แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8

ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 13 ซึ่งมี 13 หมุดหมายการพัฒนา เช่น ไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าสำคัญของโลก และหลังจากนี้จะเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภา

ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่13 (2566-2570) ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) ตามที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอเมื่อวันที่ 3 พ.ค.2565 และ ครม.มอบหมายให้ สศช.นำเสนอร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เสนอต่อ “รัฐสภา” เพื่อทราบก่อนมีการประกาศใช้

Show

สำหรับร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ถือเป็นแผนระดับที่ 2 ซึ่งเป็นกลไกที่สำคัญในการแปลงยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติและกำหนดทิศทางการพัฒนาที่ประเทศควรมุ่งเน้นในระยะ 5 ปีถัดไปคือปี 2566-2570 

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีเป้าหมายที่จะทำให้ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได้มีการออกแบบแผนนี้มาจากฐานคิดรวม 4 ประการ 

1.เศรษฐกิจพอเพียง 2.ความสามารถในการที่จะล้มแล้วลุกให้ไว เดินไปข้างหน้าให้ได้ 3.เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ และ 4.การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนวียน เศรษฐกิจสีเขียว

ทั้งนี้ เป้าหมายหลักของแผนฯ ฉบับที่ 13 ได้กำหนดหลัก 5 ประการ 1.การปรับโครงสร้างการผลิตสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม 2.การพัฒนาคนสู่โลกยุคใหม่ 3.การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม 4.การเปลี่ยนผ่านการผลิตและการบริโภคไปสู่ความยั่งยืน และ 5.การเสริมสร้างความสามารถของไทยในการรับมือกับความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลงภายใต้โรคอุบัติใหม่ 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
นอกจากนี้ รายละเอียดของ 13 หมุดหมาย ได้ตั้งเป้าให้มีการพัฒนาใน 4 มิติ 

1.การบริการ โอกาสและความสามารถ 2. ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม 3.ความยั่งยืนของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ 4.การผลักดันและพลิกโฉมประเทศ 

รวมทั้งมีการสั่งการให้รัฐมนตรี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำหมุดหมายของแผนฉบับที่13 ไปพิจารณา แบ่งเป็นแผนปฏิบัติการในระดับต่างๆเพื่อขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ พลิกโฉมเป็นประเทศที่มีการพัฒนาสูงขึ้น ยกระดับจากประเทศรายได้ปานกลาง ไม่ใช่เรื่องที่ง่าย แต่ไม่ใช่เรื่องที่เราจะทำไม่ได้ ถ้าทุกคนร่วมมือกันโดยลดความขัดแย่งระหว่างกันให้มากที่สุด 

“นี่คือแนวทางในการบริหารประเทศต้องเป็นแบบนี้ เพราะทุกคนเกี่ยวพันกันไปหมด เราต้องหาปัญหาให้เจอและหาวิธีการ วางแผนงาน ค่าใช้จ่าย งบประมาณต่างๆให้พอเพียงไปด้วย เราก็ตั้งเป้าว่าจะทำยังไงจากแผนฉบับนี้ ทำให้รายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ที่ 3 แสนบาทต่อคน ต้องพยายามอย่างยิ่งยวด แต่ขีดความสามารถของคนทั้ง 8ด้าน อยู่ในระดับสูง ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และรับมือกับความเปลี่ยนแปลงได้ในระดับที่สูง” พล.อ.ประยุทธ์ กล่าว

น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จะนำมาใช้ในปี 2566-2570 มีเป้าหมายเพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ 

สำหรับสาระสำคัญของร่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีหลายส่วนประกอบกัน เช่น หลักการและแนวคิด 4 ประการคือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างความสามารถในการ “ล้มแล้วลุกไว” เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ 

รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG) โดยมีวัตถุประสงค์ คือ พลิกโฉมประเทศไทยสู่ “สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน”

ขณะที่เป้าหมายหลักของการพัฒนามี 5 ประการ ได้แก่ 

1.การปรับโครงสร้างการผลิตสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม 2.การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม่ 3.การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรมการเปลี่ยนผ่านการผลิตและบริโภคไปสู่ความยั่งยืน และการเสริมสร้างความสามารถของประเทศในการรับมือกับความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลงภายใต้บริบทโลกใหม่ 

