ข้อสอบ วิชา อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย ป ว ช

8.มีอาการไข้นำมาก่อน ต่อมามีเยื่อบุหนังตาอักเสบ มีอาการคล้ายเป็นหวัด หลอดลมอักเสบและมีจุดสีแดงที่เยื่อบุแก้ม หลังจากมีไข้ประมาณ 3-7 วัน  จะมีผื่นปรากฎที่บริเวณหน้า ต่อมาผื่นจะปรากฏทั้งตัวอยู่นาน 4-6 วัน  แล้วจะลอกออกไป ปรากฎเป็นสีแดงคล้ำอยู่หลายวัน เป็นโรคอะไร

1. ไข้หัด

2.ไข้หัดเยอรมัน

3. ไข้รากสาด

4. ไข้เหลือง

ตอบ  ข้อ 1.

9. โรคติดต่อใดที่กรมอนามัยโลกได้กำหนดให้ประเทศหรือเขตดินแดนติดต่อโรคดังกล่าว ต้องมีความแจ้งข่าวเมื่อมีการเกิดระบาดหรือเป็นโรคประจำท้องถิ่น

1. ไข้หัด

2.ไข้หัดเยอรมัน

3. ไข้รากสาด

4. ไข้เหลือง

ตอบ  ข้อ 4.

10. . การป้องกันบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการปฏิบัติงานสารเคมี คือ ข้อใด

1.    ไม่ควรให้ผู้ดื่มสุราหรือของมึนเมาปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมี 

2.    เจ้าของสวนส้มควรส่งพนักงานผู้รับผิดชอบในการปฐมพยาบาล

3.    คนงานที่ฉีดพ่นสารเคมีต้องสวมเสื้อผ้า หมวก ถุงมือ

4.    มีระบบประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรักษา

ตอบ ข้อ 1.

11. เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากประเทศใดเป็นหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญด้านการป้องกัน ควบคุมและการรักษาพยาบาลด้านโรคจากการประกอบอาชีพโดยเฉพาะโรคพิษสารเคมี

1. สิงคโปร์

2. จีน

3. ญี่ปุ่น

4. เกาหลี

ตอบ ข้อ 2.

12. ในพื้นที่มาบตาพุด พร้อมเก็บพิกัดทางภูมิศาสตร์ พบว่า ประชาชนที่อยู่ในชุมชนดังกล่าวอยู่ในภาวะที่เสี่ยงภัยสุขภาพต่อสารใด ซึ่งมาจากอุตสาหกรรม การจราจรและการขนส่ง

1. สารกัมมันตรังสี

2.ควันพิษจากโรงงาน

3. สารเบนซีน

4. สารตะกั๋ว

ตอบ ข้อ 3.

13.จำนวนประชากรของประเทศ ปี 2550 มี 71 ล้านคน ประกอบไปด้วยผู้มีงานทำร้อยละเท่าไร

1. ร้อยละ 50

2. ร้อยละ 53

3. ร้อยละ 60

4. ร้อยละ 63

ตอบ ข้อ 2.

14. ข้อใดไม่ใช่เงื่อนไขการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

1. ขนาดของปัญหา

2. ความรุนแรงของปัญหา

3. ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา

4.การมีส่วนร่วมของหน่วยงานเฉพาะภาครัฐเท่านั้น

ตอบ ข้อ 4.

15.ในภาคเกษตรกรรม โรคใดเป็นอันดับ 1 ของโรคประกอบวิชาชีพเกษตรกรรม

1. สารก่อโรคภูมิแพ้

2. โรคพยาธิใบไม้

3. สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

4. โรคไข้มาลาเลีย

ตอบ ข้อ 3.

16.จากภาคเกษตรกรรม ผู้เสี่ยงและไม่ปลอดภัยจากการใช้สารเคมีใด มีถึงร้อยละ 29.4

1. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์

2. สารตะกั่ว

3. สารออร์กาโนฟอสเฟต

4. สารหนูปนปรอท

ตอบ ข้อ 3.

17. ผลกระทบต่อสุขภาพสิ่งแวดล้อม ที่กำลังเป็นปัญหา คือข้อต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด

1. สารเคมีรั่วไหลที่คลองเตย มีผู้เสี่ยง  105  ราย

2. การปนเปื้อนสารตะกั่วที่ห้วยคลิตี้ จ.กาญจนบุรี ผู้เสี่ยง 5,000 ราย

3. การปนเปื้อนของแคดเมียม จ.ลำปาง ผู้เสี่ยง   6,802  ราย

4. สารหนูปนเปื้อน จ.นครศรีธรรมราช ผู้เสี่ยง 28,000 ราย

ตอบ ข้อ 3. แคมเมียมอยู่จ. ตาก

18.ในภาคอุตสาหรรมและภาคบริการ มีผู้ทำงานร้อยละเท่าไรของประเทศ

1. ร้อยละ 50

2. ร้อยละ  53

3. ร้อยละ 57

4. ร้อยละ 60

ตอบ ข้อ 3.

19.ในภาคอุตสาหกรรม กลุ่มเป้าหมายในการเกิดการเสี่ยงในการประกอบอาชีพในสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก คือข้อใด

1.  ฝุ่นหินดินทราย และสารตะกั่ว

2. สารตะกั่ว สารปรอท และเสียงดัง

3. สารตะกั่ว และสารโคบอลต์

4. ฝุ่นหิน ดินทราย สารตะกั่ว และเสียงดัง

ตอบ ข้อ 4.

20.ในภาคบริการ กลุ่มเป้าหมายในการเกิดการเสี่ยงสำคัญในการให้บริการคือข้อใด

1. เจ้าหน้าที่แพทย์และสาธารสุข

2. ผู้ให้บริการตามสถานที่บันเทิง

3. ผู้ให้บริการนวดแผนไทย

4.  ผู้ให้บริการร้านอาหาร โรงแรม

ตอบ ข้อ 1.

21. สารติดเชื้อจากสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย เป็นปัญหาต่อสิ่งคุกคามสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลด้านใด

1. ด้านชีวภาพ

2. ด้านกายภาพ

3. ด้านเคมี

4. ด้านจิตสังคม

ตอบ ข้อ 1.

22. เสียง แสงสว่าง ความร้อน การสั่นสะเทือน ฝุ่น เป็นปัญหาต่อสิ่งคุกคามสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลด้านใด

เฉลยอาชวี อนามยั และความปลอดภัย

หนว ยที่ 1 ................................................................ 2
หนว ยท่ี 2 ................................................................ 9
หนวยท่ี 3 ................................................................ 16
หนวยท่ี 4 ................................................................ 21
หนว ยท่ี 5 ................................................................ 27
หนว ยที่ 6 ................................................................ 31
หนว ยที่ 7 ................................................................ 36
หนว ยที่ 8 ................................................................ 40
หนวยที่ 9 ................................................................ 44
หนว ยที่ 10 .............................................................. 49

2 1

แบบประเมินผลการเรียนรูหนว ยที่

ตอนที่ 1 จงเลือกคาำ ตอบทถี่ กู ตอ้ งทสี่ ุดเพียงขอ้ เดียว

1. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ “อาชีวอนามัย” ได้ถูกต้องท่ีสุด
ข. การดูแลสขุ ภาพอนามยั ของผ้ปู ระกอบอาชีพ

2. การจดั กจิ กรรมการออกกาำ ลงั กายเพอ่ื ใหค้ นงานไดค้ ลายเครยี ดพรอ้ มกบั ใหม้ สี ขุ ภาพทแ่ี ขง็ แรง จดั เปน็ งาน
อาชวี อนามยั ขอ้ ใด

ก. งานส่งเสริม
3. งานอาชีวอนามัยดา้ น “งานปกป้องคุม้ ครอง” สอดคล้องกบั ข้อใด

ข. ให้คนงานสวมเครอื่ งป้องกันอนั ตรายสว่ นบคุ คลเสมอ
4. ข้อใดเปน็ อบุ ตั เิ หตใุ นการทำางาน

ค. คนงานได้รบั บาดเจ็บจากเคร่อื งจักรที่เสอ่ื มสภาพ
5. บุคคลใดเสย่ี งต่อการเกิดอบุ ัตเิ หตุจากการทำางานมากที่สุด

ง. นงนชุ ทาำ งานด้วยความเหม่อลอยเนอื่ งจากมีปญั หาทางบ้าน
6. การปอ้ งกันไม่ให้เกิดอบุ ตั เิ หตแุ ก่คนงาน องค์กรควรปฏบิ ัตติ ามขอ้ ใด
ค. ชใี้ ห้คนงานเห็นถงึ สาเหตุที่จะทาำ ให้เกดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการทำางาน
7. สภาพแวดลอ้ มในการทาำ งานขอ้ ใดเหมาะสมทส่ี ุด

ค. จดั ห้องทาำ งานใหม้ ีอากาศถ่ายเทสะดวก
8. การจัดเก็บสารเคม ี หรอื วตั ถุมีพิษควรกระทาำ ตามขอ้ ใด

ก. เกบ็ อยา่ งมิดชดิ และถกู วธิ ี
9. ข้อใดส่งผลให้เกดิ ความไม่ปลอดภยั ในการทำางานได้

ข. เรง่ ให้คนงานผลติ สนิ ค้าใหม้ ากท่ีสดุ ในเวลาจาำ กดั
10. เม่อื คนงานไดร้ บั อุบัตเิ หตุจากการทำางานจะส่งผลกระทบตอ่ ข้อใดมากท่สี ุด

ก. คนงานทีป่ ระสบอุบตั เิ หตเุ อง
11. ขอ้ ใดเป็นการจดั การเกยี่ วกบั ความปลอดภัยของคนงานเพอ่ื ไมใ่ หเ้ กิดผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ

ข. ทาำ ประกนั และจา่ ยคา่ ทดแทนแกค่ นงานทป่ี ระสบอุบตั ิเหตุในการทาำ งาน
12. การดูแลคนงานใหม้ ีความปลอดภยั ในการทำางานกอ่ ใหเ้ กิดผลดดี ้านเศรษฐกจิ ต่อองคก์ รตามขอ้ ใด
ก. คนงานทาำ งานมปี ระสทิ ธิภาพและสรา้ งผลผลติ ไดม้ าก
13. ด้านความปลอดภยั ในการทำางาน องคก์ รสามารถสร้างความรกั ในองคก์ รใหเ้ กดิ แก่คนงานไดต้ ามขอ้ ใด

ข. จัดการดา้ นความปลอดภัยของคนงานอยา่ งถูกตอ้ งตามมาตรฐาน

3
14. เก่ียวกับการส่งเสริมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานองค์กรสามารถสร้างความตระหนักแก่คนงานตาม
ขอ้ ใดได้ผลดีทส่ี ดุ
ค. ยกตัวอย่างอุบัตเิ หตทุ เ่ี คยเกดิ ขนึ้ เพราะการมองข้ามความปลอดภยั ให้คนงานได้ทราบ
15. ขา่ วสารขอ้ ใดทำ�ใหผ้ ู้ปฏิบตั งิ านเหน็ ถงึ ความส�ำ คัญของความปลอดภยั ในการทำ�งานได้มากทสี่ ดุ
ง. การน่งั ท�ำ งานผดิ ทา่ ทำ�ใหเ้ กดิ โรคปวดหลงั เรอ้ื รงั
16. องค์กรสามารถสง่ เสรมิ ความปลอดภัยในองคก์ รใหป้ ระสบความส�ำ เร็จตามข้อใด
ก. ท�ำ กิจกรรมรณรงค์ดา้ นความปลอดภยั ในการท�ำ งาน
17. หากตอ้ งการกระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านรกั ษาความสะอาด เกบ็ อปุ กรณเ์ ขา้ ทอ่ี ยา่ งเปน็ ระเบยี บ ควรจดั กจิ กรรม
ขอ้ ใด
ข. กจิ กรรม 5 ส.
18. กจิ กรรมส่งเสรมิ ความปลอดภยั ขอ้ ใดท่ผี ้ปู ฏิบัติงานมีส่วนร่วมมากท่ีสุด
ข. การประกวดค�ำ ขวัญความปลอดภยั
19. การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านชว่ ยใหผ้ ลผลิตเพิม่ ข้นึ สอดคล้องกับขอ้ ใด
ค. เมอื่ มคี วามปลอดภยั ในการท�ำ งานชว่ ยใหค้ นงานเกดิ ขวญั และก�ำ ลงั ใจทดี่ ี การท�ำ งานมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากขึ้น
20. เม่ือแต่ละองค์กรให้ความสำ�คัญด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ทำ�ให้จำ�นวนอุบัติเหตุลดน้อยลง
จะส่งผลดตี อ่ ประเทศตามข้อใด
ข. นักลงทุนตา่ งชาติเกิดความเชือ่ ม่ันและเขา้ มาลงทนุ มากขึน้

ตอนท่ี 2 จงตอบค�ำ ถามต่อไปนี้

1. จงอธบิ ายความหมายของอาชีวอนามยั
งานทเ่ี ก่ียวกบั การสง่ เสริม ควบคมุ ดูแล ปอ้ งกนั โรค ปอ้ งกันอุบัติเหตุ ด�ำ รงรักษาสขุ ภาพอนามยั ของ
ผปู้ ระกอบอาชีพใหม้ คี วามปลอดภยั มสี ภาพรา่ งกายและจติ ใจท่ีสมบรู ณ์
2. จงอธิบายรายละเอียดขอบข่ายลักษณะงานอาชีวอนามัยตามข้อกำ�หนดขององค์การอนามัยโลกและ
องคก์ ารแรงงานระหว่างประเทศ
1. งานส่งเสริม (Promotion) เป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพกาย
และสุขภาพจติ ใจท่แี ขง็ แรง ตลอดจนมคี วามเปน็ อยู่ท่ีดีในสงั คม
2. งานปอ้ งกนั (Prevention) เปน็ งานทปี่ อ้ งกนั มใิ หผ้ ปู้ ระกอบอาชพี มสี ขุ ภาพเสอื่ มโทรมหรอื ผดิ ปกติ
ทเี่ กดิ จากสภาพ หรอื สภาวะการท�ำ งานท่ีผดิ ปกติ
3. งานปกปอ้ งค้มุ ครอง (Protection) เปน็ งานทด่ี �ำ เนินการปกป้องคุ้มครองผู้ประกอบอาชพี มิให้มี
การทำ�งานทเี่ สยี่ งต่ออันตราย หรอื จะเป็นสาเหตุใหเ้ กดิ โรคภยั ไข้เจ็บ

4
4. การจดั การท�ำ งาน (Placing) เปน็ การจดั การสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งานใหม้ สี ภาพเหมาะสมกบั
ความต้องการของรา่ งกาย จิตใจของผปู้ ระกอบอาชีพใหม้ ากทสี่ ดุ
5. การปรบั งานและคนใหม้ คี วามเหมาะสมกนั (Adaptation) เปน็ การปรบั สภาพของงาน ใหม้ คี วาม
สอดคล้องและเหมาะสมผู้ประกอบอาชีพ โดยคำ�นึงถึงสภาพสรีรวิทยา และพื้นฐานความแตกต่างท้ังด้าน
ร่างกายและจติ ใจเพ่อื ประสทิ ธิผลของงานนั้นๆ
3. จงอธบิ ายความหมายของอุบตั เิ หตุ
อบุ ตั เิ หตเุ ปน็ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ โดยไมค่ าดคดิ เมอื่ เกดิ ขน้ึ แลว้ มผี ลกระทบตอ่ ทรพั ยส์ นิ หรอื การบาดเจบ็
และเสียชีวติ ของบคุ คล
4. จงบอกลกั ษณะของผู้ปฏบิ ตั ิงานท่ีมคี วามเสี่ยงต่อการเกิดอบุ ัติเหตุในการปฏบิ ตั งิ านได้
1. ผู้ท่ีขาดความรู้ ความเขา้ ใจ ประสบการณ์ และความชำ�นาญในงานที่ทำ�
2. ผูท้ ่ีไมพ่ ร้อมทง้ั ทางรา่ งกาย เชน่ อดนอน การเจ็บป่วย การเหน็ดเหนอ่ื ย เป็นตน้
3. ผู้ท่ไี มพ่ รอ้ มด้านจติ ใจ มีความทกุ ข์ เหม่อลอย เปน็ ต้น
5. จงอธิบายรายละเอียดของกจิ กรรมการส่งเสรมิ ความปลอดภัย (4 A)
1. การสรา้ งความตระหนกั (Awareness) โดยพยายามท�ำ ใหบ้ คุ คลจ�ำ นวนมากพดู ถงึ ความปลอดภยั
ให้มากที่สุด มีการออกแบบกิจกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยซ่ึงจะต้องเป็นกิจกรรมให้เกิดความน่าสนใจ
และต้องใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายขององค์กรด้วย และจะต้องสอดคลอ้ งกับปญั หาวิกฤตทีเ่ กดิ ข้นึ ดว้ ย
2. การยอมรับ (Acceptance) ผู้ปฏิบัติงานจะรู้สึกยอมรับเม่ือโปรแกรมความปลอดภัยส่งผลต่อ
ตนเองอย่างชัดเจน การทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานยอมรับโปรแกรมความปลอดภัย จะต้องอาศัยการสื่อข่าวสารท่ี
มีประสิทธิภาพ และท่ีสำ�คัญผู้บริหารจะต้องให้ความจริงจังค้นหาสาเหตุของอุบัติภัย พร้อมแสดงหลักฐาน
และปฏบิ ตั ิตนด้านการทำ�งานอย่างปลอดภยั เปน็ ตวั อยา่ งแก่ผ้ใู ต้บังคับบญั ชา
3. การปฏบิ ตั ิ (Application) คือการทผ่ี ปู้ ฏิบตั งิ านมีส่วนร่วมต่อโปรแกรมความปลอดภยั ดว้ ยการ
มีกิจกรรม การมีส่วนร่วมในทีมและคณะกรรมการความปลอดภัย (Safety teams and committees)
ยอมรับความคิดเห็นของเขาผ่านระบบข้อเสนอแนะ หากผู้ปฏิบัติได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรม ได้สื่อสารหรือ
ทำ�งานร่วมกับผู้เช่ียวชาญด้านความปลอดภัยมืออาชีพ จะนำ�ไปสู่การเปล่ียนแปลงทัศนคติ และช่วยให้
ผปู้ ฏิบัตงิ านทำ�งานโดยค�ำ นงึ ถงึ ความปลอดภัยมากย่งิ ขน้ึ
4. การรบั นสิ ยั ใหม่ (Assimilation of New habit) นสิ ยั ใหมจ่ ะเกดิ เมอ่ื บคุ คลมที ศั นคตคิ วามปลอดภยั
ตดิ แนน่ ในความร้สู กึ แล้วจะแสดงออกมาเป็นพฤตกิ รรม หากมาถึงระดบั น้ีถือว่างานสง่ เสริมความปลอดภัย
ประสบความสำ�เร็จแลว้

5

6. เกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยในองค์กรให้ประสบความสำ�เร็จ “การเพ่ิมความเข้มข้น
ดว้ ยความหลากหลาย” ปฏบิ ตั ิได้อย่างไร
การใช้สื่อการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมอย่างหลากหลาย มีการจัดทำ�บอร์ดส่ือสารข่าวสาร
ตามจุดตา่ งๆ ที่ผู้ปฏบิ ัติงานตอ้ งผ่าน หรือสมั ผัสดว้ ย เชน่ จดุ ทานข้าว ทางเขา้ -ออก หน้าอาคาร เป็นต้น
นอกจากนอ้ี าจมกี ารใชเ้ สยี งตามสายประกาศในชว่ งเวลาพกั เปน็ การยา้ํ อกี ชอ่ งทางหนง่ึ ทง้ั นไี้ มว่ า่ จะเปน็ ชอ่ ง
ทางใดกต็ าม ควรค�ำ นึงถึงความน่าสนใจเปน็ หลักดว้ ย

7. จงยกตัวอย่างกิจกรรมรณรงค์เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานมีความตระหนักจนถึงมีพฤติกรรมการทำ�งานอย่าง
ปลอดภัย
1. กจิ กรรม 5 ส.
2. การประกวดความขวญั ความปลอดภัย
3. การบรรยายพเิ ศษ โดยวทิ ยากรจากภายในและภายนอกองค์กร
4. การจดั นิทรรศการ เกี่ยวกับเกิดอุบัติเหตุที่เกิดข้ึน
5. การรณรงคใ์ ห้ใช้อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
6. การทำ�แผ่นป้ายแสดงสถิติอุบัติเหตุหรือป้ายประกาศ องค์กรสามารถจัดทำ�ป้ายขนาดใหญ่แสดง
สถิติอุบัติเหตุ หรือกิจกรรมด้านความปลอดภัยใดๆ ที่ต้องการให้พนักงานทราบและปฏิบัติไว้ในตำ�แหน่งที่
สามารถมองเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน
7. การเผยแพร่บทความในวารสาร
8. การรณรงคด์ ว้ ยโปสเตอรแ์ ละสญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั
9. การตอบปัญหาชิงรางวลั
10. การทศั นศกึ ษาในสถานประกอบการอนื่ ทไ่ี ดร้ บั รางวลั ดเี ดน่ การจดั การดา้ นความปลอดภยั เพอ่ื น�ำ
มาเปน็ ตวั อย่างในการปรับปรงุ สถานที่ท�ำ งานของตนให้ดีขน้ึ

