เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดเรื่องแรกของไทยที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ประพันธ์ โดยมุ่งหวังให้ละครเป็นตัวช่วยกล่อมเกลาจิตใจประชาชน แต่นอกจากตัวบทจะมีความโดดเด่นจนได้รับความนิยมอย่างมากแล้ว ยังแฝงแนวคิดมากมายไว้ในเรื่อง จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น ไปเรียนรู้เรื่องพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

ตัวบทเด่น ๆ ใน บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

 

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

 

ตัวบทที่ 1 

 

พระยาภักดี : ใครวะ

อ้ายคำ : อ้างว่าเป็นเกลอเก่าของใต้เท้า ผมบอกว่าใต้เท้ายังไม่กลับจากออฟฟิศก็ไม่ยอมไป เดินเรื่อยขึ้นมาที่นี่ว่าจะคอยพบใต้เท้า

พระยาภักดี : แล้วยังไงล่ะ

 

บทสนทนานี้เป็นบทสนทนาของพระยาภักดีนฤนาถกับอ้ายคำบ่าวรับใช้ สิ่งที่เด่นชัดที่สุดคือระดับภาษาผ่านการสนทนาระหว่างนายกับบ่าวที่มีการใช้ภาษาแตกต่างกันตามสถานะของผู้พูด

 

ตัวบทที่ 2 

 

พระยาภักดี : (มองดู) ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะได้จำได้คลับคลา

นายล้ำ : ก็ยังงั้นซิครับ ใต้เท้ามีบุญขึ้นแล้วจะมาจดมาจำคนเช่นผมยังไงได้

พระยาภักดี : ฮือ! พิศ ๆ ไปก็ออกจะจำได้ นายล้ำไม่ไหม

 

บทสนทนาระหว่างพระยาภักนฤนาถกับอดีตเพื่อนเก่าอย่างนายล้ำที่เปลี่ยนไปจนแทบจำไม่ได้ ในบทนี้จะเด่นเรื่องของคำศัพท์และสำนวนเก่า ๆ ที่ไม่ได้เห็นบ่อยนักในยุคสมัยปัจจุบัน เช่น มีบุญขึ้นแล้ว หมายถึงมีชีวิตที่ดีขึ้น

 

ตัวบทที่ 3

 

แม่ลออ : …ถ้าใครบอกดิฉันว่าเป็นคนไม่ดี ดิฉันไม่ยอมเชื่อเป็นอันขาดเทียว แต่ท่านก็เป็นคนดีจริง ๆ อย่างทิ่ดิฉันนึกเดาเอาใจ คุณพ่อนี่ก็ได้บอกดิฉันว่างั้น จริงไหมคะคุณพ่อ

นายล้ำ : ถ้าใครบอกหล่อนว่าพ่อหล่อนที่ตายน่ะเป็นคนไม่ดีละก็หล่อนเป็นไม่ยอมเชื่อเลยเทียวหรือ?

แม่ลออ : ดิฉันจะเชื่อยังไง ดูในรูปก็เห็นว่าเป็นคนดี

 

บทสนทนาระหว่างแม่ลออกับนายล้ำ ซึ่งแม่ลออไม่รู้ว่านายล้ำคือบิดาแท้ ๆ จึงพูดถึงบิดาที่เข้าใจว่าเสียชีวิตไปแล้วในแง่ดีตามที่ได้ฟังมาจากพระยาภักดีนฤนาถ ซึ่งบทนี้โดดเด่นเพราะเป็นจุดที่ทำให้นายล้ำละอายแก่ใจจนในที่สุดก็ไม่บอกความจริงกับแม่ลออว่าเป็นบิดาแท้ ๆ เป็นที่มาของชื่อเรื่อง เห็นแก่ลูก

 

คุณค่า

 

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

 

คุณค่าด้านเนื้อหา

ช้อคิดในบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก สะท้อนให้เห็นถึงความรักที่พ่อแม่มีให้ลูกถึงแม้จะมีช่วงเวลาที่หลงผิด แต่สุดท้ายก็นึกถึงความสุของลูกเป็นสำคัญ นอกจากนี้ยังสะท้อนถึงเรื่องทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว นายล้ำกับพระยาภักดีเป็เพื่อนที่เคยรัชราชการตำแหน่งเดียวกัน แต่ชีวิตของนายล้ำดิ่งลงเหวหลังจากทำเรื่องไม่ดีจนเป็นเหตุให้ต้องติดคุก ผลกรรมคือหมดอนาคตและไม่ได้อยู่กับลูกอีกต่อไปได้

คุณค่าด้านสังคม

ในบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก สะท้อนค่านิยมวัฒนธรรมในยุคสมัยนั้นไดอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อย และสภาพสังคม ทำให้เห็นถึงความเป็นอยู่ บ้านเมืองในสมัยรัชกาลที่ 6