โดยมีตัวชี้วัดที่สำคัญได้แก่ 1.รายได้ประชาชาติต่อหัวเท่ากับ 9,300 ดอลลาร์ หรือประมาณ 300,000 บาท โดยปี 2564 รายได้ประชาชาติต่อหัวเท่ากับ 7,097 ดอลลาร์ หรือประมาณ 227,000 บาท

2.ดัชนีความก้าวหน้าของคนอยู่ในระดับสูง เท่ากับ 0.7209 โดยปี 2563 อยู่ที่ 0.6501

3.ความแตกต่างของความเป็นอยู่หรือรายจ่าย ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสูงสุด 10% และต่ำสุด 40% ในประเทศมีค่าต่ำกว่า 5 เท่า โดยปี 2562 มีค่าเท่ากับ 5.66 เท่า

4.ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมลดลงไม่น้อยกว่า 20% เมื่อเทียบเคียงกับปริมาณก๊าซเรือนกระจกปกติที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยปี 2561การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานลดลง16%

รัฐสภา ไฟเขียว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 เตรียมประกาศใช้ในวันที่ 1 ตุลาคม 2565 พัฒนาประเทศในช่วง 5 ปี ตั้งแต่ปี 2566 – 2570 เป้าหมายดันรายได้ต่อหัวคนไทยแตะ 300,000 บาท ลดความเหลื่อมล้ำให้แคบลงกว่าเดิม

นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เปิดเผยว่า รัฐสภาได้มีมติรับทราบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) แล้ว เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา โดยหลังจากนี้จะเป็นขั้นตอนการนำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อลงพระปรมาภิไธย และประกาศใช้ในวันที่ 1 ตุลาคม 2565 ต่อไป

 

สำหรับ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ถือเป็นแผนระดับที่ 2 ตามแผนกำหนดให้เป็นกลไกที่สำคัญในการแปลงยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติและกำหนดทิศทางการพัฒนาที่ประเทศควรมุ่งเน้นในระยะ 5 ปีถัดไปคือปี 2566 – 2570 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8

 

เพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ มีสาระสำคัญผ่านหลักการและแนวคิด 4 ประการคือ 

  1. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  2. การสร้างความสามารถในการ ล้มแล้ว ลุกไว
  3. เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ 
  4. การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (BCG) 

 

ขณะที่เป้าหมายหลักของการพัฒนามี 5 ประการ มีดังนี้

  1. การปรับโครงสร้างการผลิตสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม
  2. การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม่
  3. การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม
  4. การเปลี่ยนผ่านการผลิตและบริโภคไปสู่ความยั่งยืน 
  5. การเสริมสร้างความสามารถของประเทศในการรับมือกับความเสี่ยงและการเปลี่ยนแปลงภายใต้บริบทโลกใหม่ 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8

 

ทั้งนี้ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ได้กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ ดังนี้

  • รายได้ประชาชาติต่อหัวเท่ากับ 9,300 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 300,000 บาท โดยปี 2564 รายได้ประชาชาติต่อหัวเท่ากับ 7,097 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 227,000 บาท
  • ดัชนีความก้าวหน้าของคนอยู่ในระดับสูง เท่ากับ 0.7209  โดยปี 2563 อยู่ที่ 0.6501
  • ความแตกต่างของความเป็นอยู่หรือรายจ่าย ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสูงสุดร้อยละ 10 และต่ำสุดร้อยละ 40  มีค่าต่ำกว่า 5 เท่า โดยปี 2562 มีค่าเท่ากับ 5.66 เท่า
  • ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยรวมลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 เมื่อเทียบเคียงกับปริมาณก๊าซเรือนกระจกปกติที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยปี 2561การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานลดลงร้อยละ 16 

 