8. จงอธิบายรายละเอยี ดกจิ กรรมส่งเสริมความปลอดภยั ทเี่ น้นให้ท�ำ อะไร (What to do)
เป็นกิจกรรมท่ีให้ผู้ปฏิบัติงานเสนอวิธีการเพ่ือให้การทำ�งานมีความปลอดภัยมากข้ึน มีการพิจารณา
ตดั สนิ วธิ กี ารเหลา่ นน้ั เพอ่ื มอบรางวลั ใหแ้ กเ่ จา้ ของวธิ กี ารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ มกี ารเชญิ ผบู้ รหิ ารระดบั
สูงมาเป็นผู้มอบรางวัล เปิดโอกาสให้ครอบครัวของผู้ที่ได้รับรางวัลเข้ามาร่วมงานเพื่อแสดงความยินดีด้วย
มีการถ่ายภาพ ประชาสมั พันธง์ านให้รบั รทู้ ว่ั กนั

9. การสง่ เสริมความปลอดภัยใหป้ ระสบความสำ�เร็จและเกดิ ประสิทธภิ าพควรยึดหลกั อยา่ งไร
หลกั ความง่าย และหลักการท�ำ ซา้ํ ๆ

6
10. จงบอกประโยชน์ของการจัดการอาชวี อนามยั และความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ าน
1. พนกั งานมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี นึ้ การท�ำ งานอยา่ งปลอดภยั เปน็ การลดอบุ ตั เิ หตทุ จี่ ะเกดิ ขน้ึ พนกั งาน
มคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี สง่ ผลให้ครอบครวั มีคณุ ภาพชวี ิตที่ดีตามไปด้วย
2. ผลผลติ เพ่มิ ขนึ้ การท�ำ งานภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทถี่ กู สุขลักษณะ มอี ปุ กรณก์ ารปอ้ งกนั ทเี่ พียงพอ
ท�ำ ใหพ้ นกั งานมขี วญั และก�ำ ลงั ใจทดี่ ี ตงั้ ใจท�ำ งาน มคี วามรบั ผดิ ชอบอยา่ งเตม็ ท่ี ผลผลติ โดยรวมจงึ สงู ขนึ้ ทงั้
ด้านคุณภาพและปริมาณ
3. ค่าใช้จ่ายลดลง การทำ�งานอย่างปลอดภัยช่วยลดอุบัติเหตุ จึงทำ�ให้ค่าใช้จ่ายขององค์กรลดลง
เนอื่ งจากไมต่ อ้ งรบั ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาลของคนงาน คา่ ซอ่ มแซมเครอื่ งจกั ร คา่ อปุ กรณเ์ สยี หาย
ท�ำ ให้ตน้ ทุนการผลติ ลดลง
4. ผลกำ�ไรเพมิ่ มากข้ึน ผลจากการท�ำ งานอยา่ งปลอดภัยสง่ ผลให้ค่าใชจ้ า่ ยลดลง ต้นทุนการผลิตตา่ํ
ส่งผลท�ำ ใหอ้ งคก์ รได้รับผลกำ�ไรมากขึน้ ตามไปดว้ ย
5. ลดการสญู เสยี ทรพั ยากรมนษุ ยชาติ การท�ำ งานอยา่ งไมป่ ลอดภยั ท�ำ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตไุ ดง้ า่ ย สง่ ผลให้
พนกั งานไดร้ บั บาดเจบ็ พกิ าร ทพุ พลภาพ หรอื ถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ ถอื เปน็ การสญู เสยี แรงงานทส่ี �ำ คญั ของประเทศ
ชาติไป
6. ภาพลกั ษณ์ขององค์กรดีขน้ึ องค์กรที่มีระบบการทำ�งานอย่างปลอดภยั จำ�นวนการเกิดอบุ ตั เิ หตมุ ี
น้อยครั้ง หรอื ไม่มเี ลยย่อมสง่ ผลถงึ ภาพลกั ษณ์ทดี่ ขี ององคก์ ร
7. เศรษฐกิจของประเทศชาติโดยรวมดีขึ้น เม่ือจำ�นวนการเกิดของแต่ละองค์กรมีน้อยหรือไม่มีเลย
ส่งผลถงึ ภาพลกั ษณท์ ี่ดขี องประเทศชาติดว้ ย นักลงทุนต่างชาติเกิดความเชอื่ ม่ันเข้ามาลงทุนภายในประเทศ
กอ่ ให้เกดิ การจ้างงานเพิม่ มากขน้ึ ดว้ ย

7

ใบงานท่ี 1.1

ขั้นตอนการปฏิบัตกิ ิจกรรม
ให้นักเรียนอธิบายลักษณะของบุคคล และสภาพแวดล้อมที่ส่งผลให้การปฏิบัติงานปลอดภัย และ
ไมป่ ลอดภยั บนั ทึกลงในชอ่ งวา่ งทกี่ าำ หนด

ลกั ษณะของบคุ คลท่ีปลอดภยั ลกั ษณะของบคุ คลทไี่ ม่ปลอดภัย
ในการทาำ งาน ในการทำางาน

1. สุขภาพแข็งแรง 1. เจบ็ ป่วย
2. ไม่มเี รอื่ งกงั วล เหม่อลอย 2. มเี รื่องกงั วล ใจไม่อยู่กบั งาน
3. มีความเขา้ ใจในเนอื้ งาน 3. ไม่เข้าใจในงานทท่ี ำา
4. มปี ระสบการณ์ และมที ักษะ 4. ขาดประสบการณ์ และขาดทกั ษะ

ลักษณะของสภาพแวดล้อม ลกั ษณะของสภาพแวดล้อม
ท่ีปลอดภยั ในการทำางาน ทไี่ มป่ ลอดภยั ในการทำางาน
1. อากาศถา่ ยเท 1. อากาศไมถ่ ่ายเท
2. อาคารกอ่ สรา้ งตามมาตรฐาน 2. อาคารกอ่ สรา้ งขาดมาตรฐาน
3. วางผงั โรงงานถกู ตอ้ ง 3. วางผังโรงงานไม่ถูกตอ้ ง
4. มปี ้ายหรือสญั ลกั ษณเ์ ตอื นภยั 4. ไมม่ ีป้ายหรือสญั ลกั ษณเ์ ตอื นภยั

8

ใบงานที่ 1.2

ขน้ั ตอนการปฏิบัติกิจกรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลการปฏิบัติงานขององค์กร หน่วยงาน ซึ่งปฏิบัติกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับ
หลกั อาชวี อนามัยและความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานอาชพี โดยเตมิ ขอ้ มลู ลงในทว่ี า่ ง

ชอ่ื องคก์ ร กิจกรรมอาชวี อนามัยและ รายละเอียดกจิ กรรม
ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน

1. บริษัท อบรมพนักงาน หัวข้อ “อาชีว บริษัทจัดการอบรมพนักงาน ให้มีความรู้เก่ียว
เอส แอนด์ พี อนามัยและความปลอดภัยใน กับอาชีวอนามยั ในการทำางาน รุ่นละประมาณ
ซนิ ดเิ คท จำากดั การทำางาน” 50 คน โดยเชิญวิทยากรที่มีความเช่ียวชาญ
(มหาชน) เฉพาะดา้ นท้งั ภายในและภายนอกองคก์ ร

2. บริษทั ซี พี จัดโครงการด้านการจัดการ บรษิ ทั มกี ารดาำ เนนิ การจดั อบรมใหก้ บั พนกั งาน
ออลล์ จาำ กัด ความเครียด เพ่ือเป็นการจัดการความเครียด และสำาหรับ
(มหาชน) ผู้บริหารระดับฝ่ายข้ึนไป และ Store Busi-
ness Partner เข้าร่วมกิจกรรม นง่ั สมาธิ เดนิ
จงกรม โยคะธรรมะ เรียนรู้หลักธรรมคำาสอน
ของพระพุทธเจ้า เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดความ
สงบในจติ ใจ เสริมสร้างสตสิ มาธิในการทาำ งาน
สามารถนำาไปปรับใช้ในการบริหารงานทีมงาน
อย่างมคี วามสขุ

3. บรษิ ทั โครงการตรวจสุขภาพ ให้พนักงานได้รับการตรวจสุขภาพประจำาปี
พีทีที โกลบอล ประจำาปี เพ่ือป้องกันความเสี่ยงท่ีอาจเป็นอันตรายต่อ
เคมิคอล จำากัด สขุ ภาพ และอาจเกดิ โรคทีเ่ กดิ จากการทำางาน
(มหาชน)

สงิ่ ท่นี ักเรยี นบันทึกแตกตา่ งกนั ออกไปตามขอ้ มลู ทส่ี ืบค้นมา

9 2

แบบประเมินผลการเรียนรูหนว ยท่ี

ตอนที่ 1 จงเลอื กคำาตอบทถี่ ูกต้องที่สุดเพยี งขอ้ เดียว

1. ขอ้ ใดกล่าวถึงความหมายของมลพษิ ไดถ้ กู ตอ้ งท่สี ุด
ข. สภาวะแวดล้อมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปจนเกดิ ความไมส่ มดุลของธรรมชาติ
2. ข้อใดเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ สารมลพิษ

ก. การกระทำาของมนุษย ์
3. สารมลพิษข้อใดสามารถย่อยสลายได้

ง. ขยะมลู ฝอย
4. “สาเหตุหน่งึ ของการเกิดมลพิษคอื การเพ่ิมขึ้นของประชากร” ข้อใดสนับสนนุ คำากล่าวข้างตน้

ก. ประชากรเพม่ิ ทำาให้มีการผลติ เพมิ่ ข้นึ
5. ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง

ค. เทคโนโลยีทีท่ ันสมยั ขนึ้ ทำาให้นำาทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชไ้ ด้ง่ายจึงก่อให้เกดิ มลพิษมากขนึ้
6. ข้อใดเป็นมลพษิ ทางอากาศ

ง. อากาศทเ่ี ตม็ ไปด้วยควันจากการเผาปา่
7. สถานท่ีใดมีมลพิษทางอากาศมากทีส่ ดุ

ข. แหลง่ ท่ีจราจรติดขดั
8. มลพษิ ทางน้ำาก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อการประมงตามขอ้ ใด

ค. ทาำ ให้ปลาตายเน่อื งจากขาดออกซิเจนหรอื ปลาขาดอาหาร
9. แหล่งนาำ้ ทม่ี ลี กั ษณะตามขอ้ ใดท่กี ่อให้เกิดมลพษิ ทางน้ำาได้

ก. น้าำ ทีอ่ ยู่น่ิงไม่มีการไหลเวียน
10. พฤตกิ รรมของเกษตรกรข้อใดกอ่ ใหเ้ กิดมลพิษทางนำ้าได้

ข. ราำ เพยล้างคอกหมแู ลว้ ปล่อยนำา้ ลงคลอง
11. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบของมลพษิ ทางขยะ

ค. เป็นแหล่งพาหะนาำ โรคติดต่อ
12. มลพิษทางขยะทำาใหเ้ กดิ น้ำาทว่ ม สัมพนั ธก์ ับข้อใด

ก. ขยะขนาดใหญอ่ ดุ ทอ่ ระบายนาำ้ ทาำ ใหน้ า้ำ ไหลไมส่ ะดวก
13. ดินในจงั หวัดใดไม่เหมาะสำาหรบั การเกษตร

ข. สมทุ รปราการ

10
14. ขอ้ ใดเปน็ ผลกระทบจากมลพษิ ทางเสียงทเี่ กดิ ผลเสยี ต่อร่างกาย
ค. ทำ�ให้หวั ใจเต้นแรง ความดันโลหิตสงู
15. เสียงของยานพาหนะที่ใชใ้ นการคมนาคมเวลากลางวัน ต้องไมเ่ กนิ ระดับใด
ค. 60 เดซิเบล
16. มนษุ ย์สามารถได้รับมลพิษทางดนิ ได้ตามขอ้ ใด
ข. การบรโิ ภคพืชผักทีป่ ลกู ในดินทมี่ ีสารพษิ
17. อาหารขอ้ ใดมีความเสยี่ งตอ่ การเจือปนของมลพิษ
ค. ขนมลูกชบุ มสี ีสนั สวยงามหลากสี
18. อาหารข้อใดไมค่ วรทาน
ง. ลกู ชิ้นหมปู ้งิ ท่ีมีความกรอบมาก
19. อาหารขอ้ ใดอาจมีมลพษิ เจือปน
ค. ถ่วั ป่น
20. ขอ้ ใดเปน็ การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ท่ไี ดผ้ ลมากที่สดุ
ค. ควบคุมปรมิ าณการใชส้ ารในกระบวนการแปรรปู อาหาร

ตอนที่ 2 จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี

1. จงอธิบายความหมายของมลพษิ และสารมลพษิ
๏ มลพิษ หมายถึง สภาวะแวดลอ้ มท่ีเปลย่ี นแปลงไปจนเกดิ ความไมส่ มดุลของทรัพยากร และมีสาร
พษิ เปอื้ นปน ท�ำ ใหม้ ีผลกระทบตอ่ สุขภาพของมนษุ ย์ พืช และสตั ว์ ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม
๏ สารมลพษิ หมายถงึ สงิ่ ใดๆ ทป่ี ระกอบดว้ ยอนิ ทรยี วตั ถุ หรอื อนนิ ทรยี วตั ถุ ทเี่ ปน็ ทง้ั ของแขง็ ของเหลว
และก๊าซ เกิดข้ึนจากการกระทำ�ของมนุษย์ ทั้งการทิ้งขยะจากอาคารบ้านเรือน การทิ้งของเสียจากโรงงาน
รวมถึงสิ่งท่ีเกิดขึ้นจากการขนส่ง เข้ามาสู่สภาพแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษด้านต่างๆ ได้แก่ มลพิษทางนํ้า
มลพษิ ทางดนิ มลพษิ ทางอากาศ มลพิษทางเสียง เป็นต้น
2. จงอธิบายสารมลพษิ ทเี่ กิดจากการกระทำ�ของมนุษย์
การใชช้ วี ติ ประจ�ำ วนั ของมนษุ ย์ การทงิ้ ขยะมลู ฝอยของประชาชน การทงิ้ ของเสยี นา้ํ เสยี สารเคมจี าก
โรงงาน โดยไมม่ กี ารบ�ำ บัดหรอื ปอ้ งกนั แต่แรก

11
3. จงอธบิ ายสาเหตุของมลพษิ ทเ่ี กดิ จากการขยายตัวทางเศรษฐกจิ และเทคโนโลยี
ผลจากการเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วของประชากร ก่อให้เกิดปัญหาการขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานสำ�หรับ
การดำ�รงชีพ อาหาร ท่อี ยู่อาศัย เครือ่ งนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค รวมถึงจะต้องมีการพฒั นาคุณภาพของประชากร
การจดั การดา้ นการศกึ ษา การด�ำ เนนิ การตา่ งๆ เพอื่ ใหป้ ระชากรมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี จากการจดั หาปจั จยั พน้ื ฐาน
และการพฒั นาคณุ ภาพของประชาการเหลา่ นี้ จงึ ตอ้ งมกี ารน�ำ เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยเพอื่ ใหท้ นั ตอ่ ความตอ้ งการ
และเทคโนโลยกี ไ็ ดร้ บั การพฒั นาขนึ้ เรอ่ื ยๆ พฒั นาเพอื่ ใหส้ นองความตอ้ งการในการใชง้ านไดด้ ี ใชง้ านงา่ ยขนึ้
จนสามารถน�ำ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชไ้ ดโ้ ดยงา่ ยและรวดเรว็ ขน้ึ มกี ารเปดิ ปา่ ตดั ตน้ ไมเ้ พอื่ น�ำ มาใชไ้ ดอ้ ยา่ ง
ง่ายดาย มีการผลติ ยาปราบศตั รูพืชท่มี ปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ มโี รงงานอุตสาหกรรมเกิดขน้ึ
4. จงอธบิ ายรายละเอยี ดของมลพิษทางอากาศ
มลพษิ ทางอากาศ เปน็ ภาวะอากาศทมี่ สี ารเจอื ปนอยใู่ นปรมิ าณสงู กวา่ ปกติ และมรี ะยะเวลานานพอทจ่ี ะ
กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแกม่ นุษย์ สัตว์ พชื รวมถึงทรัพย์สนิ ตา่ งๆ สารเจือปนเหล่านี้อาจเกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ
เช่น ฝุ่นละอองจากลมพายุ ไฟไหม้ป่า ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น หรืออาจเกิดขนึ้ จากการกระทำ�ของมนุษย์ เชน่
ควนั จากทอ่ ไอเสยี ก๊าซจากโรงงานอุตสาหกรรม ของเสีย ขยะมูลฝอย เป็นตน้ ซง่ึ สารเจือปนทเ่ี กิดจากการ
กระทำ�ของมนษุ ยน์ ้มี อี ันตรายต่อมนุษยม์ ากกว่า
5. จงอธิบายรายละเอยี ดของผลกระทบท่ีเกิดจากมลพิษทางนํ้า
1. ด้านการเกษตร สง่ ผลเสยี ตอ่ การเพาะปลูก และการดำ�รงชีวติ ของสัตวน์ ้าํ
2. ด้านการประมง ทำ�ให้ปลาตาย ทำ�ลายแหล่งอาหารของปลา และทำ�ลายแหล่งวางไข่ของปลา
ทำ�ให้ปลาหยุดการขยายพนั ธุ์
3. ด้านสาธารณสขุ ทำ�ให้เกิดโรคระบาด และเป็นแหล่งเพาะพันธุย์ ุงท่ีเปน็ พาหะของไขเ้ ลอื ดออก
4. ดา้ นความสวยงามและการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ท�ำ ใหแ้ หลง่ นา้ํ ธรรมชาตขิ าดความสวยงาม ไมส่ ามารถ
เป็นสถานท่พี ักผ่อนหยอ่ นใจได้
6. จงอธบิ ายรายละเอียดของ “มลพษิ ทางขยะท�ำ ใหเ้ กิดน้ําท่วม”
ปจั จบุ นั มปี ระชาชนบางสว่ นขาดความรบั ผดิ ชอบ มกี ารน�ำ ขยะทง้ั ในรปู ของขยะขนาดเลก็ ทไ่ี มส่ ามารถ
ยอ่ ยสลายได้ เช่น ถุงพลาสติก ของใชท้ ี่ท�ำ จากพลาสติกหรอื ยาง เสอ้ื ผา้ รวมถึงขยะขนาดใหญอ่ ยา่ งท่ีนอน
ท่ีต้องใช้เวลานานกว่าจะย่อยสลาย ซ่ึงเป็นการท้ิงที่ไม่เป็นท่ีเป็นทาง เมื่อเกิดฝนตกขยะเหล่านี้ก็จะไหล
ตามการไหลของนา้ํ ฝนไปอดุ ท่อระบายน้ํา เมอ่ื น้ําระบายไมไ่ ดจ้ ึงเอ่อล้นทว่ มถนน ท�ำ ใหเ้ กดิ ปัญหาตามมาอีก
มากมาย

