ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม 30104-2006

���.2   �Ϳ.21    ����Ԫ� 俿���������硷�͹ԡ��   �Ң��Ԫ� 俿�ҡ��ѧ  �Ңҧҹ 俿�ҡ��ѧhttp://122.154.158.156/  Copyright © 2023  �Է�����෤�Ԥ�͹�� [email protected] 04/01/2023 11:12:18

���.2   �Ϳ.   ��ͧ  1    ����Ԫ� 俿���������硷�͹ԡ��   �Ң��Ԫ� 俿�ҡ��ѧ  �Ңҧҹ 俿�ҡ��ѧhttp://122.154.158.156/  Copyright © 2023  �Է�����෤�Ԥ�͹�� [email protected] 04/01/2023 11:12:18
Ἱ������¹  [������]  [1/2564] [2/2564] [1/2565] [2/2565] [1/2566] [2/2566]
Ἱ������¹�Ҥ�����  [1.5/2564] [2.5/2564] [1.5/2565] [2.5/2565] [1.5/2566] [2.5/2566]


�š�����¹  [1/2564] [2/2564] [1/2565] [2/2565]
�ѵ�ŧ����¹  [1/2564] [2/2564] [1/2565] [2/2565]
���ŧ����¹  [1/2564] [2/2564] [1/2565] [2/2565]

�Է�����෤�Ԥ�͹�� ����� 67 �����ըѹ��� �.����ͧ �.���ͧ �.�͹�� 40000���Ѿ�� (043) 221290 ῡ�� 043-222064


Powered by

ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม 30104-2006
pwerawat
ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม 30104-2006
08-1266-1861
Copyright ® 2004-2023 http://www.kktech.ac.th/ All right reserved. Do not duplicate in any script & form. 

เอกสารประกอบการสอน

ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม

รหสั วิชา 3104-2006

Decha Phattanaprasitchai

หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) พ.ศ.2557

เรยี บเรยี งโดย

เดชา พฒั นประสทิ ธช์ิ ัย
ภาควิชาเทคโนโลยไี ฟฟา กําลัง วทิ ยาลยั เทคนคิ มหาสารคาม
สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Decha Phattanaprasitchaiคาํ นาํ

แผนการจัดการเรียนรูน้ีเปนแผนการจัดการเรียนรู วิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหัส
3104-2006 ซ่ึงเปนวิชาในหมวดประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาชางไฟฟา หลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) พุทธศักราช 2557

ทําการจัดการเรียนการสอน จํานวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห รวมทั้งหมด 90 ชั่วโมง/ภาคเรียน โดย
จัดแบงหนวยการเรียนรูเปน 4 หนวยการเรียนรูคือ โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร การ
เขียนคําสั่งควบคุมการทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หลักการทํางานของเซนเซอรและ
ทรานสดิวเซอรและการประยุกตใชงานโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร โดยไดจัดทําเปนแผนการจัดการ
เรียนรู ท้งั หมด 14 แผนการเรียนรู

ขา พเจา ไดจัดทําเอกสารประกอบการเรยี นการสอน ท่ีมีการจัดการเรียนรูท่ีหลากหลาย เนนการ
เรียนการสอนแบบบูรณาการตามสภาพจริง เรียนรูดวยตนเอง การฝกใหผูเรียนเกิดกระบวนการคิด การ
เรียนรรู วมกนั การเรยี นรูจากการปฏิบตั ิงานจริง หากมีขอ เสนอแนะประการใดขาพเจาผูจัดทํายินดีนอมรับ
ไวป รับปรงุ ดว ยความขอบคณุ ยง่ิ

