ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นวรรณคดีเรื่องแรกที่น้อง ๆ ม.3 ทุกคนจะได้เรียน ความพิเศษของวรรณคดีไทยเรื่องนี้คือเป็นบทละครพูดเรื่องแรกของไทยอีกทั้งยังได้รับการแปลไปยันต่างประเทศอีก 13 ภาษา วรรณคดีเรื่องนี้มีความสำคัญและมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร ถึงโด่งดัง เป็นที่รู้จัก และได้มาอยู่ในแบบเรียนภาษาไทย ถ้าพร้อมแล้วเราไปศึกษาประวัติความเป็นมาของวรรณคดีเรื่องนี้กันเลยค่ะ

 

ความเป็นมา บทละครพูด เห็นแก่ลูก

 

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

 

บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระนามแฝงว่าพระขรรค์เพชร บทละครพูดที่มาจากตะวันตกแต่เป็นผลงานพระราชนิพนธ์เรื่องนี้ไม่ใช่การแปล มีที่มาจากที่พระองค์ทรงชอบบทละครพูด และตั้งคณะละครขึ้นเพื่อช่วยอบรมจิตใจของประชาชน วรรณคดีเรื่องนี้เป็นบทละครพูดขนาดสั้น ปมเรื่องไม่ซับซ้อน แฝงด้วยข้อคิด

 

ลักษณะคำประพันธ์

 

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

บทละครพูด เห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดขนาดสั้นเพียงองก์เดียวและเป็นร้อยแก้ว ละครพูดเริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นที่นิยมมากขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นลักษณะคำประพันธ์ที่ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก

 

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

 

บทละครพูด เป็นละครที่แสดงโดยให้ตัวละครสนทนาโต้ตอบกันเหมือนในชีวิตจริง ไม่มีดนตรี การรำ หรือการขับร้อง ตรงกับการแสดงที่เรียกว่า play ของตะวันตก ผู้แต่งจะเป็นผู้กำหนดชื่อเรื่อง ตัวละคร และฉากว่ามีลักษณะอย่างไร มีการกำหนดลำดับการแสดงของตัวละครพร้อมกับบทพูดและอารมณ์กิริยาของตัวละครเพื่อให้นักแสดงสามารถถ่ายทอดบทบาทตามที่ผู้แต่งต้องการได้

 

เนื้อเรื่องย่อ

 

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

 

พระยาภักดีนฤนาถและนายล้ำ เคยเป็นอดีตเพื่อนรักกัน รับราชการรุ่นเดียวกัน แต่หลงรักผู้หญิงคนเดียวกันคือแม่นวล ซึ่งเป็นมารดาของแม่ลออ แม่นวลได้นำลูกสาวมาฝากไว้ที่พระยาภักดีนฤนาถให้เลี้ยงดู ก่อนที่จะสิ้นใจ ซึ่งพระยาภักดีนฤนาถก็เลี้ยงดูเหมือนเป็นลูกแท้ ๆ และคอยอบรมสั่งสอนให้แม่ลออรักบิดาแท้ ๆ แต่บอกว่าบิดาเสียชีวิตไปแล้ว ด้านบิดาที่แท้จริงอย่างนายล้ำ เป็นคนติดเหล้าจัดและเคยต้องโทษจำคุก เมื่อพ้นโทษและได้ข่าวว่าลูกสาวของตนที่อยู่กับพระยาภักดีนฤนาถกำลังจะแต่งคนฐานะดีจึงมาแสดงตัวว่าเป็นบิดา หวังอาศัยผลประโยชน์ แม้พระยาภักดีนฤนาถจะให้เงิน นายล้ำก็ยังยืนยันที่จะพบลูกสาว กระทั่งได้พบกับแม่ลออจริง ๆ แต่แม่ลออกลับไม่รู้ว่านายล้ำเป็นบิดาที่แท้จริง เมื่อได้ฟังลูกสาวพูดถึงตัวเองในแง่ดีอย่างภาคภูมิใจโดยที่ไม่รู้เรื่อง นายล้ำเกิดความละอายแก่ใจ จึงไม่บอกความจริงเพื่อปล่อยให้แม่ลออได้ใช้ชีวิตอย่างมีความสุขต่อไป ก่อนจากไป นายล้ำได้ฝากแหวนไว้วงหนึ่งให้พระยาภักดีนฤนาถมอบให้แก่แม่ลออ เป็นของรับไหว้ในวันแต่งงาน

 

สรุปเนื้อเรื่อง

 

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

 

เป็นอย่างไรบ้างคะหลังจากที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องนี้ไปแล้ว บทละครพูดเป็นลักษณะคำประพันธ์ที่แพร่หลายในไทยช่วงรัชกาลที่ 5 และเป็นที่นิยมในรัชกาลที่ 6 ถึงแม้จะไม่ได้มีทั้งตั้งแต่โบราณ และก็มีคุณค่าและมีการใช้ภาษาที่ดี มีความเป็นธรรม มีความเพลิดเพลิน และถ้าน้อง ๆ อยากรู้ว่าตัวบทเด่นพร้อมทั้งเจาะลึกคุณค่าที่แฝงอยู่ในเรื่องมีอะไรบ้าง เราจะไปเรียนกันในบทต่อไปนะคะ สำหรับวันนี้ ก่อนจากไปอย่าลืมชมคลิปการสอนของครูอุ้มเพื่อทบทวนความรู้และเข้าใจเนื้อหาให้ได้มากขึ้น ไปชมกันเลยค่ะ

