โครงการพระราชดําริ ร.9 เกี่ยวกับการเกษตร

          นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น อันหาที่สุดมิได้ที่ในหลวง รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงห่วงใยความเป็นอยู่ของประชาชนอยู่เสมอ เราจึงได้เห็นโครงการในพระราชดำรินับพันโครงการ ซึ่งส่วนหนึ่งก็เป็นโครงการพระราชดำริด้านการสร้างอาชีพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของพสกนิกรชาวไทยให้มีความกินดี อยู่ดีเหมือนดังเช่นทุกวันนี้

          พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้มีพระราชดำริให้มูลนิธิชัยพัฒนาดำเนินการวิจัย และพัฒนากังหันน้ำชัยพัฒนาขึ้น เพื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการเติมอากาศ ทำให้น้ำเสียกลายเป็นน้ำดี และสามารถประยุกต์ใช้ในการอุปโภคบริโภคของประชาชน น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และเพิ่มออกซิเจนให้บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทางการเกษตร

        จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้พระราชทานพระราชดำริให้สร้างอ่างเก็บน้ำเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ เพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง เดือดร้อนของราษฎรและ
สร้างเสร็จ ใช้ประโยชน์ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ นับเป็นโครงการพระราชดำริทางด้านชลประทานแห่งแรกของพระองค์

ลักษณะโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 

๑) โครงการตามพระราชประสงค์
        หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข
ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี
ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงโปรดเกล้าฯให้รัฐบาลเข้ามารับงานต่อภายหลัง

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๑) โครงการตามพระราชประสงค์
        หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข
ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี
ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงโปรดเกล้าฯให้รัฐบาลเข้ามารับงานต่อภายหลัง

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น

ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

โครงการในพระราชดําริ ร.9 มีกี่โครงการ

26 โครงการหลวง รัชกาลที่ 9.

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการเกษตรมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญที่สุดอย่างไร

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในด้านการพัฒนาการเกษตรที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ ได้ส่งผลโดยตรงต่อความกินดีอยู่ดีของเกษตรกรเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโครงการที่มุ่งแก้ปัญหาหลักด้านการพัฒนาการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้เกษตรกรได้มีโอกาสเช่นนี้มาก่อน รวมทั้งยังได้มีโอกาสเรียนรู้และเห็นตัวอย่างของความสำเร็จของการผลิตใน ...

โครงการตามพระราชดําริ มีอะไรบ้าง

โครงการในพระราชดำริในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่หลายคนอาจยังไม่เคยรู้จัก.
โครงการแกล้งดิน “… ... .
โครงการพัฒนาพื้นที่พรุแฆแฆ ... .
โครงการชั่งหัวมัน ... .
โครงการแก้มลิง ... .
โครงการหญ้าแฝก ... .
โครงการฝายชะลอน้ำ ... .
โครงการฝนหลวง.