นายเดชา พฒั นประสิทธิ์ชัย
วิทยาลยั เทคนิคมหาสารคาม

Decha Phattanaprasitchaiสารบญั หนา

คาํ นํา ข
สารบญั จ
สารบญั ภาพ ญ
สารบญั ตาราง ฎ
ลกั ษณะรายวชิ า (จดุ ประสงค สมรรถนะ คําอธิบายรายวชิ า) ฏ
หนว ยการสอน ฐ
ตารางวเิ คราะหห นวยการเรยี น ฑ
ตารางหนว ยการเรยี นกับพฤติกรรม ฒ
วเิ คราะหค ําอธิบายรายวชิ า ด
วิเคราะหจ ดุ ประสงค ถ
โครงการสอน 1
หนว ยที่ 1 โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 1
2
แผนการเรียนรูท ี่ 1 โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 3
หัวขอ เร่ือง สาระสําคัญ จุดประสงคทว่ั ไป จุดประสงคเ ชงิ พฤติกรรม 6
ผังความคดิ 14
แบบทดสอบกอ นเรียน 18
ใบความรูท่ี 1 18
แบบทดสอบหลังเรียน 19
หนว ยท่ี 2 การใชงานพนื้ ฐานของโปรแกรม 20
แผนการเรยี นรทู ี่ 2 การใชงานพ้นื ฐานของโปรแกรม 23
หวั ขอ เรือ่ ง สาระสาํ คญั จุดประสงคทว่ั ไป จดุ ประสงคเ ชิงพฤติกรรม 41
ผังความคิด 45
แบบทดสอบกอนเรยี น 45
ใบความรูท่ี 2 46
แบบทดสอบหลังเรียน 44
หนวยที่ 3 การเขียนคําสง่ั ควบคุมการทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 49
แผนการเรยี นรทู ี่ 3 กลมุ คาํ ส่งั Bit Logic 53
หัวขอเรอื่ ง สาระสาํ คัญ จุดประสงคท ัว่ ไป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤติกรรม
ผังความคิด
แบบทดสอบกอ นเรียน
ใบความรูท่ี 3
แบบทดสอบหลงั เรียน

Decha Phattanaprasitchaiสารบัญ (ตอ) หนา
59
แผนการเรียนรูท่ี 4 กลมุ คาํ สั่ง Timer 59
หัวขอ เรื่อง สาระสําคัญ จุดประสงคท ั่วไป จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 60
ผังความคดิ 61
แบบทดสอบกอ นเรียน 65
ใบความรทู ่ี 4 69
แบบทดสอบหลังเรยี น 74
แผนการเรียนรูท่ี 5 กลุมคําส่ัง Counter 74
หัวขอเรือ่ ง สาระสาํ คญั จุดประสงคทว่ั ไป จุดประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม 75
ผงั ความคดิ 76
แบบทดสอบกอ นเรียน 80
ใบความรูท ี่ 5 84
แบบทดสอบหลงั เรยี น 89
แผนการเรียนรทู ่ี 6 กลมุ คําส่งั Move 89
หวั ขอ เรอ่ื ง สาระสําคัญ จุดประสงคท ่ัวไป จุดประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 90
ผงั ความคิด 91
แบบทดสอบกอนเรยี น 95
ใบความรทู ี่ 6 100
แบบทดสอบหลงั เรียน 104
แผนการเรยี นรทู ่ี 7 กลมุ คาํ สง่ั Convert 104
หวั ขอ เรื่อง สาระสาํ คญั จุดประสงคทวั่ ไป จุดประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 105
ผงั ความคดิ 106
แบบทดสอบกอนเรียน 110
ใบความรทู ี่ 7 113
แบบทดสอบหลังเรียน 117
แผนการเรยี นรูท ่ี 8 กลมุ คําส่ัง Compare 117
หัวขอ เร่อื ง สาระสาํ คญั จุดประสงคทว่ั ไป จุดประสงคเชิงพฤตกิ รรม 118
ผังความคดิ 119
แบบทดสอบกอนเรยี น 123
ใบความรทู ี่ 8 126
แบบทดสอบหลงั เรียน