12
7. จงอธิบายผลกระทบของมลพิษทางเสยี ง
1. ผลกระทบต่อร่างกาย ทำ�ให้หัวใจเต้นแรง ความดันโลหิตสูง นอนไม่หลับ และยังส่งผลถึงทำ�ให้
ประสาทหูเส่อื ม จนถึงหูพกิ ารได้
2. ผลกระทบต่อจิตใจ ท�ำ ให้เกิดอาหารหงดุ หงิดและร�ำ คาญ เสยี สมาธิ และสง่ ผลถงึ อารมณข์ ุ่นมัวด้วย
3. ผลกระทบตอ่ การสอื่ สาร เสยี งดงั ท�ำ ให้ประสิทธิภาพในการส่อื สารลดลง ขอ้ มลู ทส่ี ่อื สารอาจคลาด
เคลอื่ น ไม่ชดั เจน ซึ่งจะสง่ ผลถงึ การเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้
4. ผลต่อการทำ�งาน การท�ำ งานทา่ มกลางเสียงดงั หรือบรรยากาศท่ไี มส่ งบ จะทำ�ให้ประสิทธิภาพของ
งานลดลง และสง่ ผลถึงการเกดิ อบุ ัติเหตไุ ด้เชน่ กัน
5. ผลเสยี หายตอ่ วตั ถุ เสียงทม่ี ีระดบั สงู ท�ำ ใหเ้ กิดการสั่นสะเทอื น บางครง้ั ยงั ทำ�ใหว้ ัตถุหรือสง่ิ ก่อสรา้ ง
เชน่ กำ�แพง หน้าต่าง กระจก สนั่ ไหว เป็นตน้ เกดิ การส่ันไหวและเสียหายได้
8. การกระทำ�ของมนษุ ยล์ กั ษณะใดทก่ี อ่ ใหเ้ กิดมลพษิ ทางดนิ
1. การใชส้ ารเคมแี ละกมั มนั ตรงั สี สารเคมี ยาฆา่ แมลง และยาปราบศตั รพู ชื ชนดิ ทค่ี งทน และท�ำ ลาย
ได้ยาก เมื่อลงส่ดู นิ จะแทรกเข้าไปสะสมอย่ใู นดิน
2. การใส่ปุ๋ยท่ีมีส่วนผสมของสารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม หากใส่ลงไปในดินและ
สะสมมากๆ ทำ�ให้เกิดพิษได้
3. นํ้าชลประทานที่มีสิ่งเจือปน เช่น เกลือ สารเคมี ยาฆ่าแมลง เม่ือถูกเปิดเข้าสู่แหล่งเพาะปลูก
ส่งิ เจอื ปนเหลา่ นัน้ จะเข้าไปพรอ้ มน้าํ และเมือ่ นา้ํ ระเหยออกไป สิง่ เจอื ปนก็จะแหง้ เกาะอยูต่ ามดิน
4. การทง้ิ ขยะมูลฝอย ประเภทพลาสติก ยาง โลหะ และอืน่ ๆ ทีท่ ำ�ลายยากท�ำ ให้ตอ้ งเผา หลังจาก
การเจาะเหลอื เกลอื โดยเฉพาะเกลอื ไนเตรทสะสมอยู่ หรอื หากละลายไปตามนา้ํ นาํ้ กจ็ ะพาเกลอื ไนเตรทไปสะสม
ในดนิ อนื่ ๆ ด้วย
5. การเพาะปลูกเปน็ เวลานานโดยไม่มกี ารบ�ำ รงุ ดิน
6. การถางป่า ทำ�ใหไ้ ม่มีพืชปกคลุมดิน
9. สารปรุงแตง่ และถนอมอาหารทก่ี อ่ ให้เกดิ มลพิษทางอาหารมอี ะไรบา้ ง
1. สารปรงุ แต่งสีทไ่ี มใ่ ช่สีผสมอาหาร
2. สารปรุงแตง่ รส เช่น ขณั ฑสกร เพื่อเพ่ิมความหวาน
3. สารเพมิ่ รสชาตใิ นอาหาร เช่น สารเพ่ิมรสชาติ สารแต่งกล่นิ
4. สารปรงุ แตง่ ลักษณะ ท�ำ ใหอ้ าหารเปือ่ ย ท�ำ ให้อาหารกรอบ ทำ�ใหอ้ าหารมีความเหนียว
5. สารปรุงแต่งกลนิ่ ทัง้ กลนิ่ อาหารและกลนิ่ เคร่อื งส�ำ อาง
6. สารกนั บดู เพอื่ ปอ้ งกนั การเตบิ โตของเชอื้ แบคทเี รยี และสารกนั หนื เพอื่ ปอ้ งกนั ปฏกิ ริ ยิ าออกซแิ ดนต ์
ป้องกันการเกิดกลิน่ ไม่พงึ ประสงค์

13
10. จงอธิบายแนวทางแก้ไขปญั หามลพิษโดยใช้มาตรการทางกฎหมาย
1. มมี าตรการเกย่ี วกบั การใชเ้ ครอื่ งปอ้ งกนั มลพษิ ส�ำ หรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทต่ี อ้ งท�ำ งานเกย่ี วขอ้ งกบั มลพษิ
ตา่ งๆ ทงั้ ทางอากาศ ทางเสียง ฯลฯ
2. การกำ�จดั ของเสียทเี่ ปน็ ของแข็ง หากเปน็ ของเสียท่นี �ำ มาใชป้ ระโยชน์ได้ กน็ ำ�มาใช้ประโยชน์ หาก
ไมส่ ามารถน�ำ มาใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ลว้ จะต้องมีการฝังกลบให้มดิ ชิด
3. การบำ�บัดของเสียที่เป็นของเหลว เช่น น้ําเสีย จะต้องใช้วิธีการหลายรูปแบบทั้งทางฟิสิกส์ เคมี
และชีววิทยา จนกว่าจะได้นํ้าท้ิงที่มีความสะอาดใกลเ้ คยี งธรรมชาตหิ รอื มมี าตรฐาน
4. การก�ำ จดั ของเสียท่เี ปน็ ฝ่นุ ละออง หรอื กา๊ ซพิษ ต้องมเี ครอ่ื งกรอง หรือเปน็ รูปแบบผสมผสานกบั
สารละลาย
5. กรณที ไ่ี มส่ ามารถหลกี เลย่ี งไมใ่ หเ้ กดิ สารพษิ ได้ จะตอ้ งมกี ารวางแผนการใชท้ ด่ี นิ อยา่ งเขม้ งวด เพอ่ื
ใหเ้ กิดผลกระทบต่อชมุ ชนนอ้ ยทส่ี ุด
6. มีการติดตามและตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อมเป็นระยะ ทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อจะได้
สามารถแก้ไขมลพิษท่อี าจเกดิ ข้นึ อย่างทันเวลา

14

ใบงานที่ 2.1

ขนั้ ตอนการปฏิบัติกิจกรรม
นักเรียนพิจารณาว่าในชีวิตประจำาวันต้องพบกับมลพิษใดบ้าง (บอกมาทุกชนิดท่ีพบ) เพราะเหตุใด
จงึ ตอ้ งประสบกบั มลพษิ เหลา่ นนั้ และนกั เรยี นมแี นวทางการแกไ้ ขอยา่ งไรจงึ จะปลอดภยั บนั ทกึ ลงในชอ่ งวา่ ง
ดา้ นล่าง

ตัวอย่าง สาเหตุ แนวทางการแก้ไข

มลพิษทป่ี ระสบ นง่ั รถประจาำ ทางมาโรงเรยี นในสภาพ ใชห้ นา้ กากอนามยั ปด ปากและจมกู
มลพิษทางอากาศ การจราจรทีต่ ดิ ขัด เพ่ือป้องกันการหายใจเอาอากาศที่

เป็นพษิ เขา้ สู่ร่างกาย

มลพิษทปี่ ระสบ สาเหตุ แนวทางการแกไ้ ข
มลพิษทางอากาศ นั่งรถผู้ปกครองเข้าไปเตมิ นำา้ มัน ใช้หน้ากากอนามัยปิดปากและ
จมูกเพ่ือป้องกันการหายใจเอา
มลพษิ ทางอาหาร รับประทานอาหารเจอื ปนสาร อากาศที่เป็นพษิ เขา้ สู่รา่ งกาย
มลพษิ ทางขยะ ปรงุ แต่งกลิ่น หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสีสด และ
สารอาหารที่มีสงิ่ เจอื ปนสารพษิ

ชาวบา้ นนาำ ขยะมลู ฝอยมากองรวม ขอความรว่ มมอื ใหน้ าำ ขยะไปทง้ิ ใน
กันจนเกดิ การสะสมเชอื้ โรค ท่ที ี่ทางการจดั ไว้ให้

***สง่ิ ทนี่ กั เรยี นบนั ทกึ แตกตา่ งกนั ออกไปตามประสบการณข์ องแตล่ ะคน สาำ หรบั แนวทางแกไ้ ขสามารถศกึ ษา
ได้จาก “ปัญหามลพิษ” หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2

15

ใบงานที่ 2.2

ขั้นตอนการปฏิบตั กิ ิจกรรม
นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู วา่ ปจั จบุ นั มสี ถานประกอบการใดทม่ี กี ารจดั กจิ กรรม หรอื มกี ารดาำ เนนิ งานเพอ่ื หลกี เลย่ี ง
หรอื ป้องกันไม่ให้มปี ญั หามลพิษเกิดข้นึ จาำ นวน 1 สถานประกอบการ บนั ทกึ ลงในท่ีวา่ งดา้ นล่าง

ตวั อยา่ งสถานประกอบการทม่ี กี จิ กรรมหรือการดำาเนนิ การเพื่อหลีกเลย่ี ง/ป้องกันปญั หามลพิษ
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำากัด ป้องกันมลภาวะภายในเข้าสู่ระบบปรับอากาศ
มลภาวะไมไ่ ดเ้ กดิ จากการทอี่ ากาศพษิ จากขา้ งนอกเขา้ สอู่ าคารเพยี งอยา่ งเดยี ว ภายในอาคารเองกม็ ี
เแคหรลอ่ื ่งงเถกา่ ดิ ยมเอลกภสาาวระ ไโดดเ้ยชก่นน้ั เดหียอ้ วงถกา่นั ย เเชอ่นก สCาOรใ2ห จม้ าพี กนื้บทุคม่ีคดิลชทดิ่อี ยแู่ภลาะยมใพี นดั อลามคดารดู อหารกอื าแศมอ้แอตก่ฝไป่นุ ยลงัะภอาอยงนจอากก
เพ่ือไม่ให้อากาศในห้องไหลออกไปสู่พื้นท่ีปรับอากาศ ปล่องอากาศออกควรอยู่ห่างจากระบบ
เติมอากาศเข้าสู่อาคารอย่างน้อย 10 เมตร ผู้ที่ทำางานในอาคารและผู้ที่มาใช้บริการได้รับอากาศ
บรสิ ทุ ธ ์ิ รสู้ กึ ผอ่ นคลาย อตั ราการเจบ็ ปว่ ยลดลง เนอื่ งจากมลภาวะในทท่ี าำ งานลดลงเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
ในการทำางานของพนกั งาน
***สงิ่ ทน่ี กั เรยี นบนั ทกึ แตกตา่ งกันออกไป ตามข้อมูลท่ีแต่ละคนสบื คน้ มา

16 3

แบบประเมินผลการเรียนรหู นว ยท่ี

ตอนที่ 1 จงเลือกคาำ ตอบทถ่ี กู ต้องที่สุดเพยี งข้อเดยี ว

1. ข้อใดจัดเปน็ โรคท่เี กิดจากการทาำ งาน
ง. ซิลิโคสสิ

2. เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและอุบัติภัยจากการทาำ งาน เพศหญิงและเพศชายแตกตา่ งกันตามข้อใด
ก. เพศหญงิ เจ็บป่วยง่ายกวา่ เพศชาย เพราะร่างกายทนตอ่ สภาพแวดลอ้ มไดน้ อ้ ยกวา่

3. บุคคลใดมโี อกาสเกดิ โรคหรืออบุ ตั ภิ ยั ในการทาำ งานมากทส่ี ุด
ค. นงนชุ ชอบหยอกล้อกบั เพ่อื นขณะทีท่ าำ งาน

4. คนงานในโรงงานอตุ สาหกรรมหอ้ งเย็นเสี่ยงตอ่ การเกิดโรคตามข้อใด
ข. อวยั วะมีอาการชา

5. สารกัมมนั ตรังสีก่อใหเ้ กิดโรคใด
ก. มะเรง็ เมด็ เลอื ด

6. อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ ข้อใดไม่ควรนาำ มาใช้งาน
ค. อุปกรณช์ ำารุด

7. หัวหน้างานท่สี ามารถช่วยให้คนงานปลอดภยั จากโรคและอุบตั ิภยั จากการทาำ งาน ควรมีลกั ษณะตามข้อใด
ง. เอาใจใส่เรื่องความปลอดภัยของลกู นอ้ งพร้อมกบั เปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ดี ้านความปลอดภยั

8. เมอ่ื เกษตรกรได้รับสารเคมีหรอื ยาปราบศตั รพู ืชจะทำาใหเ้ กดิ อาการตามขอ้ ใด
ก. คลนื่ ไส้ เวยี นศรี ษะ อาเจียน

9. ข้อใดเป็นโรคจากการทำางานท่ีเกิดข้ึนได้กับเกษตรกร
ข. โรคปอดชานออ้ ย
10. พิษที่รนุ แรงท่ีสุดเมอ่ื สารตะกวั่ เขา้ สรู่ า่ งกายมนุษย์คือขอ้ ใด
ค. เปน็ อมั พาตและอาการทางสมอง
11. ข้อใดเป็นอาการเรอื้ รังท่เี กิดขน้ึ เม่ือรา่ งกายไดร้ ับสารหนเู ขา้ ไป

ก. ตบั ถกู ทำาลาย
12. คนงานในโรงงานอุตสาหกรรมใดทีเ่ ส่ียงตอ่ การได้รับสารแมงกานสี เขา้ ส่รู า่ งกาย

ข. อตุ สาหกรรมถลุงเหล็ก
13. “เมื่อเข้าสู่รา่ งกายมนุษย์จะเข้าไปทาำ ลายแคลเซียมในกระดกู ” หมายถึงสารเคมีขอ้ ใด

ง. แคดเมียม

17
14. เมื่อรา่ งกายไดร้ ับสารโครเมยี มจะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการตามข้อใด
ข. แผลลกึ ไม่เจบ็ แตค่ นั
15. ซลิ ิกา้ เก่ยี วขอ้ งกบั ขอ้ ใด
ง. ฝุ่นหินทราย
16. ขอ้ ใดเปน็ ส่ิงท่ผี ูป้ ฏิบตั ิงานด้านศลิ ปหตั ถกรรมตอ้ งระมัดระวัง
ง. ความแหลมคมของอปุ กรณแ์ ละคุณภาพความสวยงามของงาน
17. “ระหวา่ งการท�ำ งานอาจไดร้ บั อบุ ตั เิ หตทุ เี่ กดิ จากความรอ้ นหรอื นาํ้ รอ้ นลวกได”้ หมายถงึ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี ใด
ข. คหกรรม
18. ข้อใดสำ�คญั มากสำ�หรับผปู้ ฏิบตั ิงานดา้ นพาณชิ ยกรรม
ค. การท�ำ ความสะอาดสถานท่ีท�ำ งาน และการจดั เกบ็ อุปกรณใ์ หเ้ รียบร้อย
19. เกยี่ วกับแนวทางการป้องกันโรคและอบุ ตั ิภยั จากการทำ�งาน ควรปฏบิ ัติตามขอ้ ใด
ข. คดั เลอื กพนักงานที่มสี ขุ ภาพแขง็ แรงโดยการใหต้ รวจร่างกายกอ่ นเข้าทำ�งาน
20. การปอ้ งกันโรคและอบุ ตั ภิ ยั จากการท�ำ งานจะต้องได้รับความรว่ มมอื จาก 3 ฝ่ายตามข้อใด
ค. หน่วยงานราชการ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน เจ้าของสถานประกอบการ

ตอนที่ 2 จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปนี้

1. จงอธิบายความหมายของโรคและอุบัตภิ ยั ทเี่ กิดจากการท�ำ งาน
โรคและอบุ ตั ภิ ยั ทเี่ กดิ จากการท�ำ งาน หมายถงึ โรคและความเจบ็ ปว่ ยทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ในขณะท ่ี
สัมผัสกับงานหรืออยู่ในบรรยากาศการท�ำ งานที่เปน็ พิษภยั จนเป็นสาเหตุใหร้ ่างกายได้รบั การบาดเจ็บ หรือ
เกดิ ความเจบ็ ปว่ ยจนเป็นโรคหรือพกิ ารหรืออาจถงึ ขั้นเสียชวี ติ ได้ รวมไปถึงโรคที่เกิดจากสาเหตุทางออ้ มใน
การทำ�งานดว้ ย เช่น การถกู เลิกจา้ ง การลดเวลาท�ำ งาน การลดเงินเดือน ทำ�ให้เกดิ ภาวะความเครยี ด วติ ก
กงั วล นอนไม่หลับ สง่ ผลให้เกดิ โรคภัยไขเ้ จ็บ โรคซึมเศรา้ ซึง่ อาจส่งผลรุนแรงตอ่ ชีวติ ได้
2. สาเหตขุ องโรคและอุบัตภิ ยั จากการท�ำ งาน ผปู้ ฏิบตั ิงานท่ีมเี พศตา่ งกนั มีความอดทนตอ่ การทำ�งานต่างกัน
อย่างไร จงอธบิ าย
รา่ งกายของเพศหญงิ อาจทนตอ่ สภาพแวดลอ้ มไดน้ อ้ ยกวา่ เพศชาย ดงั นน้ั ในสภาวะแวดลอ้ มในทที่ �ำ งาน
เดียวกัน เพศหญิงมักมโี อกาสเจบ็ ป่วยเป็นโรคจากการประกอบอาชีพมากกวา่ เพศชาย
3. จงอธบิ ายอันตรายของสารกัมมนั ตรงั สีทมี่ ีตอ่ ร่างกายมนษุ ย์
เมอื่ สารกมั มนั ตรงั สเี ขา้ สรู่ า่ งกาย จะสง่ ผลท�ำ ลายเมด็ เลอื ดแดง ท�ำ ใหเ้ กดิ มะเรง็ เมด็ เลอื ด มะเรง็ ผวิ หนงั
หรือหากคนงานนั้นกำ�ลังต้ังครรภ์จะส่งผลถึงลูกท่ีคลอดออกมาพิการได้ ท้ังนี้อาการโดยทั่วไปของผู้ท่ีได้รับ
สารกมั มนั ตรังสี มักมีอาการคลน่ื ไส้ ชอ็ ก และถงึ ข้ันเสียชวี ิตได้

18

4. อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร สภาพอยา่ งไรท่ีไมค่ วรน�ำ มาใช้
1. ช�ำ รดุ สึกหรอ
2. ไมถ่ ูกขนาด หรอื ไม่เหมาะสมกบั งาน
3. ขาดความสมบูรณ์ เช่น ไมม่ ดี า้ มจบั ใบมีดมรี อยแหว่ง เปน็ ต้น
4. อุปกรณ์ เคร่ืองมอื ทข่ี าดการบ�ำ รงุ รักษาให้มสี ภาพพรอ้ มใช้งาน

5. จงบอกสิ่งทีเ่ ปน็ สาเหตขุ องโรคและอบุ ัติภัย และผลกระทบท่เี กดิ ขึ้นของงานด้านเกษตรกรรม
1. สารเคมแี ละยาปราบศตั รพู ชื ทเี่ กษตรกรน�ำ มาใช ้ เมอื่ รา่ งกายไดร้ บั สารเคมเี ขา้ ไป จะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการ
คลน่ื ไส้ เวยี นศีรษะ อาเจียน ชอ็ ก หมดสติ กล้ามเนือ้ กระตุก ฯลฯ ขนึ้ อยูก่ บั ประเภทของสารเคมี และอาจ
รนุ แรงถึงขั้นเสียชวี ิตได้
2. ฝนุ่ ละอองจากฟางข้าว และชานอ้อยเป็นอนั ตรายตอ่ ระบบหายใจ ส่งผลให้เยอื่ พงั ผืดท่ีปอด ทำ�ให้
ปอดท�ำ งานผดิ ปกติหรือพกิ าร เปน็ โรคเกี่ยวกบั ปอด คอื โรคปอดชาวนา โรคปอดชานออ้ ย และกลายเปน็
มะเร็งในทส่ี ุด
3. สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพท�ำ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ เกษตรกรไดห้ ลายอยา่ ง เชน่ พายุ นา้ํ ทว่ ม เปน็ สาเหตุ
ของการเกดิ โรคไข้หวดั นํา้ กดั เทา้ เป็นต้น นอกจากนีย้ ังมอี นั ตรายทีเ่ กดิ จากสตั วม์ พี ษิ ท่อี ยใู่ นสิง่ แวดลอ้ มนัน้
เช่น งูพิษ แมลงมพี ษิ ยงุ และสตั วอ์ น่ื ๆ ท่ีเป็นพาหะนำ�โรค เป็นต้น
4. สตั วเ์ ล้ยี งของเกษตรกร มหี ลายชนิด เช่น วัว ควาย สกุ ร แพะ แกะ เปด็ ไก่ เปน็ ตน้ สตั ว์บางชนดิ
เป็นพาหะนำ�โรคแอนแทร็กซม์ าส่คู นได้
5. เคร่ืองมอื และอุปกรณ์การเกษตร มดี จอบ เสียม รวมไปถงึ เครอื่ งมือ เคร่ืองใชข้ นาดใหญ่ รถไถนา
เครอ่ื งสีข้าว ฯลฯ ก็สามารถกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบตอ่ การบาดเจ็บ หรือถงึ ขัน้ เสียชีวติ ของเกษตรกรไดเ้ ช่นกัน
หากเกษตรกรขาดความรู้ ขาดความระมดั ระวงั หรอื รเู้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์