สำหรับในแนวทางการผลักดันให้การขับเคลื่อนแผนเป็นไปตามเป้าหมาย สศช. กำหนดหมุดหมาย หรือแนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ไว้ทั้งหมด 13 หมุดหมาย จำแนกออกเป็น 4 มิติ ดังนี้ 

 

1.มิติภาคการผลิตและบริการเป้าหมาย จำนวน 6 หมุดหมาย ได้แก่ 

  • ไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
  • ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน
  • ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่สำคัญของโลก
  • ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง
  • ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สำคัญของภูมิภาค 
  • ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยและอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน

 

2.มิติโอกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม มี 3 หมุดหมาย ได้แก่ 

  • ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูงและสามารถแข่งขันได้
  • ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน และไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง 
  • คนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม 

 

3.มิติความยั่งยืน ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี 2 หมุดหมาย ได้แก่ 

  • ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ และไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 
  • มิติปัจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ มี 2 หมุดหมาย ได้แก่ ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต และไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน

 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8


นายดนุชา กล่าวว่า เพื่อให้การขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สศช. จึงกำหนดจัดประชุมประจำปี 2565 รูปแบบออนไลน์ “พลิกโฉมประเทศไทย ก้าวไปด้วยกัน” ในวันที่ 23 กันยายน 2565 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาประเทศภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ที่ต้องการจะสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างเพื่อแก้ไขจุดอ่อนและข้อจำกัดที่มีอยู่ในปัจจุบัน 

 

พร้อมกับยกระดับขีดความสามารถเพื่อสร้างสรรค์โอกาสจากบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งหวังที่จะนำพาประเทศไทยไปสู่ประเทศที่มีสังคมก้าวหน้า และเศรษฐกิจที่สร้างมูลค่าได้อย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นภาพอนาคตที่ทุกคนอยากเห็นและอยากให้เกิดขึ้น สะท้อนผ่านแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 คืออะไร

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 พ.ศ.2540-2544. แนวคิดและลักษณะของแผน ปรับแนวคิดการพัฒนาจากเดิมที่เน้นเศรษฐกิจ มาเป็นการเน้นคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา เป็นการวางแผนจากเบื้องล่างสู่เบื้องบน เปิด โอกาสให้คนไทยทุกสาขาอาชีพและทุกภูมิภาค เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและกำหนดทิศทาง การพัฒนาประเทศตั้งแต่เริ่มการจัดทำแผน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 มีความแตกต่างด้านแนวคิดการพัฒนาจากแผนพัฒนาฉบับที่มันผ่านมาอย่างไร

แผนพัฒนาฉบับที่ ๘ จึงได้ปรับเปลี่ยนแนวคิดการพัฒนา จากเดิมที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นจุดมุ่งหมายหลัก แต่เพียงอย่างเดียว เป็น การเน้นให้คนเป็น ศูนย์กลาง หรือเป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนา เพราะคนเท่า นั้น ที่เป็นปัจจัยชี้ขาด ถึงความสำเร็จของการพัฒนา ในทุกเรื่อง โดยการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมืออย่างหนึ่ง ที่จะช่วย ...

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ให้ความสำคัญในเรื่องใดมากที่สุด

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ในแผนนี้ กำหนดให้ คนเป็นจุดหมายหลักของการพัฒนา เน้นเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) เน้นการวางแผนพัฒนาแบบองค์รวม หรือบูรณาการระหว่างเศรษฐกิจกับสังคมเข้าด้วยกัน มุ่งเน้นความเป็นไทย และสามารถแข่งขันในเวทีโลกได้

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับใดที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการพัฒนาสังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ

7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)สาระสำคัญ มีดังนี้ (1) เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน และสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจควบคู่กับสังคม (2) เน้นรักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมให้เติบโตอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ โดยพัฒนาการผลิตทั้งภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการส่งออก

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 คืออะไร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 มีความแตกต่างด้านแนวคิดการพัฒนาจากแผนพัฒนาฉบับที่มันผ่านมาอย่างไร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ให้ความสำคัญในเรื่องใดมากที่สุด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับใดที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการพัฒนาสังคมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 แผนพัฒนา ฉบับที่ 9 สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10