Decha Phattanaprasitchaiสารบัญ (ตอ) หนา
130
หนว ยที่ 4 หลกั การทาํ งานของเซนเซอรแ ละทรานสดิวเซอร 130
แผนการเรยี นรทู ่ี 9 นิยาม เซนเซอรและทรานสดิวเซอรค วามดนั อุณหภมู ิ 131
หัวขอ เรอื่ ง สาระสําคัญ จุดประสงคทว่ั ไป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม 132
ผงั ความคดิ 135
แบบทดสอบกอนเรยี น 147
ใบความรทู ี่ 9 150
แบบทดสอบหลังเรยี น 150
แผนการเรยี นรูท ่ี 10 เซนเซอรและทรานสดิวเซอรวัดการไหล ระดับ 151
หัวขอเรอื่ ง สาระสําคญั จุดประสงคท วั่ ไป จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 152
ผงั ความคดิ 155
แบบทดสอบกอนเรยี น 168
ใบความรูที่ 10 171
แบบทดสอบหลงั เรยี น 171
แผนการเรยี นรทู ่ี 11 เซนเซอรแสงและพรอกซมิ ติ ้ีสวิตช 172
หวั ขอเรือ่ ง สาระสาํ คญั จุดประสงคทัว่ ไป จดุ ประสงคเ ชิงพฤตกิ รรม 173
ผังความคิด 176
แบบทดสอบกอนเรียน 185
ใบความรทู ่ี 11 188
แบบทดสอบหลงั เรียน 188
189
หนว ยท่ี 5 การประยกุ ตใชงานโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 190
แผนการเรยี นรูที่ 12 การควบคุมการสตารทมอเตอรแบบสตาร-เดลตา 195
หัวขอ เร่ือง สาระสําคัญ จุดประสงคท วั่ ไป จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 195
ผังความคดิ 196
ใบความรทู ่ี 12 197
แผนการเรียนรทู ี่ 13 ระบบบรรจุและตรวจนับสินคา 201
หัวขอเรอ่ื ง สาระสาํ คัญ จุดประสงคท่ัวไป จดุ ประสงคเ ชงิ พฤติกรรม 201
ผงั ความคิด 202
ใบความรูท ี่ 13 203
แผนการเรียนรูท่ี 14 กระบวนการถังผสมสารเคมี
หัวขอ เร่ือง สาระสาํ คัญ จุดประสงคทั่วไป จุดประสงคเชิงพฤตกิ รรม
ผงั ความคดิ
ใบความรทู ่ี 14

Decha Phattanaprasitchaiสารบัญภาพ หนา
6
รปู ที่ 1-1 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 7
รูปที่ 1-2 การควบคุมดว ยระบบรีเลยแ ละการควบคมุ ดวยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 8
รปู ที่ 1-3 สว นประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 8
รูปท่ี 1-4 การใชงานโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 9
รูปที่ 1-5 การสแกนของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 10
รปู ท่ี 1-6 รอบเวลาสแกนของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 11
รปู ท่ี 1-7 ประเภทของอุปกรณอินพุท – เอาทพ ุท 13
รปู ที่ 1-8 การใชง านอุปกรณต อ พว งรว มกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 21
รปู ที่ 2-1 รูปแบบการเขยี นโปรแกรมแบบแลดเดอรล อจิคอดิ ิเตอร (LAD) 22
รปู ที่ 2-2 รูปแบบการเขียนโปรแกรมแบบฟงกชันบลอ คไดอะแกรม (FBD) 22
รูปที่ 2-3 รูปแบบการเขยี นโปรแกรมแบบสเตทเมนตลติ ส (STL) 23
รูปที่ 2-4 การเรียกใชง านโปรแกรม STEP7-MicroWIN 24
รูปท่ี 2-5 สวนประกอบตางๆ ของโปรแกรม STEP7-MicroWIN 25
รูปที่ 2-6 สวนประกอบตางๆ ของแถบเครื่องมือมาตรฐาน 26
รปู ท่ี 2-7 สวนประกอบตา งๆ ของแถบเครอื่ งมอื ตรวจแก 27
รปู ที่ 2-8 สว นประกอบตา งๆ ของแถบเครอ่ื งมือท่วั ไป 28
รูปที่ 2-9 สวนประกอบตางๆ ของแถบเคร่ืองมือคําส่งั 29
รูปท่ี 2-10 สวนประกอบตางๆ ของ Navigation 30
รปู ที่ 2-11 หนา ตางเอาทพุท 31
รูปที่ 2-12 ไดอะลอก Communication ที่ Navigation Bar 32
รูปที่ 2-13 ตรวจสอบความถกู ตอ งของการเชือ่ มตอ 32
รูปที่ 2-14 การตงั้ คา PG/PC Interface 33
รปู ท่ี 2-15 การตง้ั คา อตั ราสงผานขอ มลู และชนิดการเชอ่ื มตอ 33
รูปที่ 2-16 คน หารุน และเวอรช ัน่ ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 34
รปู ที่ 2-17 การสรา ง Project 34
รูปท่ี 2-18 การเลอื กใชคําสง่ั ดว ยการคลกิ แลวลากไปวาง 35
รูปที่ 2-19 การเลือกใชค าํ ส่งั ดว ยการดบั เบลิ คลิก 36
รปู ท่ี 2-20 การ Compile Project 36
รูปที่ 2-21 ตาํ แหนงของ Mode Selector Switch 37
รปู ท่ี 2-22 การ Download Project 37
รูปที่ 2-23 ไดอะลอก Download 38
รปู ท่ี 2-24 การ RUN โปรแกรม 38
รปู ที่ 2-25 การ STOP โปรแกรม 49
รูปที่ 2-26 การแปลงวงจรควบคุมเปนโปรแกรมแบบแลดเดอร จ