6. จงอธบิ ายอันตรายของฝุ่นหินทราย หรือฝุ่นซลิ กิ ้า
เม่ือร่างกายได้รับฝุ่นหินทราย เข้าสู่ระบบหายใจและปอดทีละน้อย เป็นระยะเวลานาน และเกิดการ
สะสมในปรมิ าณที่มากขึ้น จะทำ�ให้มีอาการหายใจขดั หอบ ชว่ งการหายใจส้นั มอี าการไอ เจ็บหน้าอกเม่อื
ท�ำ งานหนกั หวั ใจตอ้ งท�ำ งานหนกั และอาจเสยี ชวี ติ ในเวลา 5-10 ปี ทงั้ นข้ี น้ึ อยกู่ บั สขุ ภาพของคนงาน ปรมิ าณ
ของฝนุ่ และเปอร์เซน็ ต์ของหนิ ทรายบริสทุ ธ ์ิ อาการเฉยี บพลนั ของผู้ไดร้ ับฝนุ่ ส่วนใหญพ่ บในผ้ทู ่ที �ำ งานใน
สภาพการท�ำ งานทมี่ ฝี นุ่ หนิ ทรายฟงุ้ กระจายมากและเปน็ โรงงานทป่ี ดิ มดิ ชดิ ระบายอากาศไมด่ ี เพยี ง 8-18 เดอื น
ก็ปรากฏอาการ คอื หายใจขดั อดึ อัด ผวิ หนงั เปน็ สเี ขยี ว คลา้ํ เนอ่ื งจากขาดออกซิเจน หอบ และอาจเกดิ
โรควัณโรคได้

19

7. ผ้ปู ฏบิ ัติงานด้านศลิ ปหตั ถกรรมจะตอ้ งระมัดระวงั เกี่ยวกบั สิง่ ใดบา้ ง
เครื่องมอื อปุ กรณท์ ี่แหลมคม และคุณภาพของงาน
8. จงอธบิ ายสาเหตุอุบตั ภิ ยั ของท่ีผปู้ ฏิบตั ิงานด้านคหกรรม
1. อปุ กรณ์ของมคี ม การประกอบอาหาร เกี่ยวข้องกบั อุปกรณ์มคี ม เชน่ มีด เครื่องปัน่ เคร่อื งบด
สอ้ ม เปน็ ตน้ เชน่ เดยี วกบั การประกอบอาชพี ตดั เยบ็ เสอื้ ผา้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ของมคี ม เชน่ เขม็ กรรไกร ทเี่ ลาะดา้ ย
เป็นตน้
2. ความร้อน ในการประกอบอาหาร ความรอ้ นมคี วามจำ�เป็นอยา่ งยง่ิ โดยเฉพาะผปู้ ฏบิ ัตหิ น้าที่ใน
สถานประกอบการขนาดใหญ่ อยา่ งโรงแรม หรอื รา้ นอาหาร จ�ำ เปน็ ตอ้ งใชค้ วามรอ้ นมากขนึ้ อณุ หภมู ใิ นสถาน
ประกอบการสงู จงึ ตอ้ งระมดั ระวงั ใหอ้ ยใู่ นบรเิ วณทม่ี อี ากาศถา่ ยเท ระวงั การถกู นาํ้ รอ้ นลวก หรอื อบุ ตั เิ หตจุ าก
ความร้อนอื่นๆ และของมีคม
3. สภาพแวดลอ้ มท่ไี มเ่ หมาะสม การทำ�งานในสถานทีท่ มี่ ีแสงสว่างไม่เพียงพอ วัสดอุ ปุ กรณ์ จดั วาง
อยา่ งไมเ่ ป็นระเบยี บ สกปรก อากาศถา่ ยเทไม่สะดวก ฯลฯ ซง่ึ เปน็ สาเหตขุ องการเกดิ อบุ ตั เิ หตุในการปฏิบัติ
งาน เช่น เม่ือแสงสว่างไมเ่ พยี งพอ เปน็ อปุ สรรคต่อการมองเหน็ อากาศไมถ่ ่ายเททำ�ใหร้ สู้ ึกอดึ อดั หงดุ หงดิ
การวดั วางไมเ่ ปน็ ระเบยี บ กดี ขวาง ทำ�ใหข้ าดความคลอ่ งตวั ในการปฏิบตั ิงาน เป็นต้น
9. จงอธบิ ายแนวทางปอ้ งกนั อบุ ตั ภิ ัยจากการท�ำ งาน
1. มีการคัดเลอื กผทู้ ่มี ีสุขภาพแขง็ แรงเขา้ มาทำ�งาน มกี ารตรวจสขุ ภาพก่อนเข้าท�ำ งาน และหลงั จาก
นนั้ ควรมีการตรวจสขุ ภาพประจำ�ปีด้วย
2. มกี ารอบรมผู้ทีจ่ ะทำ�งานให้รู้จกั เคร่อื งมอื อุปกรณ์ทจี่ ะใชแ้ ละการใช้อยา่ งถกู ต้อง รวู้ ธิ ีปอ้ งกัน และ
ควบคุมทจ่ี ะไม่ให้เกดิ โรคและเกดิ อันตรายขนึ้ ได ้
3. จดั หาอปุ กรณ์ป้องกนั ส่วนบคุ คลใหแ้ ก่คนงาน เชน่ หนา้ กาก ถงุ มือ เคร่ืองกันเสียง เปน็ ตน้
4. ทำ�ความสะอาดบริเวณสถานท่ีทำ�งานให้น่าอยู่ จัดวางอุปกรณ์อย่างเป็นระเบียบ ซ่ึงจะช่วยให้
ผ้ปู ฏิบัติงานมีสุขภาพจิตที่ดี
10. เจ้าของสถานประกอบการสามารถป้องกนั อุบัติภัยจากการทำ�งานได้อยา่ งไร
เจา้ ของสถานประกอบการจะต้องเปน็ ผู้ทมี่ ีคุณธรรม ใหค้ วามร่วมมือกับหนว่ ยงานราชการ ปฏบิ ตั ติ าม
ระเบยี บตามท่กี �ำ หนด เช่น การจดั หาเครื่องป้องกนั แกค่ นงานเพ่ือให้เกดิ ความปลอดภัย เปน็ ต้น นอกจากนี้
ตอ้ งมีการใหส้ วัสดิการดา้ นสุขภาพ เงนิ ทดแทนหรอื เงินชดเชยแก่พนักงานตามท่ีกฎหมายแรงงานก�ำ หนดไว ้

20

ใบงานท่ี 3.1

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติกิจกรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูล เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นเก่ียวกับโรคและอุบัติภัยท่ีเกิดจากการทำางาน จากเหตุการณ์
ส่งผลต่อคนงานหรือผู้ปฏิบัติงานอยา่ งไร เจา้ ของกจิ การหรอื หนว่ ยงานอ่นื ใดเขา้ มาช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั
บ้าง บันทึกลงทว่ี ่างดา้ นลา่ ง

ตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์เก่ียวกบั โรคและอบุ ัตภิ ัยที่เกดิ จากการทาำ งาน
เมอื่ วนั ที ่ 18 สิงหาคม 2561 เวลา 12.00 น. ศูนย์วิทยุสวา่ งประทปี ศรีราชา ได้รบั แจง้ เหตุ
คนงานก่อสร้างตกน่ังร้านแล้วได้รับบาดเจ็บ อาการสาหัส 3 ราย ในโครงการแห่งหน่ึง เส้นทาง
ชากค้อ-หนองขาม หมู่ 5 ตำาบลหนองขาม อำาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี จึงรีบประสานทีมแพทย์
โรงพยาบาลแหลมฉบัง พร้อมเจ้าหน้าท่ีกู้ชีพ และอาสาสมัครหน่วยกู้ภัยเข้าช่วยเหลืออย่าง
เรง่ ดว่ น โดยในทเี่ กดิ เหตซุ งึ่ เปน็ โครงการหมบู่ า้ นทก่ี าำ ลงั กอ่ สรา้ งอย ู่ และพบคนงานกอ่ สรา้ งกาำ ลงั ชท้ี าง
ให้เจา้ หน้าที่เข้าไปในท่ีเกดิ เหต ุ ก็พบกบั ผ้ไู ด้รับบาดเจบ็ เป็นชาย 3 ราย คอื นายออง โซ วนิ อายุ 44 ปี
ไดร้ ับบาดเจบ็ บรเิ วณศรี ษะ ลาำ ตวั และแขน นั่งสะลมึ สะลอื อยดู่ า้ นหนา้ สว่ นดา้ นในพบ นายซ ี ยา อาว
อายุ 29 ป ี ได้รับบาดเจ็บหมดสติและมีอาการเจบ็ ท่แี ผน่ หลงั ไม่สามารถขยบั ตวั ได ้ และด้านหลังของ
ตวั บา้ นท่กี ำาลังก่อสร้างพบ นายนัย นยั อายุ 21 ป ี หมดสติ มเี ลอื ดออกบรเิ วณศีรษะไหลนองพนื้ เปน็
จำานวนมาก หายใจอ่อน ทางเจ้าหนา้ ท่จี งึ ตอ้ งเร่งทำาการปฐมพยาบาลก่อนนำาขนึ้ รถกู้ชพี ทำาการ CPR
และปมั หวั ใจยอ้ื เพอ่ื ชวี ติ อยา่ งเรง่ ดว่ น กอ่ นนาำ ผไู้ ดร้ บั บาดเจบ็ ทงั้ สามรายสง่ โรงพยาบาลเพอื่ ใหแ้ พทย์
ทำาการรักษาเป็นการดว่ น หลังจากนนั้ ประมาณ 30 นาทกี ไ็ ดร้ ับแจง้ จากโรงพยาบาลวา่ นายนัย นยั
ไดเ้ สยี ชีวติ แลว้ ท่โี รงพยาบาล
เจา้ ของโครงการรับผิดชอบโดยจา่ ยเงนิ ชดเชยใหค้ นงานตามกฎหมาย
***ส่งิ ท่ีนกั เรียนบนั ทึกแตกต่างกันออกไป ตามข้อมลู ทแ่ี ตล่ ะคนสืบคน้ มา

21

ใบงานที่ 3.2

ขน้ั ตอนการปฏิบัตกิ ิจกรรม
นกั เรยี นบอกอาชีพของผปู้ กครอง พรอ้ มคิดหาแนวทางปอ้ งกนั โรคและอบุ ตั ภิ ัยทเ่ี กิดจากการทำางานของ
ผู้ปกครอง (อาจเปน็ แนวทางทนี่ อกเหนือจากทเ่ี คยปฏิบตั ิกันมา) บันทกึ ลงในท่ีวา่ งด้านลา่ ง

อาชพี ของผปู้ กครอง และแนวทางการปอ้ งกันโรคและอุบตั ิภยั ท่ีเกดิ จากการทาำ งาน
1. คาำ ตอบของนักเรยี นจะแตกต่างกนั ตามลกั ษณะอาชพี ของผู้ปกครอง
2. แนวทางป้องกันโรคและอุบัติภัยจากการทำางาน ให้ศึกษาจาก หัวข้อ “โรคที่เกิดจาก
การทำางานและแนวทางปอ้ งกัน” หนว่ ยการเรียนรู้ท ่ี 3

แบบประเมนิ ผลการเรียนรูหนวยที่ 4

ตอนที่ 1 จงเลือกคำาตอบท่ถี กู ตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. ข้อใดไม่เป็นสภาพแวดลอ้ มในการทำางาน
ค. สนามหญ้าหน้าอาคาร
2. บุคคลใดอยู่ในสภาพแวดลอ้ มการทำางานทไี่ มด่ ี

ง. ชิงชัยมกั ถกู หัวหน้างานจับผิดอย่เู สมอ
3. ข้อใดเปน็ สภาพแวดล้อมด้านชวี ภาพ

ก. เชอ้ื โรคและฝุน่ ละออง
4. ข้อใดเปน็ ผลมลพิษจากสภาพแวดลอ้ มดา้ นชีวภาพ

ข. ชาวนาถูกงกู ดั

22
5. ข้อใดเป็นการปอ้ งกนั ตนเองจากมลพิษด้านชีวภาพ
ค. รักษาความสะอาดของผวิ หนงั อาบนํ้าให้สะอาดหลังทำ�งานเสรจ็
6. ขอ้ ใดเกยี่ วข้องกับมลพิษสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ก. สถานที่ทำ�งานมีความรอ้ นสูงเกินกวา่ 41 องศาเซลเซียส
7. เมื่อร่างกายของมนุษยไ์ ดร้ ับความรอ้ นเกนิ ไปจะก่อให้เกิดผลตามขอ้ ใด
ข. มึนงง อ่อนเพลีย ชกั หมดสติ
8. แสงข้อใดเปน็ อันตรายต่อตามากที่สดุ
ง. แสงในช่วงคลนื่ ความถีว่ ิทยุ
9. ข้อใดหมายถงึ “ไฟฟา้ ลดั วงจร”
ก. ไฟฟ้าชอร์ต
10. สถานท่ีอับอากาศ มสี ภาพตามข้อใด
ค. ในอุโมงคท์ ีม่ กี า๊ ซสามารถติดไฟได้
11. การป้องกนั คนงานไม่ให้ได้รบั อันตรายจากความร้อน ขอ้ ใดเปน็ วธิ ีทีง่ ่ายและปลอดภยั ที่สดุ
ง. นำ�ฉากอะลมู เิ นยี มมากน้ั ระหว่างจดุ ก�ำ เนิดความรอ้ นและคนงาน
12. ข้อใดควรปฏิบัติเกยี่ วกับการควบคมุ และป้องกันอนั ตรายจากแสง
ข. ให้คนงานใสแ่ ว่นตาทส่ี ามารถกันแสงและรังสไี ด้
13. ขอ้ ใดเป็นสาเหตุของการเกดิ มลพิษทางเสยี งได้มากที่สุด
ค. เครอื่ งจักรเก่า
14. หากจำ�เปน็ ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งจกั รที่มีการส่ันสะเทอื นมาก ควรปฏิบัติตามขอ้ ใด
ก. ใชว้ สั ดุปอ้ งกนั การส่นั สะเทอื นไวใ้ ต้เครือ่ งจกั ร
15. ข้อใดเป็นมลพษิ จากสภาพแวดล้อมทางดา้ นเคมี
ค. ละออง
16. ฝุ่นขนาดใดสามารถปะปนกบั อากาศเข้าสรู่ ะบบทางเดินหายใจได้
ก. เลก็ กวา่ 10 ไมครอน
17. สารเคมเี ขา้ สู่ร่างกายทางการหายใจ ทางการกนิ และการดดู ซึม แต่ในท่สี ดุ จะเข้าไปอยู่ทใ่ี ดของร่างกาย
ค. กระแสเลือด
18. การปอ้ งกนั ตนเองจากมลพษิ สภาพแวดลอ้ มด้านเคมี ขอ้ ใดไมค่ วรปฏบิ ัติ
ข. ทานอาหารขณะท�ำ งานกบั สารเคมี
19. คนงานทมี่ อี าการดวงตาเมอ่ื ยลา้ เนอื่ งจากท�ำ งานในทที่ ม่ี แี สงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ เกดิ จากมลพษิ สภาพแวดลอ้ ม
ขอ้ ใด
ก. มลพษิ ด้านการยศาสตร์
20. ข้อใดเปน็ การควบคมุ และปอ้ งกนั มลพิษสภาพแวดล้อมด้านการยศาสตร์
ข. เก็บรกั ษา จัดระเบยี บและท�ำ ความสะอาดของสถานที่ทำ�งานอยู่เสมอ

23

ตอนท่ี 2 จงตอบคำ�ถามต่อไปน้ี

1. จงอธบิ ายรายละเอียดของสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งาน
1. บคุ คล ไดแ้ ก่ เพือ่ นรว่ มงาน ผบู้ ังคบั บัญชา ผ้ใู ต้บังคับบัญชา ท่ที ำ�งานรว่ มกัน หากมีความสัมพนั ธ์
ที่ดีต่อกนั ไม่มีเรอ่ื งบาดหมางหรือขัดแยง้ กนั หนั หนา้ เข้าหากันเพ่อื ปรกึ ษาและรว่ มกันแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดข้นึ
ในทิศทางเดียวกัน หรือให้เกียรติซ่ึงกันและกัน หัวหน้ายอมรับฟังความคิดเห็นของลูกน้อง ขณะเดียวกัน
ลกู นอ้ งตอ้ งเชอื่ ฟงั ค�ำ สง่ั ของหวั หนา้ งาน หากเปน็ เชน่ นี้ จดั วา่ เปน็ สภาพแวดลอ้ มการท�ำ งานทเี่ กยี่ วกบั บคุ คลทดี่ ี
ความสุขในการท�ำ งานย่อมเกดิ ข้ึน
2. มใิ ชบ่ คุ คล ไดแ้ ก่เครอื่ งมอื เครอื่ งจกั รรวมถงึ อปุ กรณต์ า่ งๆทใี่ ชส้ �ำ หรบั การปฏบิ ตั งิ านหากมสี ภาพทดี่ ี
มีจ�ำ นวนทเ่ี พียงพอ ท�ำ ใหก้ ารทำ�งานคลอ่ งตัวย่ิงขึ้น ทัง้ นยี้ งั รวมถงึ บรรยากาศของสถานทท่ี ำ�งานดว้ ย ไดแ้ ก่
อากาศ เสียง แสงสว่าง ฝนุ่ ละออง กล่นิ ความร้อน เปน็ ต้น หากสภาพแวดล้อมท่มี ใิ ชต่ วั บคุ คลมคี วามพรอ้ ม
ไมม่ ีการรบกวนผ้ปู ฏบิ ัติงาน จะสง่ ผลให้งานที่ออกมามีประสิทธภิ าพดว้ ย
3. ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เป็นปัจจัยสำ�คัญอีกด้านหนึ่งของผู้ปฏิบัติงาน สามารถสร้างความ
พงึ พอใจ ความเตม็ ใจ และความกระตอื รอื รน้ ของผปู้ ฏบิ ตั ิงานได้

2. จงบอกสง่ิ ท่ีเปน็ มลพิษจากสภาพแวดล้อมด้านชวี ภาพ
เช้อื จุลนิ ทรีย์ พืช และสัตว์ ทอ่ี ย่ใู นสถานท่ที ำ�งาน
3. จงอธิบายแนวทางป้องกันมลพษิ จากสภาพแวดลอ้ มดา้ นชวี ภาพ
1. รักษาความสะอาดของผิวหนัง ไม่สัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค หรือใช้อุปกรณ์เพ่ือป้องกันฝุ่นละออง
หรือเช้ือโรคเข้าสู่ร่างกาย
2. เม่ือมีบาดแผลจะต้องรีบจัดการทันทีไม่ปล่อยทิ้งไว้ หากเป็นแผลขนาดใหญ่ เลือดออกมากหรือ
แผลทไ่ี มส่ ามารถน�ำ สงิ่ สกปรกออกจากแผลไดเ้ อง เชน่ โดนตะปเู ปน็ สนมิ ต�ำ สตั วม์ พี ษิ กดั หรอื กดั จนเปน็ แผล
ใหญ่ เป็นต้น จะต้องรีบไปหาหมอทนั ที ส่วนแผลขนาดเลก็ ต้องรบี ล้างให้สะอาดด้วยน้าํ เปลา่ หรอื นา้ํ เกลือ
จากนนั้ ใส่ยา และปิดด้วยปลาสเตอร์
3. ฉีดวัคซนี ป้องกนั บาดทะยัก
4. สวมรองเท้าขณะท�ำ งาน ซึ่งเปน็ รองเท้าท่สี ามารถปอ้ งกนั นา้ํ ปอ้ งกันเช้ือโรค และปอ้ งกนั จากการ
กดั ต่อยของสตั ว์ได้
5. รับประทานอาหารท่ปี รุงสกุ และดืม่ นํา้ ทส่ี ะอาด
4. มลพิษจากสภาพแวดลอ้ มดา้ นกายภาพที่เกิดจากแสงมอี นั ตรายต่อดวงตาอย่างไร
เป็นอนั ตรายตอ่ ตาท�ำ ให้เกิดตาอกั เสบ ตาขุน่ มวั หรอื ถึงขัน้ ตาบอดได้

