ข้อสอบนิติศาสตร์ พร้อมเฉลย pdf

ปีการศึกษา 2559กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กฎหมายสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญากฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบอำนาจรัฐกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กฎหมายภาษีอากรกฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (รัฐศาสตร์)กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป (รัฐศาสตร์)กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป (นิติศาสตร์)กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายการคลังและภาษีอากรของอค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกฎหมายอาเซียนกฎหมายมหาชนเบื้องต้นกฎหมายแรงงานหลักกฎหมายปกครองท้องถิ่นกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2หลักกฎหมายการคลังสาธารณะกฎหมายตั๋วเงินและตราสารเปลี่ยนมือกฎหมายลักษณะยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำประวัติศาสตร์กฎหมายกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1 (นิติศาสตร์)กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1 (รัฐศาสตร์)กฎหมายระหว่างประเทศแผนคดีเมืองกฎหมายลักษณะทรัพย์สินกฎหมายการค้าระหว่างประเทศกฎหมายลักษณะตัวแทน นายหน้าความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (รัฐศาสตร์)กฎหมายอาญา : ภาคความผิดกฎหมายลักษณะหุ้นส่วน บริษัทหลักกฎหมายปกครองกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2ทักษะการศึกษาวิชากฎหมายกฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการสัมมนานิติพัฒนบูรณาการศาสตร์กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการฟอกเงินกฎหมายลัษณะหนี้กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคระเบียบวิธีวิจัยทางสหวิทยาการกฎหมายลักษณะนิติกรรมสัญญาการว่าความและการจัดทำเอกสารทางกฎหมายกฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไปกฎหมายการค้าระหว่างประเทศกฎหมายเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกฎหมายเกี่ยวกับการสืบสวนและสอบสวนกฎหมายเกี่ยวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกฎหมายเกี่ยวกับที่ดินกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายที่มีโทษทางอาญาในชีวิตประจำวัน (นิติศาสตร์)กฎหมายผังเมืองและการควบคุมอาคารกฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจเบื้องต้นกฎหมายมหาชนเบื้องต้นกฎหมายระหว่างเทศแผนกคดีบุคคลกฎหมายลักษณะเช่าทรัพย์ เช่าซื้อ จ้างแรงงาน จ้างทำของกฎหมายลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้กฎหมายลักษณะฝากทรัพย์ เก็บของในคลังสินค้า รับขนประนีประนอมยอมความกฎหมายลักษณะพยาน (นิติศาสตร์)กฎหมายลักษณะพยาน (รัฐศาสตร์)กฎหมายลักษณะมรดกกฎหมายลักษณะยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำกฎหมายลักษณะล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานอกสั่งและลาภมิควรได้กฎหมายลักษณะหุ้นส่วน บริษัทกฎหมายว่าด้วยการควบคุมฝ่ายปกครองกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2 (นิติศาสตร์)กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2 (รัฐศาสตร์)กฎหมายศุลกากรกฎหมายอาญา ภาคความผิด (นิติศาสตร์)กฎหมายอาญา ภาคความผิด (รัฐศาสตร์)นิติปรัชญาภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมายระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรมระเบียบวิธีวิจัยทางสหวิทยาการวิชาชีพจรรณาบรรณและจริยธรรมของนักนิติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ข้อนี้ หลักกฎหมายที่สำคัญ คือ หลักกฎหมายข้อที่ 3 ที่ทำให้ความเป็นเจ้าของในล็อตเตอรี่นั่นโอนไปยังนายวันผู้ซื้อแล้วตั้งแต่ขณะที่นายวันและนายทู มีคำเสนอซื้อและสนองขายต้องตรงกัน

ดังนั้น การที่นายวันหยิบล็อตเตอรี่ที่ตัวเองเป็นเจ้าของแล้ว จึงไม่ได้เป็นการเอาของผู้อื่นไป อีกทั้งไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกง เพราะนายวันไม่ได้มีการพูดหลอกลวงนายทูแต่อย่างใด เพราะนายทูเป็นคนบอกให้หยิบไปเอง
ผู้อื่น แต่หลักกฎหมายข้อ ข. ไม่ได้ระบุคำว่า ผู้อื่น ไว้ เหมือนกับหลักกฎหมาย ข้อ ก. (หลักการทำข้อสอบคือ ยึดตามหลักกฎหมายที่ข้อสอบให้มา ไม่อิงตามหลักกฎหมายจริง)