Decha Phattanaprasitchaiสารบญั ภาพตอ หนา
50
รูปท่ี 2-27 กลมุ คาํ ส่ัง Bit Logic 50
รูปท่ี 2-28 คําสั่ง Normally Open (NO) 50
รูปที่ 2-29 รูปแบบคําส่ัง Normally Close (NC) 50
รูปท่ี 2-30 รปู แบบคาํ ส่ัง Output 51
รปู ที่ 2-31 ตัวอยางการใชง านสงั่ NO, NC และ Output 51
รปู ที่ 2-32 รปู แบบคาํ สงั่ Positive Transition 51
รปู ท่ี 2-33 รูปแบบคาํ ส่ัง Negative Transition 52
รปู ที่ 2-34 การทํางานของคําสง่ั Positive Transition และ Negative Transition 52
รปู ท่ี 2-35 การทาํ งานของคาํ ส่ัง Set และ Reset 65
รูปที่ 2-36 กลมุ คําสัง่ Timer 66
รปู ท่ี 2-37 Timer แบบ On-Delay Timer (TON) 66
รปู ที่ 2-38 การใชง าน Timer แบบ TON 66
รูปท่ี 2-39 ตวั อยา งการใชง าน Timer แบบ TON 67
รปู ท่ี 2-40 Timer แบบ Off-Delay Timer (TOF) 67
รปู ท่ี 2-41 การใชง าน Timer แบบ TOF 68
รูปท่ี 2-42 Timer แบบ Retentive On-Delay Timer (TONR) 68
รูปที่ 2-41 การใชงาน Timer แบบ TONR 80
รปู ท่ี 2-44 กลุมคําส่ัง Counter 80
รปู ที่ 2-45 Counter แบบ CTU 81
รปู ที่ 2-46 Timing Diagram ของ Counter แบบ CTU 81
รปู ท่ี 2-47 ตวั อยางการใชง าน Counter แบบ CTU 81
รูปท่ี 2-48 Counter แบบ CTD 82
รูปท่ี 2-49 Timing Diagram ของ Counter แบบ CTD 82
รูปที่ 2-50 ตัวอยา งการใชงาน Counter แบบ CTD 82
รูปท่ี 2-51 Counter แบบ CTUD 83
รปู ที่ 2-52 Timing Diagram ของ Counter แบบ CTUD 83
รปู ที่ 2-53 ตัวอยางการใชงาน Counter แบบ CTUD 95
รูปที่ 2-54 กลมุ คําสง่ั Move 96
รปู ท่ี 2-55 คาํ สั่ง Move Byte 96
รูปท่ี 2-56 ตวั อยา งการใชค าํ สั่ง Move Byte 97
รปู ท่ี 2-57 คาํ สงั่ Move Word 97
รปู ที่ 2-58 ตวั อยางการใชคําสัง่ Move Word 98
รปู ท่ี 2-59 คาํ ส่ัง Move Double Word 98
รปู ท่ี 2-60 ตัวอยางการใชค าํ ส่ัง Move Double Word