24
5. แสงสวา่ งในการทำ�งานทีน่ ้อยเกินไปหรอื มากเกนิ ไปก่อใหเ้ กดิ ผลต่อผูป้ ฏิบตั ิงานอยา่ งไร
สวา่ งนอ้ ยเกนิ ไป จะท�ำ ใหต้ าท�ำ งานหนกั เกดิ การเมอ่ื ยลา้ ปวดกระบอกตา มนึ ศรี ษะ ท�ำ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพ
ในการท�ำ งานลดลง หรอื อาจน�ำ ไปสกู่ ารเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้ หากแสงสวา่ งมากเกนิ ไป หรอื แสงจา้ สง่ ผลใหต้ าเกดิ
การสะทอ้ นแสง การมองเหน็ จึงไมช่ ัดเจน เมอื่ ยตา ปวดตา วงิ เวียน มึนศรี ษะ กลา้ มเน้ือตากระตกุ และน�ำ ไป
ส่กู ารเกิดอบุ ัติเหตุได้เชน่ กนั
6. การท�ำ งานในสถานทส่ี น่ั สะเทอื นกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ร่างกายอย่างไร
หากมกี ารสน่ั สะเทอื นทงั้ ตวั จะท�ำ ใหเ้ กดิ เสยี การทรงตวั ปวดหลงั ร�ำ คาญ ลดประสทิ ธภิ าพในการท�ำ งาน
และอาจสง่ ผลอันตรายถึงอวัยวะภายในดว้ ย กรณีของการสน่ั สะเทอื นเฉพาะที่ ท�ำ ใหม้ อี าการชา ปวด และ
กระดูกขาดแคลเซยี ม
7. เกย่ี วกบั มลพษิ จากสภาพแวดลอ้ มการท�ำ งานดา้ นกายภาพ องคก์ รสามารถปอ้ งกนั และควบคมุ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน
ปลอดภยั จากความร้อนด้วยวธิ ใี ด
1. พิจารณาเลอื กคนงานท่ีมีคุณสมบตั เิ หมาะสมกบั การท�ำ งานในสถานทีท่ ี่มีอากาศร้อน
2. ตรวจสุขภาพคนงานก่อนเขา้ ท�ำ งาน และตอ้ งมีการตรวจสขุ ภาพเปน็ ระยะดว้ ย
3. ก�ำ หนดมาตรฐานความปลอดภยั ในการท�ำ งาน เชน่ ชว่ั โมงการท�ำ งานอยา่ งเหมาะสมกบั ความหนกั
เบาของงาน ระดบั ความร้อนทีไ่ ด้รับซง่ึ แต่ละคนมีความแตกตา่ งกัน เปน็ ตน้
4. ใช้เคร่อื งป้องกันอันตรายส่วนบคุ คล เช่น เสือ้ ถุงมอื หมวก แวน่ ตา ชุดคลมุ พเิ ศษ เปน็ ต้น
5. จดั สวสั ดิการท่จี ำ�เปน็ ส�ำ หรับคนงาน เชน่ หอ้ งอาบน้ํา นํ้าด่มื ท่ีมผี งเกลือแร่ เปน็ ตน้
8. จงบอกส่ิงท่ีเป็นมลพิษสภาพแวดลอ้ มดา้ นเคมี
ฝนุ่ (Dust) ฟูม (Fume) ละออง (Mist) ไอสาร (Vapor) กา๊ ซ (Gas) ควัน (Smoke)
9. จงบอกแนวทางป้องกนั และควบคมุ มลพิษสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งานด้านเคมี
1. แยกบริเวณท่ีใชส้ ารเคมไี ว้ในทเี่ ฉพาะ ไม่ให้ปะปนกับบริเวณอ่ืน
2. อบรม ใหค้ วามร้กู บั คนงานเก่ียวกับอนั ตรายจากสารพิษ และวธิ กี ารปฏิบตั ิตนเมอื่ ได้รบั สารพษิ
3. จดั หาเครอ่ื งปอ้ งกนั อปุ กรณส์ ว่ นบคุ คลทเี่ หมาะสม เชน่ เสอื้ ผา้ ถงุ มอื เครอื่ งชว่ ยหายใจ ชดุ ปอ้ งกนั
การทำ�งาน เป็นตน้
4. เกบ็ นาํ้ ดื่ม และแกว้ นาํ้ อยา่ งมดิ ชิด เพ่ือป้องกนั สารพษิ เข้าไปปะปน
5. หา้ มรบั ประทานอาหารหรือสบู บุหรใ่ี นสถานที่ทำ�งาน
6. แนะน�ำ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านรกั ษาความสะอาดของรา่ งกายหลงั การปฏบิ ตั งิ าน โดยจะตอ้ งอาบนา้ํ ทกุ ครง้ั
หลงั ปฏบิ ัติงาน และกอ่ นรับประทานอาหารจะตอ้ งล้างมอื ทุกครั้ง

25
10. จงอธิบายรายละเอยี ดของสภาพแวดล้อมดา้ นการยศาสตร์
สภาพแวดลอ้ มทางการยศาสตร ์ เปน็ สภาพแวดลอ้ มในการทาำ งานทจี่ ะตอ้ งมกี ารจดั ใหม้ คี วามสมั พนั ธก์ นั
อย่างเหมาะสมพนักงาน โดยเห็นความสาำ คญั ของคนทำางาน และพยายามออกแบบสรา้ งเคร่อื งมือ อุปกรณ ์
จัดระบบงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับความสามารถสมรรถนะของแต่ละบุคคล เมื่อต้องทำางานใน
สภาพแวดลอ้ มด้านการยศาสตร์ไมเ่ หมาะสม ก่อให้เกิดผลต่อผปู้ ฏิบัตงิ านดงั น้ี
1. ดวงตาเกิดอาการเมื่อยลา้ เนื่องจากการจัดแสงสว่างไม่เพยี งพอ หรือมแี สงจา้ เกินไป
2. เกิดปญั หาด้านการไหลเวยี นของโลหติ เนอ่ื งจากเก้าอี้ หรือมกี ารออกแบบทีน่ งั่ ไมเ่ หมาะสมทำาให้
เกดิ แรงกดทด่ี า้ นหลงั ของต้นขา
3. เกดิ การบาดเจบ็ บริเวณกล้ามเนอ้ื หรือสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย
4. เกิดอบุ ตั เิ หต ุ หรอื บาดเจบ็ ทเ่ี กดิ จากการวางเคร่อื งมอื อปุ กรณ์การทาำ งานท่ไี มเ่ หมาะสม

ใบงานที่ 4.1

ข้นั ตอนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
นกั เรยี นหาขอ้ มลู มลพษิ สภาพแวดลอ้ มในการทาำ งาน โดยการสมั ภาษณผ์ ปู้ ฏบิ ตั งิ านจาำ นวน 2 คน เกยี่ วกบั
มลพษิ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ านพบ จากนนั้ นาำ มาพจิ ารณาวา่ เปน็ มลพษิ สภาพแวดลอ้ มในการทาำ งานดา้ นใด พรอ้ มทงั้
บอกแนวทางแก้ไข (บันทึกลงในชอ่ งวา่ งดา้ นล่าง)
1. คำาตอบของนักเรยี นแตล่ ะคนจะแตกตา่ งกันขน้ึ อยกู่ บั ผู้ถูกสมั ภาษณ์
2. การพิจารณาประเภทของมลพิษ และแนวทางแก้ไขสามารถศึกษาได้จากเน้ือหาในหน่วย
การเรยี นรทู้ ี ่ 4

26

ใบงานที่ 4.2

ข้ันตอนการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่างสถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยในการทำางาน
พร้อมสรุปผลดีที่เกิดข้ึนหากสถานประกอบการมีการปฏิบัติตามมาตรฐานดังกล่าว (บันทึกลงในท่ีว่าง
ด้านล่าง

ตัวอย่างสถานประกอบการทีป่ ฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยในการทำางาน
บริษทั เอส แอนด์ พี ซนิ ดเิ คท จาำ กดั (มหาชน)
สรปุ ผลดีที่เกดิ ข้ึนหากสถานประกอบการมีการปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภยั ในการทำางาน
ผู้ปฏิบัติ/คนงาน ได้รับความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน คือ มีสุขภาพดีท้ังกายและใจ ไม่เกิด
อุบตั เิ หตหุ รือเปน็ โรคทีเ่ กดิ จากการทาำ งาน ส่งผลใหผ้ ลติ สนิ ค้าไดจ้ ำานวนมากขึ้น และมคี ุณภาพดขี ึ้น
***การเฉลยเป็นเพียงตวั อยา่ ง นักเรยี นสามารถยกตัวอย่างอืน่ ๆ ได ้

27 5

แบบประเมินผลการเรียนรูหนวยท่ี

ตอนท่ี 1 จงเลอื กคำาตอบทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ุดเพียงขอ้ เดยี ว

1. ข้อใดกลา่ วถึง “การยศาสตร์” ได้ถูกตอ้ งท่สี ุด
ค. การปรบั เปลี่ยนสภาพการทาำ งานให้เหมาะสมกบั คน
2. องค์การท่ีไม่นาำ หลักการยศาสตรม์ าใช้จะก่อให้เกิดผลข้อใด

ค. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านต้องทนทำางานในสภาพแวดลอ้ มทไี่ มเ่ หมาะสม
3. นายจา้ งได้รับผลดีจากการยศาสตร์ตามข้อใด

ข. ได้รบั ผลผลติ ท่ีมปี ระสิทธิภาพและจาำ นวนมากขึน้
4. วิชาอาชีวอนามัยมีประโยชน์ต่อการยศาสตร์ตามขอ้ ใด

ก. ทาำ ให้ประเมนิ สภาพการทาำ งานท่เี ปน็ อนั ตรายต่อมนุษย์ได้
5. เหตุการณใ์ ดมโี อกาสเกิดข้ึนกบั องคก์ รท่ไี มเ่ ห็นความสำาคญั ของการยศาสตร์

ง. คนงานเกดิ อบุ ตั เิ หตรุ า้ ยแรงระหวา่ งปฏิบตั ิงาน
6. การออกแบบงานอยา่ งเหมาะสมกอ่ ให้เกิดผลตามข้อใด

ก. ชว่ ยลดข้ันตอนในการทาำ งาน
7. การยืนข้อใดเหมาะสมกบั การทาำ งาน

ค. ยืนบนพ้นื ที่มีความมน่ั คง
8. รองเทา้ ข้อใดเหมาะสมสำาหรบั ใสท่ าำ งาน

ง. มขี นาดพอดกี บั ขนาดของเท้า
9. การนงั่ ทาำ งานบนเก้าอี้ขอ้ ใดเหมาะสม

ค. นั่งลาำ ตวั ตรง เอนไปข้างหนา้ เล็กนอ้ ย
10. เก้าอ้ขี ้อใดเหมาะสมกับการนั่งทำางาน

ก. ปรบั ระดบั ความสงู ต่ำาได ้
11. เคร่ืองมอื อุปกรณข์ อ้ ใดไม่ควรนำามาใช้

ข. ขาดคณุ ภาพ
12. การออกแบบสวติ ช์ควบคุมอปุ กรณ์ ข้อใดเหมาะสม

ค. อย่ใู นตำาแหน่งทสี่ ามารถเอื้อมถึงขณะปฏบิ ัตงิ านปกติ
13. งานทีต่ อ้ งใชแ้ รงมากควรมกี ารจัดการตามข้อใด

ค. จดั ให้ทาำ งานสลับระหวา่ งงานเบากบั งานหนกั

28
14. เม่ือคนงานต้องเคล่ือนย้ายวัตถุดิบจำ�นวนมากท่ีบรรจุอยู่ในถุงเดียวกันและมีน้ําหนักมากจนเคลื่อนย้าย
ลำ�บาก ควรจดั การตามข้อใด
ง. แบ่งวัตถดุ ิบบรรจใุ นถุงทเี่ ล็กลงแลว้ จึงเคลอื่ นย้าย
15. ข้อใดเปน็ การปรบั ปรงุ เสียงทแ่ี หล่งก�ำ เนิด
ค. เปลีย่ นอปุ กรณข์ องเคร่อื งจกั รที่ทำ�ให้เกดิ เสียงดงั เกนิ มาตรฐาน
16. ข้อใดเปน็ ผลที่เกิดขึน้ เม่ือคนงานทำ�งานในทท่ี ี่มีแสงสว่างน้อยเกินไป
ข. เมอื่ ยตา ปวดศรี ษะ
17. บุคคลใดเหมาะกับการทำ�งานในสถานที่ทำ�งานทมี่ คี วามรอ้ น
ง. คนงานชายทมี่ ีผลการตรวจรา่ งกายสมบรู ณ์
18. สถานท่ีท�ำ งานที่มคี วามเย็นจัดควรจัดการตามขอ้ ใด
ข. ใหค้ นงานสวมถุงมอื ถงุ เท้า รองเทา้ ที่เหมาะกบั สภาพอากาศ
19. ข้อใดควรปฏิบัตสิ �ำ หรับคนงานทที่ �ำ งานในสถานทที่ ำ�งานที่มอี ุณหภูมริ อ้ นหรอื เย็น
ก. ตรวจสุขภาพคนคนงานก่อนปฏิบัตแิ ละระหว่างปฏบิ ตั งิ านเป็นระยะ
20. สถานทป่ี ฏบิ ตั งิ านทมี่ ีความร้อนควรปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ใด
ง. ใหค้ นงานดม่ื นาํ้ อนุ่ ระหว่างปฏิบัตงิ าน และดื่มนาํ้ เย็นหลังปฏบิ ตั ิงาน

ตอนท่ี 2 จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้

1. จงอธิบายความหมายของการยศาสตร์
วทิ ยาการทีเ่ กยี่ วกบั การออกแบบงานหรอื สภาพแวดลอ้ มในการทำ�งานให้เหมาะสมกับผูป้ ฏบิ ัติงาน
2. การยศาสตร์เป็นการศกึ ษาการทำ�งานที่เกี่ยวข้องกบั ส่ิงใด
ผปู้ ฏิบตั งิ าน การออกแบบงาน สถานทที่ ำ�งาน
3. สถานทท่ี ำ�งานท่จี ดั การเรื่องการยศาสตรไ์ มเ่ หมาะสมจะก่อใหเ้ กิดผลอย่างไร
พนักงานเกดิ อาการปวดเม่ือย ไมส่ ะดวกสบาย สุขภาพอนามยั ไม่ดี เครยี ด ล้า เจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รงั
4. หลักการของการยศาสตรม์ วี า่ อยา่ งไร
จัดงานใหเ้ หมาะสมกบั คน

29
5. วชิ าการจากหลายสาขาวชิ ามปี ระโยชนต์ ่อการยศาสตร์อยา่ งไร
1. วชิ าสรรี วทิ ยาและกายวภิ าคศาสตร์ ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจถงึ โครงสรา้ ง สดั สว่ น การท�ำ งานของอวยั วะตา่ งๆ
ของรา่ งกาย
2. วิชาจิตวทิ ยาทำ�ใหเ้ ข้าใจเรอื่ งการท�ำ งานของระบบประสาทและสมอง และพฤติกรรมของมนุษย์
3. วชิ าวิศวกรรมศาสตร์ ทำ�ให้เขา้ ใจเทคนิคตา่ งๆ เก่ยี วกับการผลิตและเทคโนโลยี
4. วชิ าอาชีวอนามยั ท�ำ ใหส้ ามารถประเมนิ สภาพการทำ�งานที่เปน็ อนั ตรายต่อมนุษย์
5. วชิ าวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพเช่อื มโยงกับเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ท�ำ ให้ทราบแนวการประเมนิ
6. จงบอกประโยชน์ของการยศาสตร์
1. ชว่ ยลดอบุ ัติเหตุทอ่ี าจเกิดขนึ้ ระหว่างทำ�งาน
2 ชว่ ยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพและความสามารถในการทำ�งานของผปู้ ฏบิ ัติงาน
3. ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการท�ำ งาน
4. ช่วยลดขัน้ ตอนในการท�ำ งาน เนือ่ งจากไดม้ กี ารออกแบบงานอย่างเหมาะสม
5. ช่วยลดต้นทุนการผลิต เม่ือพนักงานได้รับความสะดวกสบายช่วยให้สามารถทำ�งานได้มากขึ้นใน
ระยะเวลาเทา่ เดมิ จึงท�ำ ให้ลดตน้ ทนุ การผลิตลงได้
6. ชว่ ยใหเ้ กิดขวัญและก�ำ ลังใจท่ีดีในการทำ�งาน
7. การยนื ท�ำ งานบนพื้นทไี่ มม่ คี วามมั่นคงกอ่ ให้ผลเสยี อย่างไร
ท�ำ ใหเ้ กดิ ความวติ กกงั วล และตอ้ งพยายามรกั ษาสมดลุ ของรา่ งกายอยตู่ ลอดเวลา ท�ำ ใหส้ ญู เสยี พลงั งาน
โดยไมจ่ ำ�เป็น และมคี วามเสี่ยงตอ่ การเกิดอบุ ัตเิ หตไุ ดง้ า่ ย
8. จงอธิบายการจัดโต๊ะส�ำ หรบั น่ังอ่านหนงั สือ
โต๊ะท่ีใช้สำ�หรับน่ังอ่านหนังสือ ต้องสามารถวางแขนและข้อศอกได้อย่างสบาย เก้าอี้ที่ใช้ควรปรับ
ระดบั ความสงู -ตาํ่ ได้ และมีทพี่ ักเทา้ ท่สี ะดวกต่อการเคล่ือนไหวเท้าได้อยา่ งสบาย การปรับเกา้ อ้ีท�ำ งาน ควร
ใหม้ ีความสูงระหวา่ ง 40-53 เซนตเิ มตร ปรับพนกั พิงไปในแนวด่ิง 15-24 เซนติเมตรจากระดับทนี่ ่งั ที่นงั่ มี
ขนาดความลกึ 35 เซนติเมตร ดา้ นหนา้ ของเก้าอ้ีมคี วามโคง้ มนเลก็ นอ้ ย ห้มุ ดว้ ยเน้ือผ้าทอี่ ากาศไหลผา่ นได้
งา่ ย การหมุ้ เกา้ อช้ี ว่ ยปอ้ งกนั การลน่ื ออกจากเกา้ อข้ี ณะนงั่ นอกจากนเี้ กา้ อค้ี วรมคี วามมน่ั คงแขง็ แรง สามารถ
เคล่อื นทไี่ ดอ้ ยา่ งอสิ ระ
9. การออกแบบอุปกรณค์ วบคมุ ควรปฏิบตั อิ ย่างไร
1. สวติ ช์ควบคมุ คันโยก และปุ่มควบคุม ควรอยู่ในต�ำ แหน่งท่ีสามารถเอ้อื มถงึ ขณะทป่ี ฏบิ ัติงานปกติ
2. เลือกอุปกรณ์ควบคุมที่เหมาะสมกับลักษณะของงาน งานละเอียดควรใช้อุปกรณ์ควบคุมด้วยมือ
สว่ นงานที่ต้องออกแรงมากอาจเลอื กใช้อปุ กรณค์ วบคมุ ด้วยเท้า
3. อปุ กรณค์ วบคมุ ควรให้เหมาะสมกบั การใชไ้ ดท้ งั้ มือซ้ายและมอื ขวา
4. ออกแบบให้อปุ กรณค์ วบคุมฉุกเฉนิ แตกต่างจากอุปกรณค์ วบคุมทวั่ ไป

30
10. การทำางานในสถานทที่ ำางานที่มีอุณหภูมิไม่เหมาะสมก่อให้เกิดผลเสียอย่างไร
อณุ หภูมทิ ่ีไม่เหมาะสมจะสง่ ผลต่อประสทิ ธิภาพในการทำางาน เชน่ อากาศร้อนอบอา้ ว ทำาให้พนักงาน
เกิดความออ่ นเพลีย เม่อื ยล้า ประสทิ ธิภาพในการทำางานลดลง หรอื เวลาทอ่ี ากาศเยน็ เกนิ ไป ทำาใหเ้ กิดการ
ไม่ต่ืนตัว ไมก่ ระฉับกระเฉง

ใบงานท่ี 5.1

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม
นกั เรยี นทดลองนง่ั เขยี นหนงั สอื ทบี่ นเกา้ อ ้ี และโตะ๊ ทไ่ี มไ่ ดม้ าตรฐานเปน็ เวลานานประมาณ 1 ชว่ั โมงขน้ึ ไป
แลว้ บอกความรู้สึก หรืออาการทีเ่ กิดขึ้น บันทกึ ลงในทว่ี า่ งด้านล่าง
ผลทบ่ี ันทกึ แตกตา่ งกันตามความรสู้ ึก และอาการของนักเรียนแตล่ ะคน