ดังนั้น การที่นายโหน่งเผาหญ้าที่สนามหน้าบ้านตนเองและไม่ดูแลให้ดีปล่อยให้ลามไหม้บ้านของตนเอง จึงไม่มีความผิดวางเพลิงเผาทรัพย์ ตามหลักกฎหมาย ก. เพราะเป็นบ้านของตนเอง ไม่ใช่ของผู้อื่น

แต่มีความผิดทำให้เสียทรัพย์ได้ เนื่องจากหลักกฎหมาย ข. ไม่ได้ระบุคำว่า “ผู้อื่น” เหมือนกับหลักกฎหมาย ก. ดังนั้น เมื่อวินิจฉัย ข้อเท็จจริงกับหลักกฎหมายแล้ว ก็ครบองค์ประกอบทุกอย่างอันได้แก่
1. ผู้ใด = นายโหน่ง

2. ทำให้เสียหาย = ไฟไหม้

3.
ซึ่งทรัพย์ = บ้าน

และแม้นายโหน่งจะไม่มีเจตนาแต่หลักกฎหมายข้อ ค. ก็ระบุให้ประมาทเป็นความผิด ตามหลักกฎหมายข้อ ก. และ ข. ได้

• ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฏหมาย • กฎหมายลักษณะบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ เอกเทศสัญญา ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ทรัพย์ ครอบครัว มรดก

• อาญาทั่วไป ภาคความผิด เกี่ยวกับทรัพย์ ชีวิตร่างกาย

• กฎหมายพิเศษ เช่น วิธีพิจารณาแพ่งฯ อาญา พยาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาล กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นต้น

อ่านเพิ่มเติมฉบับเติมพร้อมคอร์สติวแนะนำสำหรับนักเรียน คลิกเลย

ก่อนที่จะตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษากันนั้น วันนี้เรามีเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) มาให้ได้ศึกษากันก่อนตัดสินใจด้วยนะ เป็นเรื่องน่ารู้พื้นฐานที่เราควรจะศึกษาเอาไว้ เผื่อเอาไว้ใช้การสอบสัมภาษณ์ได้ด้วยนะ หรือเป็นข้อมูลในการติดสินใจเข้าศึกษาในสถาบันแห่งนี้ ว่าแต่จะมีเรื่องอะไรบ้าง? ลองมาอ่านกันดูดีกว่า

12 ข้อน่ารู้ก่อนตัดสินใจ เรียนต่อที่เอแบค

1. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า เอแบค (ABAC) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล

2. ABAC ย่อมาจาก Assumption Business Administration College ซึ่งในตอนนั้นยังไม่ได้เป็นมหาวิทยาลัย แต่ภายหลังได้รับการรับรองจาก “ทบวงมหาวิทยาลัย” ในปี 1990 หลังจากนั้น ABAC ได้เปลี่ยนชื่อเป็น Assumption University หรือ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญอย่างเป็นทางการ แต่คนส่วนใหญ่ ก็ยังเรียกชื่อของ ม.อัสสัมชัญ ติดปากกันว่า “เอแบค” นั่นเอง (ที่เปลื่ยนเป็น Assumption University เพราะว่าเริ่มมีคณะต่างๆ มากมาย ซึ่งไม่สามารถใช้คำว่า college ได้แล้ว จึงต้องเปลื่ยนเป็น Assumption University ที่มีชื่อย่อว่า AU นั่นเอง)

3. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญประกอบด้วย 2 วิทยาเขตหลัก ได้แก่ วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร และวิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ นอกจากนี้ยังมี 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และศูนย์การศึกษา ACC : ACC Campus