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

วรรณศิลป์ที่โดดเด่นในวรรณคดีเรื่องนี้คือการใช้ถ้อยคำที่สมจริง ทำให้แสดงอารมณ์ได้อย่างเป็นธรรมชาติ มีการใช้ระดับภาษาที่เด่นชัดและถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้ในเรื่องยังมีทั้งสำนวนเก่า ๆ ที่หาฟังยาก การใช้คำเก่าที่ไพเราะและยังมีการทับศัพท์อีกด้วย

 

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

 

จบไปแล้วนะสำหรับบทละครเรื่องเห็นแก่ลูกในส่วนของตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจและคุณค่าข้อคิดที่อยู่ในเรื่อง น้อง ๆ อ่านแล้วคงจะสัมผัสได้ถึงความงดงามของภาษาที่เรียบง่ายและข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ซึ่งเป็นเรื่อของครอบครัวที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ถือว่าเป็นวรรณคดีที่มีประโยชน์สามารถนำไปปรับใช้ได้ทุกยุคทุกสมัยจริงค่ะ สุดท้ายนี้น้องๆ อย่าลืมไปรับชมคลิปการสอนของครูอุ้มเพื่อฟังคำอธิบายเพิ่มเกี่ยวคำศัพท์ ตัวบทเด่น ๆ และเกร็ดความรู้อื่น ๆ อีกมากมาย ไปรับชมและรับฟังเลยค่ะ

 

ประเมินค่าบทประพันธ์

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า ความเป็นมาของวรรณคดีที่แปลจากภาษาอังกฤษ

กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า เป็นวรรณคดีที่ไทยที่ถูกแปลมาจากภาษาอังกฤษ น้อง ๆ คงจะสงสัยกันใช่ไหมคะว่าทำไมเราถึงได้เรียนวรรณคดีที่ถูกแปลจากภาษาอื่นด้วย บทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักวรรณคดีที่ทรงคุณค่าอีกเรื่องหนึ่งว่ามีที่มาและเรื่องย่ออย่างไร ใครเป็นผู้แต่งในฉบับภาษาไทย ถ้าพร้อมที่จะเรียนรู้แล้วก็ไปดูกันเลยค่ะ   ความเป็นมา กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า     วรรณคดีเรื่องกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า วรรณคดีเรื่องนี้มีที่มาจากกวีนิพนธ์อังกฤษชื่อ Elegy Written in a country churchyard ของ ธอร์มัส

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ และเลขยกกำลัง

จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ จำนวนจริงในรูปกรณฑ์ หรือราก เขียนแทนด้วย อ่านว่า รากที่ n ของ x หรือ กรณฑ์ที่ n ของ x เราจะบอกว่า จำนวนจริง a เป็นรากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ เช่น 2 เป็นรากที่

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

ประพจน์และการเชื่อมประพจน์

บทความนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับประพจน์ การเชื่อมประพจน์ และการหาค่าความจริง ซึ่งเนื้อหาเหล่านี้เป็นภาษาของคณิตศาสตร์ เราจะเห็นตัวเชื่อมประพจน์ในทฤษฎีบทต่างๆในคณิตศาสตร์ หลังจากอ่านบทความนี้ น้องๆจะสามารถบอกได้ว่าข้อความไหนเป็นหรือไม่เป็นประพจน์ และน้องๆจะสามารถทำข้อสอบเกี่ยวกับตรรกศาสตร์ได้

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

ศึกษาตัวบทและคุณค่า คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์สงเคราะห์

จากบทเรียนครั้งที่แล้วที่เราได้เรียนรู้เกี่ยวความเป็นมาและเนื้อหาโดยสังเขปของ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ กันไปแล้ว เราได้รู้ถึงที่มาความเป็นไปของวรรณคดีที่เป็นตำราแพทย์ในอดีตรวมถึงเนื้อหา ฉะนั้นบทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปเจาะลึกเกี่ยวกับตัวบทเพื่อให้รู้จักกับวรรณคดีเรื่องนี้กันมากขึ้น ว่าเหตุใดจึงเป็นตำราแพทย์ที่ได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ถ้าพร้อมแล้วเราไปเรียนรู้พร้อมกันเลยค่ะ   ตัวบทเด่น ๆ ในคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์     ถอดความ เปรียบร่างกายของหญิงและชายเป็นกายนคร จิตใจเปรียบเหมือนกษัตริย์ซึ่งเป็นผู้ครอบครองสมบัติอันยิ่งใหญ่หรือก็คือร่างกาย ข้าศึกเปรียบได้กับโรคที่ทำลายร่างกายเรา พทย์เปรียบได้กับทหาร มีความชำนาญ เวลาที่ข้าศึกมาหรือเกิดโรคภัยขึ้นก็อย่างวางใจ แผ่ลามไปทุกแห่ง

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

การใช้โครงสร้างประโยค Question Tags (ปัจจุบัน)