ใบงานที่ 5.2

ขัน้ ตอนการปฏิบัตกิ ิจกรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลหาเหตุการณ์เกี่ยวกับผู้ป่วยท่ีมีสาเหตุมาจากการทำางานในสถานท่ีทำางานที่บริหาร
การยศาสตรท์ ไี่ มเ่ หมาะสม โดยบอกรายละเอยี ดการเจบ็ ปว่ ย พรอ้ มทง้ั แจง้ แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู ดว้ ย บนั ทกึ
ขอ้ มูลลงทวี่ า่ งด้านลา่ ง

ขอ้ มูลท่ีนักเรยี นบันทึกแตกตา่ งกนั ตามขอ้ มูลท่ีคน้ ควา้ มา

31 6

แบบประเมินผลการเรียนรูหนว ยท่ี

ตอนท่ี 1 จงเลือกคาำ ตอบทถี่ กู ต้องทสี่ ดุ เพยี งขอ้ เดียว

1. สวัสดกิ ารขอ้ ใดท่ีนายจ้างจะตอ้ งจดั ใหล้ กู จ้างตามทีก่ ฎหมายกาำ หนด
ข. น้าำ ดืม่ หอ้ งน้าำ ห้องพยาบาล

2. การจดั สวัสดกิ ารให้แก่คนงานนอกเหนือจากท่กี ฎหมายกาำ หนดก่อให้เกิดผลดขี อ้ ใด
ค. ลกู จา้ งเกดิ ความรักในองค์กรและตัง้ ใจทาำ งาน

3. เจ้าหน้าท่ีความปลอดภยั ควรมคี ณุ สมบตั ติ ามขอ้ ใด
ง. ประเมินอนั ตรายทอ่ี าจเกิดจากการทาำ งานได ้

4. ข้อใดไมใ่ ชเ่ จา้ หนา้ ทร่ี ะดับความปลอดภัยในการทำางาน 5 ระดับตามกฎกระทรวง
ง. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

5. เจา้ หน้าที่ความปลอดภยั ขอ้ ใดมคี วามสำาคัญในการปกป้องคมุ้ ครองลกู จา้ งให้ปลอดภัย
ข. เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ระดับวิชาชีพ

6. ข้อใดไมใ่ ชห่ นา้ ที่ของเจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ระดับวิชาชพี
ค. จดั กจิ กรรมแรงงานสัมพันธ์

7. การทำางานของนักสขุ ศาสตรอ์ ุตสาหกรรมจะคาำ นงึ ถงึ ขอ้ ใด
ง. สขุ ภาพและความกินดอี ยูด่ ี

8. พยาบาลอาชวี อนามยั ใหบ้ ริการแก่คนงานตามขอ้ ใด
ข. ป้องกันและรักษาโรคท่เี กิดขึ้นกับคนงาน

9. คนงานที่เปน็ โรคเรือ้ รังควรได้รบั การรักษาจากใคร
ข. แพทยอ์ าชวี อนามัย

10. หากคนงานไม่ไดร้ ับความสะดวกในการทาำ งาน มอี าการปวดเมื่อยจากสภาพการทาำ งาน ควรปรึกษาใคร
ข. นักการยศาสตร์

11. การประเมินความเสีย่ งและโอกาสทีค่ นงานจะไดร้ ับสารพิษเปน็ หนา้ ท่ีของใคร
ค. นกั พิษวทิ ยา

12. การทำางานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำางานให้สำาเร็จ นายจ้างจะต้องมีบทบาทสำาคัญ
ตามข้อใด

ค. อนมุ ตั งิ บประมาณเพอ่ื ดาำ เนินการ
13. เกี่ยวกบั งานอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ลูกจา้ งควรมคี ุณสมบัตติ ามข้อใด

ค. มีความรู้เก่ียวกบั แนวทางการกนิ ดอี ยู่ดี

32
14. การท�ำ งานใหง้ านอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ประสบความสำ�เร็จ คนงานควรกระทำ�ตามขอ้ ใด
ก. ปฏิบัตติ ามระเบยี บขององคก์ ร
15. หลักการจัดการอาชวี อนามยั และความปลอดภัยในสถานประกอบการ มแี นวคดิ ตามขอ้ ใด
ง. ข้อ ก. และ ข. รวมกนั
16. ขอ้ ใดเป็นงานดา้ นการจดั การ
ข. การจดั โครงสร้างการท�ำ งาน พร้อมกำ�หนดหน้าที่รับผดิ ชอบ
17. การวางแผนงานดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั จะตอ้ งกระท�ำ ข้อใดเปน็ ขน้ั ตอนแรก
ก. ทบทวนสถานะเริม่ ต้น
18. การนำ�แผนการจดั การดา้ นอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการท�ำ งานไปปฏิบัติ ควรกระท�ำ ตามขอ้ ใด
ค. มีการกำ�หนดระยะเวลาทแ่ี นน่ อนและใชท้ รพั ยากรอย่างพอเพยี ง
19. กจิ กรรมใดชว่ ยใหเ้ กดิ ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยในสถานทท่ี ำ�งาน
ก. กิจกรรม 5 ส.
20. การตรวจสขุ ภาพพนักงานประจ�ำ ปกี ่อใหเ้ กดิ ผลดีตามขอ้ ใด
ค. ชว่ ยใหร้ กั ษาได้ทันเวลาหากพบโรคในระยะเริ่มต้น

ตอนท่ี 2 จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้

1. จงอธิบายประเภทของการจดั การดา้ นอาชีวอนามัย และความปลอดภยั ในสถานประกอบการ
1. การจดั ตามกฎหมาย เปน็ การจดั สวสั ดกิ ารตามทก่ี ฎหมายก�ำ หนด เชน่ นา้ํ ดม่ื หอ้ งนาํ้ หอ้ งพยาบาล
บริการทางการแพทย์ ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งาน เปน็ ต้น
2. นอกเหนอื จากทก่ี ฎหมายก�ำ หนด เปน็ ไปตามนโยบายของเจา้ ของสถานประกอบการ หรอื นโยบาย
การบรหิ ารทต่ี อ้ งการใหป้ ระโยชนแ์ กล่ กู จา้ ง อาจเปน็ การจงู ใจใหล้ กู จา้ งมกี �ำ ลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ บรกิ าร
รถรบั ส่ง การแจกชดุ ยนู ิฟอรม์ โบนัส การพาไปเท่ยี วพกั ผอ่ น การใหส้ ว่ นลดในการซ้ือผลติ ภณั ฑ์ขององคก์ ร
เป็นต้น
2. กฎกระทรวง กำ�หนดมาตรฐานในการบริหารการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำ�งาน พ.ศ. 2549 แบ่งเจ้าหนา้ ทรี่ ะดับความปลอดภัยในการทำ�งานไว้อย่างไร
ก�ำ หนดไว้ 5 ระดับ ได้แก่
1. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดบั หวั หนา้ งาน
2. เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภยั ระดบั บรหิ าร
3. เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน
4. จา้ หน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำ งานระดับเทคนคิ ข้ันสูง
5. เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภยั ระดับวชิ าชีพ

33
3. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับใดมีหน้าที่รับผิดชอบที่สำ�คัญในการปกป้องคุ้มครองในลูกจ้างทุกคน
มีความปลอดภยั ในการทำ�งาน
เจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยระดับวิชาชีพ
4. พยาบาลอาชีวอนามัยมหี น้าท่ีอย่างไร
เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพของคนงาน โดยมขี อบเขตการด�ำ เนนิ งาน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสภาพของคนงานให้มีชีวิตอยู่ปกติสุขในสิ่งแวดล้อมการทำ�งาน
ที่ปลอดภัย โดยพยาบาลอาชีวอนามัยมีหน้าท่ีประสานระหว่างคนงานและสถานประกอบการ รวมถึงการ
แนะน�ำ สถานประกอบการใหม้ กี ารจดั บริการทีเ่ หมาะสมแกค่ นงานดว้ ย
5. แพทยอ์ าชวี อนามัยมหี น้าที่อยา่ งไร
บง่ ชถี้ งึ อาการของโรคทแ่ี สดงอาการแบบเรอ้ื รงั หรอื แบบเฉยี บพลนั สามารถรกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยของ
คนงานใหห้ าย และชว่ ยใหค้ นงานมีสถานท่ีทำ�งานท่สี ะอาดและปลอดภยั รวมถงึ การดแู ลและทดสอบตามที่
จ�ำ เปน็ เพ่อื ดแู ลสขุ ภาพของคนงานกอ่ นจะเกิดโรคจากการท�ำ งาน
6. โครงสรา้ งระบบการจัดการอาชีวอนามยั และความปลอดภยั มีองคป์ ระกอบ 8 ประการอะไรบ้าง
1. นโยบาย (Policy) เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ�เนนิ งานดา้ นความปลอดภัย
2. การจดั การ (Organizing) มกี ารจดั โครงสรา้ งการด�ำ เนนิ การ พรอ้ มก�ำ หนดหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบอยา่ ง
ชดั เจน
3. การวางแผน (Planning) การวางแผนงานดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ ม
ในการทำ�งานเปน็ ขั้นตอนท่ีส�ำ คัญ เนอื่ งจากจะท�ำ ให้สถานประกอบการมีข้อมูลและสามารถด�ำ เนนิ การเพือ่
ให้คนงานมีความปลอดภยั ในการทำ�งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
4. การนำ�ไปปฏบิ ัติ (Implementation) เปน็ การน�ำ แผนงานดา้ นอาชวี อนามยั ควาปลอดภัยและ
สภาพแวดล้อมในการทำ�งานไปปฏิบัติ ซ่ึงจะต้องมีการกำ�หนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน มีการกำ�หนดระยะ
เวลาทแี่ นน่ อน และมกี ารจดั สรรทรัพยากรมาใช้อยา่ งพอเพียง
5. การประเมนิ ผล (Evaluation) หลงั จากด�ำ เนนิ การตามแผนจะตอ้ งมกี ารประเมนิ ผลวา่ แผนดงั กลา่ ว
บรรลุตามเป้าหมายทว่ี างไว้หรอื ไม่
6. การด�ำ เนนิ การปรบั ปรงุ (Improvement) จากการประเมนิ ผลจะท�ำ ใหท้ ราบวา่ สถานประกอบการ
จะต้องปรบั ปรุงสว่ นใด
7. การตรวจสอบ (Audit) เป็นการตรวจสอบการดำ�เนินงานดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และ
สภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งานทดี่ �ำ เนนิ การอยวู่ า่ มปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งใด สามารถปอ้ งกนั อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ได ้
หรือไม่
8. การปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Continuous Improvement) เกยี่ วกบั อาชวี อนามยั ความปลอดภยั
และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน จะตอ้ งมกี ารทบทวนการด�ำ เนนิ การอยเู่ สมอ หากมขี อ้ บกพรอ่ งจะตอ้ งมกี าร
แกไ้ ข ปรบั ปรุง โดยอาจมีการข้อเสนอแนะจากทุกภาคสว่ นด้วย

34
7. ในขนั้ ตอนของการวางแผนงาน จะตอ้ งมกี ารบง่ ชอี้ นั ตรายและความเสยี่ ง ในการบง่ ชอี้ นั ตราย และความเสย่ี ง
น้นั ควรน�ำ สิง่ ใดมาใชเ้ ปน็ เกณฑ์การประเมิน
โอกาสและความรุนแรงของอันตราย
8. ตามหลักการอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ในการท�ำ งาน เมอื่ น�ำ แผนไปปฏบิ ตั ิควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร
จะต้องมีการกำ�หนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน มีการกำ�หนดระยะเวลาที่แน่นอน และมีการจัดสรร
ทรัพยากรมาใช้อยา่ งพอเพยี ง
9. ตามหลกั การอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำ�งาน จงอธิบาย “การปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเนื่อง”
การปรับปรุงอย่างต่อเนอ่ื งคือจะตอ้ งมกี ารทบทวนการดำ�เนนิ การอยูเ่ สมอ หากมขี อ้ บกพร่องจะต้องมี
การแก้ไข ปรบั ปรุง โดยอาจมีการข้อเสนอแนะจากทุกภาคสว่ นด้วย
10. จงอธิบายรายละเอียดของโครงการ Safety First
โครงการ Safety First หรือปลอดภัยไว้ก่อน เป็นโครงการท่ีต้องการป้องกันอันตรายจากการเกิด
อุบตั เิ หตุในขณะทำ�งาน หากคนงานยดึ หลกั Safety First กจ็ ะสามารถลดการบาดเจ็บและการสูญเสยี ชวี ติ
และทรัพย์สินลงได้ หลัก Safety First มีดงั น้ี
1. ป้องกันจากตัวบุคคล มีการกำ�หนดอย่างเคร่งครัดให้คนงานแต่งกายให้เรียบร้อย รัดกุม และใช้
เคร่อื งปอ้ งกันอนั ตรายสารเคมีหรอื มลพิษต่างๆ
2. ป้องกนั จากเครือ่ งมอื เครอ่ื งใช้ มกี ารจดั วางเครื่องมือเคร่อื งใชอ้ ย่างเปน็ ระเบียบ มีการตรวจสอบ
และบำ�รุงรกั ษาอยู่เสมอเพ่อื ไม่ให้ช�ำ รดุ จนเกดิ อนั ตรายต่อผู้ใชง้ าน
3. ป้องกนั จากสภาพแวดลอ้ ม มีการจดั พ้ืนท่ที �ำ งานให้สะอาด ปลอดภยั เปน็ ระเบียบ มกี ารก�ำ หนด
หลักเกณฑอ์ ย่างตายตวั และทสี่ ำ�คญั คนงานจะต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเครง่ ครดั จึงจะก่อให้เกิดความส�ำ เรจ็ ได้

35

ใบงานท่ี 6.1

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติกจิ กรรม
นกั เรยี นหาขอ้ มลู เกย่ี วกบั การตรวจสขุ ภาพประจาำ ปขี องพนกั งานขององคก์ รใดองคก์ รหนง่ึ บนั ทกึ ลงในทวี่ า่ ง
ดา้ นล่าง พร้อมกบั วิเคราะห์ว่ากิจกรรมนก้ี ่อใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ พนกั งานอย่างไร พรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบ

1. ตวั อย่างองค์กรทนี่ ักเรียนตอบแตกต่างกันตามข้อมลู ทคี่ ้นคว้ามา
2. ผลดขี องกจิ กรรมตรวจสขุ ภาพประจาำ ปขี องพนกั งาน คอื เพอ่ื หาปจั จยั เสยี่ งของการเกดิ โรค
หากตรวจพบในระยะเรมิ่ ตน้ จะไดร้ บั การรกั ษา หรอื มกี ารปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภยั
สถานประกอบการจงึ มกี ารตรวจสขุ ภาพประจาำ ปขี องคนงานเพอื่ ใหท้ ราบถงึ ความสมบรู ณข์ องรา่ งกาย
หรอื หากพบว่ามโี อกาสท่จี ะเกิดโรคใด จะได้รบี หาแนวทางในการรกั ษาหรือปอ้ งกันไม่ให้ร้ายแรงขึน้

ใบงานท่ี 6.2

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติกิจกรรม
นักเรียนสืบค้นข้อมูลการจัดกิจกรรมหรือโครงการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำางานของ
กิจการ 1 กิจการ บันทึกลงในท่ีว่างพร้อมแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ีคนงานจะได้รับจาก
กจิ กรรมน้ี

1. คำาตอบของนักเรยี นแตกต่างกันออกไปตามรายละเอยี ดของขอ้ มูลท่สี บื ค้นมา
2. การแสดงความคิดเห็น ศึกษาจากหัวข้อ “ตัวอย่างกิจกรรมด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย” หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6

36 7

แบบประเมินผลการเรยี นรูหนว ยท่ี

ตอนท่ี 1 จงเลอื กคาำ ตอบท่ถี ูกต้องที่สุดเพียงข้อเดยี ว

1. วงกลม เป็นสญั ลกั ษณแ์ สดงขอ้ ใด
ค. การหา้ มและข้อบังคบั
2. สามเหล่ียม เปน็ สัญลกั ษณ์แสดงข้อใด
ก. การเตอื น
3. ส่เี หล่ยี ม เปน็ สญั ลักษณแ์ สดงข้อใด
ข. แสดงขอ้ มูล ข้อแนะนำา
4. เกย่ี วกบั สีเพ่ือความปลอดภัย สีแดง หมายความวา่ อยา่ งไร
ก. หยุด อันตราย ไฟ
5. “สวมเข็มขดั นริ ภัย” จะตอ้ งใช้สญั ลักษณ์สีใด
ข. สีนำ้าเงนิ
6. “ห้ามรถผ่าน” จะต้องใชส้ ญั ลกั ษณ์สีใด
ก. สีแดง
7. ป้ายแจง้ ทางออก ทางหนไี ฟ จะต้องใช้สัญลักษณส์ ใี ด
ก. สีแดง
8. “ระวงั พืน้ ลืน่ ” จะตอ้ งใชส้ ญั ลกั ษณส์ ีใด
ค. สเี หลือง
9. ข้อความใดไม่ควรปรากฏอยูใ่ นเครื่องหมายบังคับ
ค. สวมชุดสภุ าพ
10. ขอ้ ความใดไม่ควรปรากฏอยใู่ นเคร่ืองหมายหา้ ม
ง. หา้ มออกจากหอ้ งสอบก่อนเวลา 15 นาที
11. ขอ้ ใดเป็นประโยชนข์ องเครื่องหมายแนะนาำ
ก. ทำาให้ทราบถงึ ภาวะความปลอดภัยและสถานทต่ี า่ งๆ
12. ตัวอกั ษรในเคร่อื งหมายเสรมิ ควรมีลักษณะตามขอ้ ใด
ข. เรียบง่าย ไม่มีลวดลาย
13. ข้อความใดมักเหน็ ปรากฏในป้ายเสรมิ
ก. ระวงั อันตราย

37

14. เครื่องหมายปอ้ งกันอคั คภี ยั ส่ือสารใหท้ ราบถึงสงิ่ ใด
ข. การใชถ้ ังดับเพลิง
15. สต๊ิกเกอ้ รเ์ รืองแสง เหมาะส�ำ หรบั ใช้ในสถานทใ่ี ด
ก. โรงภาพยนตร ์
16. สัญลักษณท์ ใ่ี ช้ส�ำ หรับติดบรรจภุ ัณฑ์ของสารเคมี คือขอ้ ใด
ค. หัวกะโหลก
17. เหตใุ ดจงึ มกี ารยกเลิกสญั ลกั ษณท์ ี่ใชส้ �ำ หรับตดิ บรรจุภณั ฑส์ ารเคมแี บบเดมิ
ก. ผู้ใช้เกิดความสับสนเนือ่ งจากใชก้ บั สารเคมที ุกประเภท
18. การก�ำ หนดเขตพื้นท่คี วามปลอดภัย มปี ระโยชนต์ ามขอ้ ใด
ข. ทำ�ใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานเกิดความระมัดระวงั
19. เก่ียวกับชอ่ งทางผา่ น ข้อใดกลา่ วถกู
ง. หา้ มนำ�สง่ิ ของมาวางกีดขวาง
20. ขอ้ ใดเป็นพน้ื ท่ีอันตราย
ก. เขตไฟฟ้าแรงสูง

ตอนท่ี 2 จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี

1. จงอธิบายรายละเอียดของเครื่องหมายความปลอดภัย
เครอื่ งหมายความปลอดภยั หมายถงึ สง่ิ ทใ่ี ชส้ อ่ื ความหมายเกย่ี วกบั ความปลอดภยั โดยมสี ี รปู แบบ และ
สญั ลกั ษณภ์ าพ หรอื ข้อความแสดงความหมาย เพ่ือสอื่ ถงึ ความปลอดภยั เคร่ืองหมายเพอื่ ความปลอดภยั มี
3 แบบ ได้แก่ วงกลม หมายถึง การหา้ มและข้อบงั คบั สามเหล่ยี ม หมายถึง เตอื น สีเ่ หล่ยี ม หมายถึง ข้อมูล
ขอ้ แนะน�ำ
2. จงบอกประโยชนข์ องเครือ่ งหมายความปลอดภัย
ใชส้ �ำ หรับ การเตอื นใหร้ ะวงั อันตรายที่เกิดขนึ้ การกำ�หนดให้ใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกัน และการแนะนำ�ให้
ปฏิบตั ิหรือละเวน้ การปฏบิ ัติ
3. เก่ียวกับสีเพือ่ ความปลอดภัย สแี ดง มีความหมายอยา่ งไร
หยดุ อนั ตราย ไฟ หรอื ลกั ษณะงานทเ่ี กยี่ วกบั บรเิ วณทมี่ อี นั ตรายสงู ระบบดบั เพลงิ และอปุ กรณฉ์ กุ เฉนิ
ของเครือ่ งจกั รกล
4. เก่ียวกับสเี พอ่ื ความปลอดภัย สีนํ้าเงนิ มคี วามหมายอย่างไร
บงั คบั ใหต้ อ้ งปฏิบตั ิ หรือใหร้ ะมัดระวังเปน็ พิเศษ เพราะอาจมีอันตรายเกดิ ขน้ึ ได้