Decha Phattanaprasitchaiสารบัญภาพตอ หนา
99
รูปท่ี 2-61 คําสง่ั Move Real 99
รูปท่ี 2-62 ตวั อยา งการใชค าํ สั่ง Move Real 110
รปู ท่ี 2-63 กลุมคําสั่ง Convert 110
รปู ที่ 2-64 คําสั่ง Convert Byte to Integer 111
รปู ที่ 2-65 คําสง่ั Convert Integer to Byte 111
รปู ที่ 2-66 คาํ สง่ั Convert Integer to Double Integer 111
รปู ท่ี 2-67 คําสงั่ Convert Double Integer to Integer 112
รูปที่ 2-68 คาํ สั่ง Convert Double Integer to Real 123
รูปที่ 2-69 กลุมคาํ สัง่ Compare 124
รูปที่ 2-70 คําส่งั Compare Byte 124
รปู ท่ี 2-71 คําสงั่ Compare Integer 124
รปู ที่ 2-72 คําสัง่ Compare Double Integer 125
รปู ท่ี 2-73 คําสั่ง Compare Real 135
รูปที่ 3-1 การควบคุมระดบั นํา้ ในถังเกบ็ 136
รูปท่ี 3-2 แผนผังนิยามของเซนเซอร 136
รปู ที่ 3-3 แผนผงั นยิ ามของทรานสดวิ เซอร 137
รูปท่ี 3-4 สวติ ชความดนั 138
รูปที่ 3-5 เพรสเซอรท รานสมติ เตอร 138
รูปที่ 3-6 การตอวงจรไฟฟาของเพรสเซอรทรานสมิตเตอร 139
รปู ท่ี 3-7 หลกั การของเทอรโ มคปั เปล 139
รูปที่ 3-8 เทอรโ มคัปเปลแบบตา งๆ 141
รปู ท่ี 3-9 การตอ โมดลู อนาลอก EM231 142
รปู ท่ี 3-10 การตอเทอรโ มคัปเปลเขากบั โมดูลอนาลอก EM231 142
รปู ท่ี 3-11 โครงสรา งของอารท ีดี 143
รูปท่ี 3-12 ชนดิ ของอารทดี ตี ามรปู แบบโครงสรา ง 144
รูปที่ 3-13 อารท ีดีแบบ 2 สาย 144
รูปที่ 3-14 อารท ีดแี บบ 3 สาย 144
รูปท่ี 3-15 อารท ดี ีแบบ 4 สาย 145
รปู ที่ 3-16 แบบหวั ตอสายสญั ญาณ 145
รปู ท่ี 3-17 การตอ อารท ีดกี บั โมดลู EM231 146
รูปท่ี 3-18 การตออารท ดี ีแบบ 2 หรอื 3 สายกบั โมดูล EM231 157
รปู ที่ 3-19 โครงสรางและรูปแบบของเทอรไ บนโฟลว เซนเซอร 157
รปู ท่ี 3-20 การตอเอาทพ ุทของเซนเซอรแ บบ NPN และ PNP 157
รปู ท่ี 3-21 การตอ เซนเซอรเ อาทพ ุทแบบ NPN รว มกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