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป. 6 ที่น่ารักทุกคนวันนี้เราจะไปเรียนรู้ในหัวข้อเรื่อง การใช้โครงสร้างประโยค Question Tags ในรูปแบบปัจจุบัน โดยที่เราจะเจอกลุ่มประโยคในลักษณะนี้ร่วมกับรูปแบบโครงสร้างประโยคและกริยาที่เป็นปัจจุบัน (V. 1 and Present form) พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยค่า ความหมายของ Question Tags   Question แปลว่า คำถาม ส่วนคำว่า Tag จะแปลว่า วลี

เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว
เหตุใดนายล้ำจึง ตัดสินใจ ลดละ ความ เห็นแก่ ตัว

ภาษาเขมรในภาษาไทย เรียนรู้ความเป็นมาและลักษณะภาษา

ภาษาเขมร เป็นภาษาประจำชาติของประเทศกัมพูชา และยังเป็นภาษาที่คนไทยเชื้อสายเขมรใช้พูดกันอีกด้วย แต่นอกจากนั้นแล้ว น้อง ๆ ทราบไหมคะว่ายังมีคำที่มาจากภาษาเขมรปนอยู่ในชีวิตเรามากมายเลยทีเดียว เรียกได้ว่าถ้าหากภาษาบาลีสันสกฤตเป็นภาษาต่างประเทศที่ถูกหยิบยืมมาปรับใช้ในภาษาไทยมากที่สุดแล้ว ภาษาเขมรก็ถือว่าตามมาติด ๆ เลยทีเดียวค่ะ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น แล้วคำไหนบ้างที่มาจากภาษาเขมร มีวิธีสังเกตอย่างไร ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ไปเรียนรู้เรื่อง ภาษาเขมรในภาษาไทย พร้อมกันเลยค่ะ   จุดเริ่มต้นของภาษาเขมรในภาษาไทย     เนื่องจากเขตประเทศที่อยู่ติดกัน

เหตุใดนายล้ําจึงตัดสินใจลดลงความเห็นแก่ตัว

ตอบ เมื่อนายล้ำต้องการแสดงตัวว่าเป็นพ่อกับแม่ลออ พระยาภักดี จึงขัดขวางทุกวิถีทางเพราะกลัวว่าแม่ลออจะอับอายขายหน้าและถูกสังคมรังเกียจ ยอมแม้จะจ่ายเงินก้อนใหญ่เพื่อปิดปากนายล้ำ และแม้นายล้ำไม่รับเงินก็ยอมที่จะใช้กำลังต่อสู้ พฤติกรรมตอนนี้ยืนยันให้รู้ว่า พระยาภักดี "เห็นแก่ลูก" ได้ชัดเจน วันวาน วันวาน...

เพราะเหตุใดพระยาภักดีนฤนาถจึงไม่ให้นายล้ำพบแม่ลออ *

๑๕ ปีต่อมา นายล้ำมาที่บ้านพระยาภักดีในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัวหวังพึ่งพาแม่ลออที่กำลังจะแต่งงาน แต่พระยาภักดีไม่ยินยอมให้นายล้ำแสดงตนว่าเป็นบิดาของแม่ลออ เพราะเกรงว่าบุตรสาวจะอับอายและถูกสังคมรังเกียจ จึงเสนอเงินให้แก่นายล้ำ ๑๐๐ ชั่ง แต่นายล้ำไม่ยอมจนทั้งคู่เกือบต้องใช้กำลัง ครั้นแม่ลออกลับมาบ้านก็ได้สนทนากับนายล้ำ นายล้ำ ...

จุดประสงค์ที่แท้จริงที่นายล้ํามาหาพระยาภักดีฯ คืออะไร

พระยาภักดีนฤนาทรับแม่ลออ บุตรีวัย ๒ ปีของนายล้ำ อดีตข้าราชการราชทินนาม “ทิพเดชะ” ผู้เคยเป็นเพื่อนสนิทของตนมาเป็นบุตรบุญธรรม เนื่องจากนายล้ำต้องโทษจำคุกฐานทุจริต ๑๕ ปีให้หลังนายล้ำกลับมาทวงสิทธิ์ความเป็นพ่อที่แท้จริงของแม่ลออจากพระยาภักดีฯ ด้วยหวังว่าจะให้ลูกสาวอุปการะเลี้ยงดูตน พระยาภักดีฯ ไม่อยากให้แม่ลออต้องอับอายที่ ...

เหตุใดนายล้ำจึงไม่แสดงตนว่าเป็นบิดาของแม่ลออ

เพราะไม่ต้องการให้นายล้าแสดงตัวว่าเป็นพ่อแม่ลออเพราะจะทาให้ผู้อื่นไม่กล้าคบหาแม่ลออเพราะ เป็นลูกคนติดคุก ๑๓. รัชกาลที่๖ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก โดยใช้พระนามแฝงว่า.... พระขรรค์เพชร ๑๔. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระนามเดิมว่า.......