38
5. เกยี่ วกับสีเพื่อความปลอดภยั สเี ขียว มีความหมายอย่างไร
สภาวะความปลอดภัย
6. เก่ยี วกบั สีเพ่อื ความปลอดภยั สเี หลอื ง มีความหมายอย่างไร
การเตือนใหร้ ะวงั อนั ตรายหรือบ่งช้วี ่ามอี ันตราย
7. จงอธิบายรูปแบบของเครอ่ื งหมายเตือน
รปู แบบของเครอื่ งหมายจะเปน็ กรอบ สามเหลย่ี มสดี �ำ ภายในสามเหลย่ี มเปน็ พนื้ สเี หลอื งมรี ปู ภาพเตอื นภยั
สีดำ�อยู่ภายในกรอบสามเหลี่ยม อาจจะมีคำ�กำ�กับไว้ใต้รูปสามเหลี่ยม เป็นกรอบสี่เหล่ียมพ้ืนที่เหลือง
เพือ่ ใหเ้ ข้าใจได้ทั้งการดแู ละการอ่าน
8. จงอธิบายรปู แบบของเคร่ืองหมายบังคับ
เคร่ืองหมายบังคับเป็นภาพอยู่ในพ้ืนที่วงกลมสีน้ําเงินรูปภาพสีขาว อาจมีคำ�กำ�กับไว้ใต้เครื่องหมาย
บังคับใหเ้ ข้าใจงา่ ยขึ้นการปฏิบัตกิ ารใช้ เป็นภาพเตือนใจหรอื เตือนสตไิ มใ่ หก้ ระท�ำ หรอื ระวงั ความปลอดภัย
9. จงอธบิ ายรูปแบบของเครอ่ื งหมายห้าม
เปน็ วงกลมมแี ถบตามขอบและแถบขวาง พนื้ สขี าว สขี องแถบตามขอบและแถบขาวเปน็ สแี ดง สขี องภาพ
เปน็ สีดำ� แสดงสญั ลักษณ์ไว้ตรงกลางของเครือ่ งหมายความปลอดภัย และถูกทับโดยแถบขวาง พนื้ ท่ีสแี ดง
ตอ้ งมอี ย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 35 ของพ้ืนทที่ ัง้ หมดของเคร่อื งหมายความปลอดภัย
10. จงอธิบายรายละเอียดของสตก๊ิ เก้อร์เรืองแสง
เปน็ นวัตกรรมใหม่ของความปลอดภัย เหมาะสำ�หรบั ปา้ ยเตอื น ป้ายแสดงทางออก ทางหนีไฟ ใช้ได้ดี
ในทม่ี ดื เชน่ โรงภาพยนตร์ สถานบนั เทงิ ตา่ งๆ ภายในอโุ มงค์ เหมอื งแร่ ลฟิ ต์ บนั ได เปน็ ตน้ สตก๊ิ เกอ้ รเ์ รอื งแสงทดี่ ี
จะตอ้ งสามารถเปลง่ แสงในทม่ี ดื ได้ มคี วามเขม้ ขน้ ของแสงสวา่ งสงู มคี วามทนทาน และสามารถเกบ็ แสงสวา่ ง
ได้ถึง 1 ช่ัวโมง 30 นาที

39

ใบงานที่ 7.1

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
สาำ รวจภายในสถานศกึ ษาของนกั เรยี น มปี า้ ยสญั ลกั ษณเ์ กยี่ วกบั ความปลอดภยั อะไรบา้ ง บนั ทกึ รายละเอยี ด
ของปา้ ยเหล่านั้นลงในท่วี ่างด้านลา่ ง

สิ่งที่นักเรียนบันทึกแตกต่างกันออกไป ตามรายละเอียดเกี่ยวกับป้ายสัญลักษณ์เกี่ยวกับความ
ปลอดภัยของแต่ละสถานศึกษา

ใบงานที่ 7.2

ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
ในชวี ติ ประจำาวันของคน ต้องพบกับเคร่ืองหมายความปลอดภยั ใดมากทสี่ ดุ ยกตัวอย่าง 5 เคร่ืองหมาย
พร้อมอธบิ ายรายละเอยี ดของเครอ่ื งหมายนั้น บันทกึ ลงในท่วี า่ งดา้ นลา่ ง

1. เครอ่ื งหมายแนะนาำ ให้สวมหมวกนริ ภยั
2. เครือ่ งหมายป้องกันอคั คภี ยั
3. เครื่องหมายทางหนไี ฟ
4. เคร่อื งหมายทางออก
5. เครอ่ื งหมายระวังอันตราย
*** สง่ิ ทนี่ กั เรียนบนั ทกึ อาจมคี วามแตกตา่ งกัน ตามประสบการณท์ พ่ี บกบั เครือ่ งหมายความปลอดภยั

40 8

แบบประเมนิ ผลการเรยี นรหู นวยท่ี

ตอนท่ี 1 จงเลือกคำาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพยี งขอ้ เดียว

1. ข้อใดกลา่ วถึงเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถกู ต้อง
ค. เปน็ สิง่ ที่กนั้ อนั ตรายจากแหลง่ กำาเนิด
2. เครื่องป้องกันอนั ตรายสว่ นบุคคลข้อใดไมค่ วรนาำ มาใช้
ง. ขาดคณุ ภาพ
3. เครอ่ื งป้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคลใช้เฉพาะบุคคลข้อใดกล่าวถูก

ง. ตอ้ งมขี นาดพอดีกบั ผสู้ วมใส่
4. เครื่องปอ้ งกันอันตรายสว่ นบคุ คลจะต้องเลอื กแบบท่ีใชง้ านงา่ ยเพราะเหตุใด

ค. เม่อื เกดิ เหตฉุ กุ เฉินจะไดส้ ามารถใชไ้ ด้ทนั ที
5. งานใดไมต่ ้องใช้หมวกนริ ภยั

ค. งานตดั เย็บเสือ้ ผ้า
6. คนงานใดจำาเปน็ ตอ้ งใช้เครื่องป้องกันหนา้ และดวงตามากที่สุด

ค. คนงานเจียร
7. เครือ่ งป้องกนั หน้าขอ้ ใดควรนำามาใช้

ข. แขง็ แรง น้าำ หนกั เบา ไม่ทำาใหเ้ กดิ อาการแพต้ ่อผวิ หนงั
8. เมอ่ื ตอ้ งทาำ งานเกย่ี วขอ้ งกับรังสแี สงที่จ้าเกินไป ควรใช้อปุ กรณ์ข้อใด

ข. แวน่ ตาที่มเี ลนส์เฉพาะ
9. ในภาวะทเ่ี กิดฝนุ่ และควันพิษในบรรยากาศอยา่ งหนกั ประชาชนควรนำาหน้ากากชนิดใดมาใช้

ก. หน้ากากชนดิ N95
10. เหตุการณ์เพลงิ ไหม้ เจ้าหนา้ ทที่ ี่เข้าไปช่วยในเหตุการณ์ควรใชห้ นา้ กากชนิดใด

ค. หนา้ กาก ชนิด Supplied – Air
11. ความดงั ระดบั ใดที่ควรจะตอ้ งใช้อปุ กรณ์ป้องกนั อันตรายระบบการได้ยนิ

ก. 90 เดซิเบล
12. คนงานที่ทาำ งานสัมผัสกับอาหารแชแ่ ข็งตลอดเวลา ควรเลือกใชถ้ ึงมอื ประเภทใด

ข. ถุงมือปอ้ งกนั อณุ หภูมิ
13. ถุงมือผา้ เหมาะกบั งานใด

ก. งานท่ีเกีย่ วกับการเกษตร

41
14. ถุงมือข้อใดไม่ควรน�ำ มาใช้
ค. ถุงมือป้องกันไฟฟา้ มีรอยขีดขว่ น
15. คนงานทีท่ ำ�งานกับเคร่ืองจกั รควรเลอื กชดุ ใดส�ำ หรับสวมใส่ขณะทำ�งาน
ข. ชุดหมี
16. คนงานขอ้ ใดควรใช้อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายของเทา้
ค. คนงานก่อสร้าง
17. คนงานข้อใดควรใช้อุปกรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการตก
ก. พนักงานท�ำ ความสะอาดกระจก
18. อปุ กรณป์ ้องกันอนั ตรายจากการตกขอ้ ใดไมค่ วรนำ�มาใช้เดด็ ขาด
ค. ท�ำ จากเชอื กท่ีเป่ือยงา่ ย
19. ข้อใดควรปฏิบัตเิ กยี่ วกบั การจงู ใจให้ผูป้ ฏิบตั ิงานใช้อุปกรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายส่วนบุคคล
ข. ยกยอ่ งชมเชยผทู้ ่ปี ฏิบัติถกู ตอ้ ง
20. ขอ้ ใดควรคำ�นึงถงึ เกย่ี วกับการจงู ใจให้ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านใช้อปุ กรณป์ อ้ งกันอนั ตรายสว่ นบุคคลมากทสี่ ุด
ก. จะตอ้ งมีจ�ำ นวนเพียงพอต่อการใช้งานของคนงานทกุ คน

ตอนท่ี 2 จงตอบคำ�ถามต่อไปน้ี

1. จงอธบิ ายความหมายของเครอื่ งป้องกนั อันตรายส่วนบุคคล
สงิ่ ของหรอื อปุ กรณส์ ง่ิ ใดสงิ่ หนงึ่ ทส่ี วมใสล่ งบนอวยั วะของรา่ งกาย อาจทงั้ หมดหรอื เพยี งสว่ นใดสว่ นหนงึ่
ของร่างกาย เพ่อื ปอ้ งกนั อนั ตรายจากอุบตั ิเหตจุ ากการท�ำ งาน
2. จงบอกขอ้ จำ�กดั ของเครื่องป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล
เครอ่ื งปอ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลไมส่ ามารถลดอนั ตรายจากแหลง่ ก�ำ เนดิ ของอนั ตรายได ้ แตเ่ ปน็ เพยี ง
ส่ิงทก่ี ัน้ อนั ตรายจากแหลง่ กำ�เนิด หากเคร่อื งป้องกันอนั ตรายขาดคุณภาพ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานจะไดร้ บั อันตรายจาก
ส่ิงท่สี มั ผสั ทนั ที
3. จงบอกประเภทของหมวกนิรภัย
1. หมวกนริ ภยั ชนดิ E (Electrical) เปน็ ชนิดทีส่ ามารถลดแรงกระแทกของวัตถุ สามารถลดอนั ตราย
ท่เี กดิ จากการสัมผัสตัวนำ�ไฟฟา้ ทนแรงดันไฟฟ้าได้ 20,000 โวลต์
2. หมวกนริ ภยั ชนดิ G (General) เปน็ ชนดิ ทสี่ ามารถลดแรงกระแทกของวตั ถุ และสามารถลดอนั ตราย
จากการสัมผสั ตวั น�ำ ไฟฟา้ ทนแรงดันไฟฟา้ ได้ 2,200 โวลต์
3. หมวกนิรภยั ชนดิ C (Conductive) เปน็ ชนดิ ทส่ี ามารถลดแรงกระแทกของวตั ถเุ ทา่ นน้ั

42
4. จงบอกประเภทของหนา้ กากเชื่อม
หน้ากากเชอื่ ม มี 3 ชนิด คือ ชนดิ มอื ถอื ชนิดสวมหวั และชนดิ ทีต่ ิดกับหมวกนริ ภยั
5. จงอธบิ ายรายละเอยี ดของหน้ากากชนิด N95
หนา้ กากชนดิ N 95 สามารถกรองอนภุ าคขนาด 0.3 ไมครอน ดว้ ยประสทิ ธภิ าพการกรอง 95% ใชแ้ นบ
กบั ใบหนา้ เพอื่ ปอ้ งกนั อากาศรวั่ เขา้ ไปดา้ นในเกนิ 10% สามารถปอ้ งกนั ฝนุ่ สารเคมี ละออง ไอ ฟมู ทปี่ นเปอื้ น
อย่ใู นอากาศไดด้ ี
6. จงบอกประเภทของเครอื่ งป้องกนั อันตรายจากการได้ยนิ
1. ท่ีอดุ หู (Ear plugs) สามารถลดเสยี งได้ 15-30 เดซเิ บล ข้นึ อยู่กับอุปกรณ์และย่ีห้อทผี่ ลิต ทำ�จาก
วัสดหุ ลายประเภท เชน่ ส�ำ ลี ใยแก้ว ยางซลิ ิโคน เปน็ ต้น
2. ที่ครอบหู (Ear Muffs) เป็นเครื่องป้องกันที่ใช้ปิดคลุมหูด้านนอก ลักษณะคล้ายถ้วย ทำ�หน้าที่
เป็นฉากกนั้ เสียง เพราะมวี สั ดกุ นั เสียง (Acoustic) เปน็ ตวั รองอยูใ่ นท่คี รอบหู วัสดุทอ่ี าจเป็นของเหลว โฟม
พลาสติก หรือยางเป็นตัวดูดซึมเสียงได้ บางชนิดมีเคร่ืองรับโทรศัพท์อยู่ภายใน สำ�หรับใช้พูดติดต่อกันใน
สถานทที่ ี่เสยี งดงั มากๆ ทค่ี รอบหูสามารถลดเสยี งได้ถึง 35-40 เดซเิ บล
7. จงอธบิ ายลกั ษณะของถงุ มอื แต่ละประเภท
1. ถงุ มอื ยาง ใชส้ �ำ หรบั ปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี และเชอื้ โรคทางดา้ นชวี ภาพ สว่ นใหญท่ �ำ มาจากยาง
หรือการสังเคราะห์ทางโพลีเมอร์ ความสามารถในการป้องกันอันตรายขึ้นอยู่กับยางท่ีใช้ผลิต ซึ่งจะต้อง
ศึกษาขอ้ มูลจากกอ่ นใช้
2. ถงุ มอื หนงั ใชส้ �ำ หรบั การปอ้ งกนั อนั ตรายจากของมคี ม การขดั การขดู ขดี หรอื บาด การสนั่ สะเทอื น
ความร้อน ความเยน็
3. ถุงมือตาขา่ ยลวด ใช้สำ�หรบั ป้องกนั อนั ตรายจากของมคี ม การชำ�แหละ การเฉอื น
4. ถงุ มอื ผา้ ใชส้ �ำ หรบั การท�ำ งานทว่ั ไป งานเกษตร ไมค่ วรใชก้ บั เครอ่ื งจกั รทมี่ กี ารหมนุ หรอื สายพาน
เพราะอาจมเี ศษด้ายหลดุ ออกมาแล้วเข้าไปเกยี่ วพัน หรอื ดงึ มือเขา้ ไปในเคร่ืองจกั รได้
5. ถุงมือปอ้ งกนั ไฟฟา้ ใชส้ ำ�หรับป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟา้ ต้องมคี ณุ สมบตั พิ เิ ศษ ทท่ี ำ�ให้ต้านทาน
ไฟฟา้ ได้ ถงุ มอื ปอ้ งกนั ไฟฟา้ จะไมท่ นกบั การขดี ขว่ น จงึ ตอ้ งสวมถงุ มอื หนงั ทบั อกี ชน้ั หนงึ่ การใชถ้ งุ มอื ปอ้ งกนั
ไฟฟา้ จะตอ้ งระวงั ไมใ่ หถ้ งุ มอื มรี อยขดี ขว่ น เพราะจะท�ำ ใหค้ ณุ สมบตั ใิ นการตา้ นไฟฟา้ ลดลง และเกดิ อนั ตราย
ต่อผู้ใช้งาน
6. ถงุ มอื ป้องกนั อุณหภมู ิ ใช้สำ�หรบั ปอ้ งกนั อันตรายจากความรอ้ น และความเย็น มกั ท�ำ จากวัสดุทีม่ ี
สว่ นประกอบของแร่ใยหนิ และอะลมู ิเนียม
7. ถุงมือป้องกันรงั สี เป็นถงุ มือท่เี คลือบดว้ ยตะกวั่ เพราะตะก่ัวมีคณุ สมบตั ใิ นการป้องกนั รังสีไดด้ ี

43
8. จงอธิบายรายละเอียดของชุดป้องกนั ความรอ้ น

ชดุ ปอ้ งกนั ความรอ้ น เปน็ ผา้ ทที่ อจากเสน้ ใยแขง็ เคลอื บชนั้ นอกดว้ ยอะลมู เิ นยี ม หรอื เสน้ ใยแอสเบสตอส
ปจั จบุ นั ในงานอตุ สาหกรรมใชผ้ า้ ทนไฟ เรยี กวา่ ผา้ “nomex” ซง่ึ มคี วามสามารถในการกนั ไฟและกนั ความรอ้ น
ได้ดี
9. จงบอกประโยชน์ของรองเท้านริ ภยั

รองเทา้ นริ ภัย (Lather Safety Footwear) สามารถปอ้ งกันอันตรายทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ กบั เทา้ เช่น วัตถุ
ทมิ่ แทง กระแสไฟฟ้า สารเคมี ความร้อน ความเย็น และยงั สามารถปอ้ งกันการลื่นไถลไดอ้ ีกด้วย
10. จงอธบิ ายประเภทของเข็มขัดนริ ภยั

เข็มขดั นริ ภัย (Safety Belt) ทโ่ี รงงานอตุ สาหกรรมนยิ มใชม้ ี 2 ประเภท ดังน้ี
1. เขม็ ขดั นริ ภยั ชนดิ ธรรมดา (Normal Type) ใชส้ าำ หรบั รบั นา้ำ หนกั ของผทู้ ที่ าำ งานในสถานทล่ี าำ บาก
เช่น การทาำ ความสะอาดบนอาคารสงู หรือการลงไปทำางานในอุโมงค์ใตด้ ิน เปน็ ต้น
2. เขม็ ขดั นิรภัยชนดิ ใช้ในยามฉุกเฉิน (Emergency Type) ใช้สำาหรบั ผปู้ ฏบิ ัติงานบนทส่ี งู เขม็ ขดั
ชนิดน้ีจะมีตัวเข็มขัดและเชือกหรือแถบนิรภัยเป็นส่วนประกอบ ซ่ึงต้องเป็นวัสดุท่ีทนต่อการเสียดสี ไม่ขาด
งา่ ย และทนต่อความรอ้ น

ใบงานท่ี 8.1

ข้ันตอนการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
นักเรียนเลือกอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 1 ชนิด ศึกษาข้อมูลรายละเอียด คุณสมบัติ วิธีการใช้
บันทกึ ลงทีว่ ่างดา้ นล่างพรอ้ มรูปภาพประกอบ

1. สิ่งทน่ี กั เรียนบนั ทกึ แตกตา่ งกันออกไป ตามอปุ กรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลทีเ่ ลอื กมา
2. ขอ้ มูลรายละเอียดของอุปกรณ์ ศกึ ษาได้จาก หวั ข้อ “ประเภทของเครือ่ งป้องกนั อนั ตราย
สว่ นบคุ คล” หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 8

44

ใบงานที่ 8.2

ข้นั ตอนการปฏิบตั กิ ิจกรรม
นักเรียนพิจารณาภายในบ้านนักเรียน มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอะไรบ้าง บันทึกลงในท่ีว่าง
ด้านล่าง พรอ้ มบอกรายละเอยี ด วิธกี ารใช ้ และใช้สาำ หรบั ปอ้ งกันอนั ตรายเก่ียวกับเรอื่ งใด พรอ้ มทั้งเขยี น
ประสบการณ์ในการใชล้ งในทีว่ า่ งดา้ นล่าง

1. สง่ิ ทีน่ ักเรียนบนั ทึกแตกตา่ งกนั ออกไป ตามอุปกรณป์ อ้ งกันอนั ตรายส่วนบุคคลทเ่ี ลือกมา
2. ข้อมูลรายละเอียดของอปุ กรณ์ ศกึ ษาได้จาก หัวข้อ “ประเภทของเครื่องป้องกันอนั ตราย
ส่วนบุคคล”