4. ม.อัสสัมชัญ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไทย

5. ชื่อมหาวิทยาลัย “Assumption” หมายถึง เหตุการณ์ที่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ การทับศัพท์ในภาษาไทยว่า “อัสสัมชัญ” มีประวัติความเป็นมาและความหมายดังนี้ แรกเริ่มคุณพ่อกอลเบอต์ใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศส “Le Collège de L’Assomption” และใช้ชื่อภาษาไทยว่า “โรงเรียนอาซมซานกอเลิศ” (Assumption College) แต่ปรากฏว่าคนทั่วไปมักจะเรียกและเขียนชื่อโรงเรียนผิดเสมอ ดังนั้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2453 ภราดา ฟ. ฮีแลร์ (หนึ่งในห้าภราดาที่เดินทางมาช่วยรับช่วงดูแลโรงเรียนอัสสัมชัญต่อจากบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์) จึงได้มีหนังสือไปถึงกรมศึกษา กระทรวงธรรมการ ขอเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “อาศรมชัญ” ดังนั้นชื่อ “อัสสัมชัญ” จึงเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2453 เป็นต้นมา

6. คำว่า “อัสสัมชัญ” มีความหมายในภาษาไทยคือ “อัสสัม” เป็นคำบาลีมคธว่า “อัสสโม” แปลงเป็นไทยว่า “อาศรม” หมายถึง กุฏิทีถือศีลกินพรต ส่วนคำว่า “ชัญ” เมื่อแยกตามรากศัพท์เดิมเป็น “ช” แปลว่า เกิด และ “ญ” แปลว่า ญาณ, ความรู้ รวมคำได้ว่า ชัญ หมายถึง ที่สำหรับเกิดญาณความรู้ เมื่อรวมทั้งสองคำเข้าด้วย “อัสสัมชัญ” จึงแปลว่า ตำหนักที่สำหรับหาวิชาความรู้

7. แม่พระองค์แห่งปรีชาญาณ หรือ Sedes Sapientiae (The Seat of Wisdom) ถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัย โดยมีความหมายว่าพระนางมารีย์พรหมจารีเปรียบเสมือนมหาวิทยาลัย ที่คอยโอบอุ้มนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาเปรียบเสมอองค์พระกุมารเยซูที่ประทับนั่งอยู่บนตักของแม่พระ

8. ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือ ต้นอโศก (Ashoka Tree) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า พอลิแอลเธีย ลองจิโฟเลีย (Polyalthea longifolia) มีแหล่งกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เหตุผลที่เลือกต้นอโศกเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยดังนี้

  • เป็นต้นไม้ที่เขียวอยู่ตลอดเวลา แสดงถึงความสดชื่นร่มเย็น ความคงเส้นคงวาต่อความเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ หมายความว่า มหาวิทยาลัยจะมีความมุ่งมั่นที่จะบรรลุพันธกิจ ในการให้การศึกษาที่ดีเลิศ โดยไม่ย่อท่อต่ออุปสรรคใดๆ
  • เป็นต้นไม้ที่รูปทรงสวยงาม เหมือนสถูปเจดีย์
  • เป็นมงคลนาม หมายถึง ไม่มีความทุกข์ความโศก และยังเป็นชื่อของกษัตย์อินเดียผู้ยิ่งใหญ่คือ พระเจ้าอโศกมหาราช ที่สร้างอาณาจักรที่เกรียงไกรให้กับอินเดีย และทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญสูงสุดในยุคนั้น
  • เป็นต้นไม้ที่นำจากอินเดียสู่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยมูลนิธิภราดาคณะเซนต์คาเบรียล โดยนำมาปลูกพร้อมกันครั้งแรกที่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล และกรมป่าไม้

9. ที่ทางเข้ามหาวิทยาลัยจะมีหินสีทองก้อนใหญ่วางอยู่ มีตัวอักษรตรงกลางเขียนว่า Au ซึ่งเป็นชื่อทางเคมีของทองคำ

10. ตึก CL จะมีภาพเขียนสีน้ำมันตรงเพดาน ส่วนใหญ่เขียนเกี่ยวกับเรื่องสวรรค์และพระเจ้า แต่ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นพี่หนุ่ม-ศรราม และพี่แหม่ม-แคทลียา อยู่บนนั้นด้วยนะ