 

 

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

การคำนวณร้อยละในชีวิตประจำวัน

บทความนี้เราจะได้เรียนรู้ความหมายของคำว่าร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ รวมทั้งความสัมพันธ์ของอัตราส่วนที่คิดคำนวณเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ที่จะทำให้เราสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

การอ่านบทร้อยแก้ว อ่านอย่างไรให้น่าฟัง

หลังจากที่เราได้เรียนรู้เรื่องการบทร้อยกรองไปแล้ว วันนี้เราจะมาพูดถึงบทร้อยแก้วกันบ้าง ซึ่งน้อง ๆ หลายคนคงจะรู้จักบทร้อยแก้วกันดีอยู่แล้ว เพราะเป็นสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจำวัน แต่น้อง ๆ ทราบไหมคะว่า การอ่านบทร้อยแก้ว ก็มีวิธีอ่านที่ถูกต้องเหมือนกัน เพราะการที่เราอ่านไม่ถูกต้องนั้นก็อาจจะทำให้ไม่น่าฟัง น่าเบื่อ รวมไปถึงอาจทำให้ใจความที่ผู้แต่งต้องการจะสื่อสารคลาดเคลื่อนได้อีกด้วย ถ้าอยากรู้แล้วว่ามีหลักเกณฑ์และวิธีอ่านอย่างไร ไปเรียนรู้เรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ร้อยแก้วคืออะไร ?   บทข้อความทั่วๆ ไป ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน โดยต้องเขียนเป็นประโยค ข้อความติดต่อกัน

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

การวัดและความเป็นมาของการวัด

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้ความเป็นมาของการวัดในหลายๆมิติ จนกระทั่งวิวัฒนาการที่ทำให้ได้ความแม่นยำในการวัดอย่างเป็นมาตรฐานมากขึ้นเรื่อยๆ

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

เนื้อหาในบทนี้จะเป็นการกล่าวถึง การแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณแล้วนำมาเขียนแสดงเป็นกราฟ

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

อิเหนา จากนิทานปันหยีสู่วรรณคดีเลื่องชื่อของไทย

อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ถูกเผยแพร่เข้ามาในไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา น้อง ๆ สงสัยไหมคะว่าจุดเริ่มต้นของนิทานของชาวชวานี้มีจุดเริ่มต้นในไทยอย่างไร เหตุใดถึงถูกประพันธ์ขึ้นเป็นบทละครให้ได้เล่นกันในราชสำนัก ถ้าน้อง ๆ พร้อมหาคำตอบแล้ว เราไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของอิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิงกันเลยค่ะ   ความเป็นมา   อิเหนามีความเป็นมาจากนิทานปันหยี หรือที่เรียกว่า อิเหนาปันหยีรัตปาตี ซึ่งเป็นนิทานที่เล่าแพร่หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ของชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุงแต่งมาจากพงศาวดารชวา อิทธิพลของเรื่องอิเหนาเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกในสมัยอยุธยา จากการที่เจ้าฟ้าหญิงกุณฑลและเจ้าฟ้าหญิงมงกุฎ

ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด
ฉาก ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ ลูก คือ สถาน ที่ ใด

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์  “ = ”  บอกความสัมพันธ์ระหว่างจำนวน อาจมีตัวแปร หรือไม่มีตัวแปร เช่น สมการที่ไม่มีตัวแปร                           

ฉากของเรื่องบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกใช้สถานที่ใด

ฉาก ห้องหนังสือ ในบ้านพระยาภักดีนฤนาถ

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก มีกี่ฉาก

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดขนาดสั้นที่มีความยาวเพียงองก์เดียวและมีฉาก เดียว ซึ่งหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สันนิษฐานว่า บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกน่าจะเป็นละครพูด เรื่องแรกที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเองโดยมิได้แปลหรือดัดแปลงมาจากบทละครต่างประเทศ โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า พระขรรค์เพชร

ผู้แต่งบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกได้เค้าโครงเรื่องมาจากที่ใด

เรื่องเห็นแก่ลูกเป็นบทละครพูดขนาดสั้น มีความยาวเพียงองค์เดียวและมีฉากเดียว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้พระนามแฝงในการพระราชนิพนธ์ว่า พระ ขรรค์เพชร บทละครพูดเรื่องนี้พระองค์ทรงคิดเค้าโครงเรื่องขึ้นเอง มิได้ทรงแปลหรือดัดแปลง

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกมีจุดเด่นด้านใด

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกมีจุดเด่นด้านใด ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ให้ข้อคิดคติธรรมในการดำรงชีวิต ให้ความรู้ในการประกอบอาชีพสุจริต