แบบประเมินผลการเรยี นรหู นว ยท่ี 9

ตอนที่ 1 จงเลือกคำาตอบทถี่ ูกต้องที่สดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. ข้อใดเปน็ การปฐมพยาบาล
ก. การห้ามเลือดใหผ้ ้ปู ่วยก่อนนาำ สง่ โรงพยาบาล

2. ขอ้ ใดเปน็ หลกั การของการปฐมพยาบาลท่ถี ูกตอ้ งที่สดุ
ข. ตอ้ งกระทำาใหเ้ ร็วทสี่ ดุ

3. ผ้ปู ่วยขอ้ ใดที่ไมค่ วรเคล่ือนยา้ ย
ข. ผู้ปว่ ยกระดกู สนั หลังหัก

4. ผบู้ าดเจบ็ ขอ้ ใดมอี าการรุนแรงทีส่ ุด
ง. หยดุ หายใจ

45
5. ระหวา่ งการปฐมพยาบาลควรกระทำ�ขอ้ ใด
ข. จดั ใหม้ อี ากาศถา่ ยเท หา้ มคนมุงลอ้ ม
6. เม่ือพบวา่ ผปู้ ว่ ยหยดุ หายใจ ควรกระท�ำ ข้อใด
ก. ผายปอด
7. เมอื่ พบว่าผปู้ ่วยหวั ใจหยุดเตน้ ควรกระท�ำ ข้อใด
ข. นวดหัวใจ
8. ชพี จรของคนปกตมิ จี ังหวะการเต้นตามขอ้ ใด
ง. 50-100 คร้ังตอ่ นาที
9. จดุ ใดท่สี ามารถจบั ชพี จรได้
ก. ข้อมอื
10. เม่อื ผู้ป่วยได้รบั การผายปอด ควรมอี าการตามข้อใดจึงถอื ว่ามกี ารตอบสนองทีด่ ี
ข. หน้าอกพองขึน้
11. เก่ียวกับการพนั แผลบริเวณน้ิวมอื และนว้ิ เท้าข้อใดกลา่ วถกู ต้อง
ค. เร่ิมพนั จากโคนนวิ้ ไปหาปลายนวิ้
12. การปฐมพยาบาลคนเปน็ ลม ควรปฏิบัติตามขอ้ ใด
ก. ใช้ผ้าชุบนํ้าเยน็ เช็ดเหง่อื ทห่ี นา้ ผากและเท้า
13. การปฐมพยาบาลคนท่ีมอี าการชอ็ กไม่ควรกระทำ�ตามข้อใด
ก. ใหท้ านนาํ้
14. แผลในข้อใดมอี าการร้ายแรงนอ้ ยที่สดุ
ก. แผลถลอก
15. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะของแผลตดั
ค. เกดิ จากของมีคม
16. ผู้ป่วยท่ีมีบาดแผลทเ่ี กดิ จากไฟไหม้ ควรปฐมพยาบาลตามขอ้ ใด
ก. ราดด้วยนํ้าเยน็ หรอื เปดิ ใหน้ ํ้าไหลผ่านบรเิ วณแผล
17. การปฐมพยาบาลผู้ปว่ ยที่ถกู สารเคมเี ขา้ ตา ควรกระท�ำ ข้อใดเป็นอนั ดับแรก
ข. ล้างดว้ ยนํ้าสะอาดประมาณ 20 นาที
18. การปฐมพยาบาลผูท้ ่ไี ด้รบั สารพษิ ประเภทกรดเข้าสู่รา่ งกาย ควรปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ใด
ข. ดืม่ นํา้ สะอาดหรอื นํา้ โซดามากๆ เพ่ือใหก้ รดเจอื จาง
19. การปฐมพยาบาลผทู้ ี่ได้รบั สารพิษประเภทดา่ งเขา้ สรู่ ่างกาย ควรปฏบิ ตั ติ ามข้อใด
ค. ดืม่ นมเพอื่ ช่วยเคลอื บกระเพาะ
20. ผปู้ ่วยจมนาํ้ มอี าการตามขอ้ ใด
ข. หมดสติ หน้าเขียว

46
ตอนที่ 2 จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี
1. จงอธบิ ายควาหมายของการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยในสถานท่ีเกิดเหตุ โดยใช้
เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์เทา่ ท่มี ี กอ่ นทผ่ี ู้ป่วยจะไดร้ บั การดแู ลจากแพทย์ หรอื ส่งต่อไปยังโรงพยาบาล
2. จงบอกวัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล
เพื่อช่วยชีวิตผูป้ ่วย เป็นการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บให้บรรเทาลง รวมท้งั ป้องกันความพิการ
ที่จะเกิดขึน้
3. ผ้ปู ่วยอาการอยา่ งไร ทจ่ี ะต้องได้รับการปฐมพยาบาลอย่างทนั ท่วงที
1. หยุดหายใจ ทำ�ให้ร่างกายขาดออกซเิ จน ส่งผลให้เสยี ชวี ิตได้ หากผูป้ ่วยหยุดหายใจใหร้ บี ทำ�การ
ผายปอด ซง่ึ เป็นวธิ ที ี่งา่ ยและได้ผลดที ่ีสดุ
2. หัวใจหยุดเต้น ทำ�ให้ไม่มีการสูบฉีดเลือดสำ�หรับนำ�ออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกาย ผู้ช่วยเหลือต้องรีบ
ท�ำ ให้กระแสเลอื ดไหลเวยี นในรา่ งกาย โดยวิธกี ารนวดหวั ใจ
3. การเสียเลือดจากหลอดเลือดใหญ่ขาด หากเลือดไหลออกจากร่างกายอย่างรวดเร็ว จะทำ�ให้เสีย
ชีวิตได้ แก้ไขโดยการหา้ มเลือด
4. ภาวะช็อก เป็นการตอบสนองของศูนย์ประสาทส่วนกลางในสมองของร่างกาย ท่ีถูกกระตุ้นด้วย
ความรู้สึกท่ีส่งมาจากตำ�แหน่งที่บาดเจ็บ หรือมีความตกใจหรือความกลัวร่วมอยู่ด้วย ภาวะช็อกจะมีความ
รุนแรงหากมีการสญู เสยี เลือดหรือนาํ้ เหลือง การชอ็ กสามารถท�ำ ให้ผปู้ ่วยเสยี ชีวติ ได้ถึงแมว้ ่าการบาดเจบ็ จะ
ไมร่ นุ แรงก็ตาม
4. จงอธบิ ายวธิ กี ารจับชีพจรทีข่ ้อมอื
ยนื่ มอื ไปขา้ งหนา้ งอศอกเลก็ นอ้ ย หงายฝา่ มอื ขน้ึ ใชน้ ว้ิ ชแ้ี ละนวิ้ กลางของอกี มอื อกี ขา้ งหนง่ึ วางทขี่ อ้ มอื
บรเิ วณโคนนว้ิ โปง้ กดลงเลก็ นอ้ ยจนกวา่ จะรสู้ กึ ถงึ การเตน้ ของชพี จร หากยงั ไมพ่ บสามารถขยบั ต�ำ แหนง่ ของ
นว้ิ ทั้งสองไดจ้ นกวา่ จะพบ
5. จงอธิบายความหมายของการผายปอด
การผายปอด คอื การช่วยให้ออกซเิ จนผา่ นเข้าไปทางปาก จมกู เขา้ สปู่ อดไดเ้ พยี งพอ เพื่อฟอกโลหติ
เข้าสหู่ วั ใจ และสูบฉดี เขา้ ไปเล้ยี งสมองและรา่ งกายตามปกติ
6. จงอธบิ ายวิธกี ารพนั แผลที่ศรี ษะ
การพันแผลทีศ่ ีรษะ เร่มิ พนั รอบศรี ษะก่อน เมอ่ื รอบหน้าผากแล้วให้ตัง้ ต้นจากกลางหนา้ ผาก แลว้ ใช้
มอื กดปลายผา้ ท่พี ันไว้ ทอดขา้ มไปมาใหร้ อบศรี ษะหน่งึ เสร็จแล้วใชผ้ า้ ยางปิดปลาย

47

7. จงบอกสาเหตขุ องการเป็นลม และวิธีการปฐมพยาบาล
ผปู้ ว่ ยเปน็ ลมเนือ่ งจากเลอื ดไปเลีย้ งสมองไมพ่ อ
1. น�ำ เข้าไปในสถานทท่ี ี่มอี ากาศถา่ ยเทสะดวก
2. ให้นอนราบ คลายเสอื้ ผ้าออกให้หลวม
3. ใช้ผ้าชบุ นํา้ เย็นเช็ดเหงือ่ ทห่ี นา้ ผากและเทา้
4. ใหผ้ ูป้ ่วยดมแอมโมเนีย
5. หากผู้ปว่ ยมใี บหน้าขาซดี ใหน้ อนศรี ษะตาํ่ หากมีใบหนา้ แดงให้นอนศรี ษะสูง
8. จงอธบิ ายวิธีการปฐมพยาบาลผปู้ ่วยที่มแี ผลถูกแทง
การปฐมพยาบาล ให้หา้ มเลือด แล้วรบี นำ�สง่ แพทย์ หากมวี ัตถปุ ักคาอยู่ ห้ามน�ำ ออก ใหใ้ ช้ผ้าสะอาด
กดรอบแผลและใช้ผ้าพนั ไว้ แล้วรีบน�ำ สง่ แพทย์
9. การอธิบายรายละเอยี ดของการใสเ่ ฝือกชัว่ คราว
การใส่เฝือกชั่วคราว เป็นการดามบริเวณท่ีหักด้วยเฝือกชั่วคราวอย่างถูกต้องและรวดเร็ว จะช่วยให้
บรเิ วณทหี่ กั อยนู่ ง่ิ ลดความเจบ็ ปวดลงได้ การใสเ่ ฝอื กชวั่ คราวใหใ้ ชว้ สั ดทุ หี่ างา่ ย เชน่ ไม้ กระดาษหนงั สอื พมิ พ์
พับหนา หมอน รม่ กระดาน ฯลฯ น�ำ มาดามบรเิ วณทีก่ ระดกู หัก แลว้ ผกู ด้วยเชอื กหรือผ้า เพือ่ ไมใ่ หบ้ ริเวณ
นั้นขยบั ไปมาได้
10. จงอธบิ ายรายละเอียดของการปฐมพยาบาลคนจมนํา้
ผ้ทู ีจ่ มนํา้ จะมอี าการหนา้ เขียว หายใจขัด หมดสติ หากรนุ แรงหัวใจอาจหยุดเต้นได้ การปฐมพยาบาล
ผู้ปว่ ยท่จี มน้ํา ควรปฏบิ ตั ิดังน้ี
1. ผายปอด เปน็ วธิ กี ารชว่ ยเหลอื ทด่ี ที สี่ ดุ แตผ่ ปู้ ฐมพยาบาลจะตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หรอื มที กั ษะ
เป็นอย่างดี หากท�ำ ผดิ วิธีจะก่อให้เกิดอันตรายมากกว่า
2. นวดหัวใจ หากผู้ปวยหัวใจหยุดเต้น จะต้องทำ�การนวดหัวใจไปพร้อมๆ กับการจับชีพจร หรือ
เปลื้องเส้อื ผ้าใหห้ ลวม
3. เอานา้ํ ออกจากปอด พยายามเอาน้าํ ออกจากปอดของผู้ปว่ ยใหเ้ ร็วทส่ี ุด
4. ให้ผู้ป่วยนอนตะแคง หากผายปอดโดยการเป่าปากไม่ได้ผล ควรจับผู้ป่วยนอนตะแคง แล้วตบ
หลังช่วงระหว่างสะบักและไหลท่ งั้ สองขา้ ง เผ่อื ว่ามอี ะไรมาอดุ ทางเดนิ หายใจจะไดห้ ลุดออก จากนัน้ ทำ�การ
ผายปอดด้วยวธิ ีเปา่ ปากตอ่ ก่อนนำ�ส่งแพทย ์

48

ใบงานท่ี 9.1

ข้ันตอนการปฏิบัตกิ จิ กรรม
นักเรยี นสืบคน้ ขอ้ มูล ผูท้ ป่ี ฏบิ ัติหน้าท ่ี “หน่วยกูภ้ ัย” จะตอ้ งมคี ณุ สมบัตอิ ย่างไรบา้ ง และทำาการวเิ คราะห์
วา่ คุณสมบตั เิ หล่าน้นั มปี ระโยชน์ตอ่ การปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยอย่างไรบา้ ง บนั ทกึ ลงในท่ีวา่ งดา้ นลา่ ง

1. ใจรกั การทำางานเพ่อื สว่ นรวม
2. มคี วามเสยี สละ
3. มีมนุษยสมั พนั ธ์ท่ดี ี
4. มคี วามรู้เกี่ยวกบั การปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น
คณุ สมบตั เิ หลา่ น ี้ ชว่ ยใหม้ คี วามเตม็ ใจ กระตอื รอื รน้ เพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ใหพ้ น้ จากอนั ตราย
และการมีความรู้เกย่ี วกับการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ทาำ ให้ช่วยผูป้ ระสบภัยรอดพ้นจากอันตรายได ้

ใบงานที่ 9.2

ขั้นตอนการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
นกั เรยี นในสถานศกึ ษาควรมคี วามร ู้ และสามารถปฏบิ ตั ไิ ดเ้ กย่ี วกบั การปฐมพยาบาลหรอื ไม ่ นกั เรยี นแสดง
ความคดิ เหน็ พรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ

ควรมีความรู้ และสามารถปฏิบัติได้เก่ียวกับการปฐมพยาบาล เพื่อให้สามารถช่วยชีวิตเพ่ือน
รว่ มสถาบนั เดียวกันใหไ้ ด้รบั ความปลอดภัยก่อนถึงมือแพทย์

49 10

แบบประเมนิ ผลการเรยี นรูหนวยท่ี

ตอนท่ี 1 จงเลือกคาำ ตอบทถ่ี กู ต้องที่สดุ เพียงขอ้ เดียว

1. กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั งานอาชวี นามัย และความปลอดภยั มีประโยชนต์ ามข้อใด
ค. ทำาใหเ้ กดิ ความปลอดภัยแกท่ ุกฝ่ายที่เกย่ี วขอ้ งกับการทำางาน

2. ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำางาน พ.ศ. 2554 ข้อใด
เป็นหนา้ ท่ีของนายจา้ ง

ค. จดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั เพ่ือดาำ เนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบการ
3. นายจ้างตอ้ งการให้ลกู จา้ งทราบถงึ อันตรายทีเ่ กิดขนึ้ จากการทำางาน ควรปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ใด

ก. จัดทำาคูม่ ือแจกแกล่ กู จา้ งทุกคนกอ่ นเขา้ ทาำ งาน
4. เมอื่ ลูกจา้ งเริ่มงาน เปลย่ี นงาน หรอื มกี ารเปล่ยี นแปลงเครอ่ื งจักรอปุ กรณ์ นายจา้ งควรดำาเนินการตามข้อใด

ก. จดั การอบรมความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทาำ งาน
5. หากลูกจา้ งไม่สวมใสอ่ ปุ กรณ์ความปลอดภยั สว่ นบุคคล นายจา้ งควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร

ค. สั่งให้ลูกจา้ งหยดุ ทาำ งานช่วั คราวจนกว่าลกู จา้ งจะสวมใส่
6. การควบคุม กำากบั ดูแลการดำาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำางาน
นายจา้ งควรปฏิบัติตามขอ้ ใด

ข. ประเมนิ อันตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ และวางแผนดาำ เนนิ การเพ่อื ใหล้ ูกจา้ งปลอดภัย
7. หากลกู จ้างเสยี ชวี ิต นายจา้ งจะตอ้ งปฏิบตั ิตามขอ้ ใด

ค. แจง้ ตอ่ พนกั งานตรวจความปลอดภยั พร้อมระบสุ าเหตุการเสยี ชีวติ ภายใน 7 วนั นบั แตว่ นั เกดิ เหตุ
8. ข้อใดเปน็ อำานาจของเจ้าหน้าทต่ี รวจความปลอดภัยเมื่อพบว่านายจา้ งไมป่ ฏิบัติตามพระราชบัญญตั ิฯ
ซง่ึ จะส่งผลให้เกดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการทำางาน

ข. สั่งใหห้ ยดุ การกระทาำ อนั ไม่ปลอดภัย และให้ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมภายในระยะเวลาทก่ี ำาหนด
9. ขอ้ ใดหมายถงึ กา๊ ซ

ข. ของเหลวมีปริมาตรหรอื รปู ทรงไม่แนน่ อนทีส่ ามารถฟุ้งกระจายแปรสภาพได้
10. การจัดสถานท่ีทาำ งานเพือ่ ให้ปลอดภัยจากสารเคมคี วรปฏบิ ัตติ ามขอ้ ใด

ก. มรี ะบบระบายอากาศท่ีทำาใหส้ ารเคมเี จอื จาง
11. ข้อใดหมายถงึ ฉนวนไฟฟา้

ง. วัสดทุ ่ีมีคณุ สมบัติในการกน้ั หรอื ขัดขวางการไหลของไฟฟา้

50
12. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ไฟฟา้ ประจำ�ท้องถิ่นถูกต้องท่สี ดุ
ง. ท้งั ข. และ ค.
13. พนักงานทมี่ ีหน้าทซี่ ่อมแซมและบ�ำ รุงรกั ษาไฟฟ้า ตามกฎกระทรวงฯ มคี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด
ง. ลูกจา้ งซ่ึงปฏบิ ัติงานเกี่ยวกบั ไฟฟา้
14. ในพ้ืนที่ทีม่ ีอนั ตรายจากไฟฟา้ จะต้องปฏบิ ัติตามข้อใด
ข. ตดิ ปา้ ยอักษรหรอื สัญลกั ษณเ์ ตือนใหร้ ะวงั อนั ตราย
15. ขอ้ ใดเปน็ สถานทอี่ บั อากาศ
ง. ถ้าํ
16 บริเวณสถานทอี่ ับอากาศ นายจ้างควรทำ�ปา้ ยแจ้งขอ้ ความวา่ อย่างไร
ข. ทีอ่ บั อากาศ อนั ตราย หา้ มเขา้
17. ข้อใดเป็นปญั หาในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายทีเ่ กิดจากผู้ประกอบการ
ค. ไม่มีความรู้ ไม่เข้าใจเหตผุ ล
18. หนว่ ยงานท่ดี แู ลดา้ นความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งานโดยตรง คือขอ้ ใด
ก. กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน
19. หนว่ ยงานใดรับผิดชอบดา้ นสขุ ภาพของประชาชน
ข. กระทรวงสาธารณสุข
20. หากตอ้ งการขอ้ มลู ดา้ นวชิ าการดา้ นอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน ควรตดิ ตอ่
หน่วยงานใด
ข. สำ�นักเทคโนโลยคี วามปลอดภยั

ตอนที่ 2 จงตอบคำ�ถามตอ่ ไปนี้

1. จงอธบิ ายความหมายของ “ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน”
การกระทาํ หรอื สภาพการทาํ งานซงึ่ ปลอดจากเหตอุ นั จะทาํ ใหเ้ กดิ การประสบอนั ตรายตอ่ ชวี ติ รา่ งกาย
จิตใจ หรือสขุ ภาพอนามยั อนั เน่อื งจากการทาํ งานหรือเกยี่ วกับการท�ำ งาน
2. จงอธบิ ายความหมายของ “สารเคมอี ันตราย”
สารเคมอี นั ตราย หมายถงึ ธาตุ สารประกอบ หรอื สารผสม อาจมสี ถานะเปน็ ของแขง็ ของเหลว หรอื กา๊ ซ
หรอื อยู่ในรปู ของฝุน่ เส้นใย ละออง ไอ ฟมู ทมี่ พี ษิ กัดกร่อน ก่อให้เกิดอาการระคายเคอื ง แพ้ หรือเปน็ สารท ่ี
ก่อให้เกิดโรครา้ ยตา่ งๆ
3. จงอธบิ ายรายละเอียดของ “ความเขม้ ขน้ ของสารเคมอี ันตราย”
ขดี จ�ำ กดั ความเขม้ ขน้ ของสารเคมอี นั ตราย หมายถงึ ระดบั ความเขม้ ขน้ ของสารเคมอี นั ตรายทกี่ �ำ หนด
ใหอ้ ยไู่ ดใ้ นบรรยากาศแวดลอ้ มในการท�ำ งานทล่ี กู จา้ งซง่ึ มสี ขุ ภาพปกตสิ ามารถสมั ผสั หรอื ไดร้ บั เขา้ สรู่ า่ งกาย
ได้ทกุ วนั ตลอดเวลาโดยไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