ั นา้ สว่ นใหญจ่ ะถูกดดู กลับเข้า สู่หลอดเลือดฝอยท่ีพันอยู่รอบท่อหน่วยไต สารท่ีเหลือจากการดูดกลับซ่ึงมีสารส่วนเกินความต้องการ เช่น น้า โซเดยี ม และของเสีย เช่น ยเู รีย แอมโมเนีย กรดยูริก และสารอน่ื ๆ ท่ีรา่ งกายไม่ต้องการ รวมเรยี กวา่ ปัสสาวะ จะถูกส่งไปตามทอ่ ไตและรวมกนั ท่กี ระเพาะปัสสาวะ เพอื่ กาจดั ออกจากร่างกายทางทอ่ ปสั สาวะ ระบบประสาท ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะทุกอวัยวะของร่างกาย รวมถึงการแสดง พฤติกรรมของมนุษย์เพ่ือตอบสนองต่อส่ิงเร้า การทางานของระบบประสาทมีอวัยวะรับความรู้สึก เช่น ตา หู จมูก ล้ิน ผิวกาย ทาหน้าท่ีรับและส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทรับความรู้สึกเข้าสู่สมองและไขสันหลัง สมองและไขสนั หลังจะนาคาสง่ั ผา่ นเซลล์ประสาทสัง่ การมายงั อวัยวะต่าง ๆ เพอื่ ตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ระบบสบื พันธุ์ ประกอบดว้ ยระบบสืบพนั ธุเ์ พศชายและระบบสบื พนั ธ์ุหญิง ทาหน้าทีใ่ นการสบื พันธุ์แบบ อาศัยเพศ ระบบสืบพันธ์ุเพศชายมีอัณฑะ ทาหน้าที่สร้างอสุจิซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ อสุจิท่ีสร้างข้ึนจะถูก ส่งไปเก็บท่ีหลอดเก็บอสุจิ เมื่อมีการหล่ังอสุจิ อสุจิจะเคล่ือนจากหลอดเก็บอสุจิไปตามหลอดนาอสุจิและจะ รวมกบั ของเหลวท่ีสร้างจากต่อมหลายชนิด รวมเรียกว่า น้าอสุจิซ่ึงจะเคลื่อนไปตามท่อปัสสาวะและหลั่งออกสู่ ภายนอกร่างกาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | รา่ งกายมนุษย์ 01154 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามสาคญั ระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง มีรังไข่ทาหน้าที่สร้างเซลล์ไข่ซ่ึงเป็นเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมีย เซลล์ไข่เม่ือพัฒนา เต็มท่ีจะหลุดออกจากรังไข่เข้าไปในท่อนาไข่ เรียกว่า การตกไข่ ซ่ึงถ้าเซลล์ไข่ได้รับการปฏสิ นธิกับอสุจิ จะเกิด เป็นไซโกตฝังตัวบรเิ วณด้านในของผนังมดลกู แต่ถ้าเซลล์ไข่ไม่ได้รับการปฏิสนธจิ ะสลายตัวไป และผนังด้านใน มดลูกรวมท้งั หลอดเลอื ดจะสลายตวั และหลุดลอกออกมา เรียกวา่ ประจาเดือน • นกั เรียนควรปฏิบัตติ นอย่างไรเพือ่ ใหร้ ะบบอวัยวะต่าง ๆ ทางานไดเ้ ป็นปกติ แนวคาตอบ ควรรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วน ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ พักผ่อนให้ เพียงพอ ทาจิตใจให้แจ่มใสอยู่เสมอ หลีกเล่ียงส่ิงท่ีทาให้เครียด ดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และเม่ือเจ็บปว่ ย ควรปรึกษาแพทย์ หลีกเล่ยี งและป้องกนั อนั ตรายทีจ่ ะเกดิ กับระบบอวยั วะ ฯลฯ 7. นักเรียนตรวจสอบตนเองด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ทาในบทเรียนนี้ อ่านสรุปท้ายบท และทา แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 8. ร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้ในหน่วยต่อไปว่า ร่างกายของ มนุษย์มีระบบต่าง ๆ ที่ทางานร่วมกันเพ่ือให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตและทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านัน้ ต้องอาศัยการเคลือ่ นไหวและการเคล่ือนท่ี การเคล่ือนทคี่ อื อะไร และเกย่ี วข้องกบั เรื่องของแรงอย่างไร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

155 หนว่ ยท่ี 3 | ร่างกายมนษุ ย์ คูม่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยกจิ กรรมและแบบฝึกหดั ของบทที่ 1 หนว่ ยท่ี 3 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | รา่ งกายมนษุ ย์ 01156 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 3.1 เซลล์เมด็ เลอื ดมลี ักษณะเป็นอยา่ งไร นักเรยี นจะได้เรยี นรู้เกยี่ วกบั ขนาด ปรมิ าณ และรปู ร่างลกั ษณะของเซลล์เม็ดเลอื ดแดงและเซลลเ์ มด็ เลือดขาว โดย ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงส่องดูเซลล์ จดุ ประสงค์ สังเกตและเปรียบเทยี บขนาด ปรมิ าณ และรูปร่างลักษณะของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดงและ เซลล์เม็ดเลือดขาวของมนษุ ย์ เวลาท่ีใชใ้ น 50 นาที การทากจิ กรรม วสั ดแุ ละอุปกรณ์ วสั ดุและอปุ กรณ์ที่ใชต้ ่อกลุม่ รายการ จานวน/กลมุ่ 1. กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สง 1 กลอ้ ง 2. สไลดถ์ าวรเลอื ดของมนษุ ย์ 1 แผ่น การเตรียมตวั -ไม่ม-ี ลว่ งหนา้ สาหรับครู ขอ้ เสนอแนะ -ไม่ม-ี ในการทากจิ กรรม • หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 1 สสวท. ส่อื การเรียนรู้/ แหลง่ เรียนรู้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

157 หน่วยที่ 3 | ร่างกายมนุษย์ คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตัวอยา่ งผลการทากจิ กรรม เซลล์เมด็ เลือดแดง เซลล์เม็ดเลอื ดขาว เฉลยคาถามท้ายกจิ กรรม 1. เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดงและเซลล์เมด็ เลือดขาวมขี นาดและปริมาณแตกต่างกันอยา่ งไร แนวคาตอบ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงมีขนาดเลก็ กว่าเซลล์เมด็ เลอื ดขาว แต่มีปรมิ าณมากกว่าเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว 2. รปู รา่ งลกั ษณะของเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงและเซลลเ์ ม็ดเลือดขาวเหมอื นหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร แนวคาตอบ เซลลเ์ ม็ดเลือดแดงมีรูปร่างกลม ตรงกลางเวา้ ไม่มีนวิ เคลยี ส สว่ นเซลล์เมด็ เลือดขาวมีรปู ร่างกลม และมีนวิ เคลียส 3. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ อย่างไร แนวคาตอบ เซลล์เม็ดเลือดแดงเปน็ เซลลท์ ี่มีรูปร่างกลม ตรงกลางเว้าเข้าหากัน และเป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลยี ส ส่วนเซลล์เม็ดเลอื ดขาวเปน็ เซลลท์ ี่มีรูปร่างกลมและมีนิวเคลยี ส ขนาดของเซลล์เม็ดเลอื ดแดงเล็กกว่าเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว นอกจากน้ปี รมิ าณของเซลล์เม็ดเลือดแดงมมี ากกวา่ เซลลเ์ มด็ เลือดขาว สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี