ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

Tìm và lấy những gì bạn muốn!


Không tìm thấy dữ liệu nào có liên quan đến "ยื่น อุทธรณ์ ประกัน สังคม มาตรา 39 ออนไลน์【JAV88.TV】Watch AV"

Văn bản mới

TÀI LIỆU

Một số nghị quyết, chỉ thị mới của Trung ương, Tỉnh uỷ phục vụ công tác phổ biến, quán triệt (LẦN 1)

Lượt xem:130 | lượt tải:245

HƯỚNG DẪN

Tuyên truyền an ninh môi trường phục vụ phát triển bền vững đất nước

Lượt xem:331 | lượt tải:109

ĐỀ CƯƠNG

tuyên truyền kỷ niệm 50 năm Chiến thắng "Hà Nội - Điện Biên Phủ trên không"

Lượt xem:400 | lượt tải:159

ĐỀ CƯƠNG

Tuyên truyền kỷ niệm 70 năm Chiến thắng Tây Bắc 1952

Lượt xem:81 | lượt tải:49

CV.1296.BTGTU

về tuyên truyền một số nhiệm vụ trọng tâm quý IV-2022

Lượt xem:249 | lượt tải:70

ĐỀ CƯƠNG

Tuyên truyền kỷ niệm 70 năm Ngày truyền thống Ngành Xuất bản In và Phát hành sách

Lượt xem:711 | lượt tải:293

TÀI LIỆU

Hướng dẫn và Đề cương tuyên truyền kỷ niệm 120 năm Ngày sinh đồng chí Võ Văn Ngân - lãnh đạo tiền bối tiêu biểu của Đảng và cách mạng Việt Nam

Lượt xem:1670 | lượt tải:692

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

Video

Thống kê

  • Đang truy cập51
  • Máy chủ tìm kiếm8
  • Khách viếng thăm43
  • Hôm nay11,433
  • Tháng hiện tại484,046
  • Tổng lượt truy cập19,054,117

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์

TRANG THÔNG TIN ĐIỆN TỬ BAN TUYÊN GIÁO TỈNH ỦY KON TUM
Giấy phép số: Giấy phép số 01/GP-TTĐT, ngày 28 tháng 8 năm 2020
Chịu trách nhiệm: Ông Huỳnh Quốc Huy, Ủy viên Ban Thường vụ, Trưởng Ban Tuyên giáo Tỉnh ủy
Địa chỉ: 236 Bà Triệu, P. Thắng Lợi, Tp. Kon Tum
Điện thoại: 0260.3862301
Fax: 0260. 3865464
Email:
Website: http://https://tuyengiaokontum.org.vn/

ประกันสังคม แนะวิธีป้องกันการขาดสิทธิ์ผู้ประกันตนมาตรา 39 พร้อมเผยสาเหตุหลักของการสิ้นสภาพ


18/05/2565 | 1,009 |

นางนิยดา เสนีย์มโนมัย ผู้อำนวยการสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 9 กล่าวว่า ผู้ประกันตนมาตรา 39 ก็คือเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจที่จะส่งเงินสมทบ เมื่อออกจากการเป็นผู้ประกันมาตรา 33 ที่ทำงานมีนายจ้าง แต่ต้องการใช้สิทธิประกันสังคมต่อจึงสมัครใจเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 หน้าที่ในการนำส่งเงินสมทบเป็นของผู้ประกันตนเอง ไม่ใช่นายจ้าง แต่มักพบว่า ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะถูกตัดสิทธิบ่อย เนื่องจากขาดการนำส่งเงินสมทบ โดยเหตุแห่งการสิ้นสภาพของผู้ประกันตนมาตรา 39 มี 5 กรณีคือ เสียชีวิต ลาออก กลับเข้าเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 ขาดส่งเงินสมทบติดต่อกัน 3 เดือนติดต่อกัน และหากนับเดือนปัจจุบันย้อนไป 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน ซึ่ง 2 กรณีหลังมีค่อนข้างมาก ทำให้สิ้นสภาพความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39

ส่วนวิธีป้องกันการลืมนำส่งสมทบ เพื่อไม่ให้เสียสิทธิ์ ผู้ประกันตนมาตรา 39 สามารถสมัครนำส่งเงินสมทบโดยหักผ่านบัญชีธนาคาร หรือสามารถลงทะเบียนเข้าสู่ระบบทาง Line สำนักงานประกันสังคม เพื่อรับการแจ้งเตือนกรณีค้างชำระการนำส่งเงินสมทบมาตรา 39 และสามารถตรวจสอบเงินสมทบมาตรา 39 ได้ที่สายด่วน 1506 หรือโทรสอบถามที่สำนักงานประกันสังคมจังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่ทุกแห่ง

ส่วนกรณีที่ถูกตัดสิทธิ์การเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 แล้ว แต่อยากกลับมาเป็นผู้ประกันตนอีกครั้ง ในเรื่องนี้ ผู้อำนวยการสำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 9 กล่าวว่า เมื่อผู้ประกันตนขาดส่งเงินสมทบติดต่อกัน 3 เดือน ประกันสังคมจะมีหนังสือแจ้งการสิ้นสภาพความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ไปยังผู้ประกันตน ซึ่งสามารถยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับหนังสือ พร้อมแสดงหลักฐานการจ่ายเงินสมทบประกอบการอุทธรณ์ ส่วนอีกวิธีที่จะกลับมาเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ก็คือต้องกลับไปเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 ก็คือทำงานมีนายจ้าง และเมื่อลาออกจากงานสามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ได้ ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่ลาออกจากงาน

สำหรับวิธีการแจ้งความประสงค์หักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร สามารถดาวโหลดแบบฟอร์ม หนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารได้ที่ เว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th กรอกข้อมูลพร้อมแนบสำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร นำส่งสำนักงานประกันสังคมใกล้บ้าน โดยมีธนาคารที่เข้าร่วมการหักเงินสมทบผ่านบัญชีธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ,ธนาคารกรุงไทย ,ธนาคารกสิกรไทย, ธนาคารทหารไทยธนชาต , ธนาคารไทยพาณิชย์ ,ธนาคารกรุงเทพ ทั้งนี้ ธนาคารไทยพาณิชย์เพียงธนาคารเดียว ที่ผู้ประกันตนต้องนำแบบฟอร์มหนังสือยินยอมให้หักผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารที่ดาวน์โหลดจากสำนักงานประกันสังคมไปติดต่อธนาคารแล้วจึงนำส่งกลับมาที่ประกันสังคม

ที่มา  https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG220517203313315


ยื่นอุทธรณ์ ประกันสังคม มาตรา 39ออนไลน์