Decha Phattanaprasitchaiสารบัญภาพตอ หนา
158
รปู ท่ี 3-22 การตอ เซนเซอรเ อาทพทุ แบบ PNP รว มกบั โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 158
รูปที่ 3-23 การตอ เอาทพุทแบบสัญญาณอนาลอกกับอนาลอกโมดลู EM 231 159
รปู ที่ 3-24 สวติ ชล ูกลอยแบบตา งๆ 160
รูปที่ 3-25 สวติ ชลูกลอยแบบไมโครสวติ ช 160
รปู ท่ี 3-26 สวิตชลกู ลอยแบบลดี สวิตช 161
รูปที่ 3-27 อลั ตราโซนกิ เลเวลเซนเซอรแ บบตา งๆ 161
รปู ท่ี 3-28 การตดิ ตั้งและระยะการคน หา 162
รปู ท่ี 3-29 0โหลดเซลลแ บบสเตรนเกจ0 163
รูปท่ี 3-30 0โหลดเซลลแบบสเตรนเกจ 163
รูปที่ 3-31 0โหลดเซลลแบบนิวแมตรกิ
รูปที่ 3-32 0โหลดเซลลไพโซรซี ิสทฟี 0 164
164 165
รูปที่ 3-33 0โหลดเซลลแมกเนโตสเตรก็ ทีฟ 165
รปู ท่ี 3-34 0โหลดเซลล0แบบ Single End Shear Beam 166
รปู ท่ี 3-35 0โหลดเซลล0แบบ Double End Shear Beam 166
รปู ท่ี 3-36 0โหลดเซลล0แบบ Single Point 166
รูปที่ 3-37 0โหลดเซลล0แบบ Bending Beam 167
รปู ที่ 3-38 0โหลดเซลล0แบบ Pancake 167
รูปที่ 3-39 0โหลดเซลล0แบบ Canister 176
รูปที่ 3-40 โหลดเซลลแ บบ S Beam 177
รูปท่ี 3-41 เซนเซอรแสงแบบตางๆ 177
รูปที่ 3-42 เซนเซอรแ สงแบบตรวจจับโดยตรง 178
รปู ที่ 3-43 เซนเซอรแ สงแบบลาํ แสงสะทอนกลับ 178
รปู ที่ 3-44 เซนเซอรแสงแบบลําแสงผานตลอด 179
รปู ที่ 3-45 ตัวอยางการใชงานเซนเซอรแสง 180
รปู ท่ี 3-46 รปู แบบโหมดการทํางานของเซนเซอรแ สง 180
รปู ที่ 3-47 วงจรการตอ สายเซนเซอรแ สงแบบเอาทพ ุท 4 สาย 181
รูปที่ 3-48 พรอ็ กซิมติ เี้ ซนเซอร0แบบตางๆ 182
รูปที่ 3-49 โครงสรางและสว นประกอบของพร็อกซมิ ิตเ้ี ซนเซอร0ชนิดเหนีย่ วนํา 182
รูปที่ 3-50 ระยะการตรวจจบั โลหะกับสัญญาณเอาทพทุ ของเซนเซอร 183
รูปท่ี 3-51 โครงสรางและสว นประกอบของพร็อกซิมติ ้ีเซนเซอร0ชนิดเกบ็ ประจุ 183
รูปที่ 3-52 การตรวจจับวตั ถทุ ีม่ คี าไดอเิ ลก็ ตริกไมเ ทา กนั 184
รปู ท่ี 3-53 เอาทพทุ ของพร็อกซมิ ิต้ีเซนเซอร แบบ NUMAR 2 สาย 184
รปู ท่ี 3-54 เอาทพ ุทของพรอ็ กซิมติ ี้เซนเซอรแบบทรานซิสเตอร
รูปที่ 3-55 เอาทพ ทุ ของพร็อกซิมติ ี้เซนเซอรแบบเอสซอี าร ซ

สารบญั ภาพตอ หนา
184
รปู ท่ี 3-56 เอาทพ ุทของพรอ็ กซมิ ิต้ีเซนเซอรแ บบอนาลอก 191
รูปที่ 4-1 การสตารท มอเตอรแบบสตาร-เดลตา ดวยแมกเนตริกรเี ลย 191
รปู ท่ี 4-2 Timing Diagram ของการสตารทมอเตอรแบบสตาร-เดลตา 192
รปู ท่ี 4-3 ตวั อยา งโปรแกรมควบคมุ การสตารทมอเตอรแบบสตาร-เดลตา แบบท่ี 1 193
รูปท่ี 4-4 Timing Diagram ของการสตารทมอเตอรแบบสตาร-เดลตา แบบท่ี 2 193
รปู ที่ 4-5 ตวั อยางโปรแกรมควบคุมการสตารท มอเตอรแบบสตาร-เดลตา แบบที่ 2 194
รูปท่ี 4-6 ตัวอยางโปรแกรมควบคุมการสตารท มอเตอรแบบสตาร- เดลตา แบบท่ี 3 197
รปู ที่ 4-7 ตัวอยา งกระบวนการบรรจภุ ณั ฑใ นการผลิต 197
รูปท่ี 4-8 กระบวนการ Primary Packaging บรรจุภัณฑในการผลิต 198
รูปท่ี 4-9 กระบวนการ Secondary Packaging บรรจภุ ณั ฑในการผลิต 198
รปู ที่ 4-10 กระบวนการ End-of-line Packaging บรรจุภณั ฑในการผลติ 199
รปู ที่ 4-11 ตัวอยางกระบวนการเติมผลติ ภัณฑล งในบรรจภุ ัณฑ 200
รปู ที่ 4-12 แลดเดอรไ ดอะแกรมกระบวนการเติมผลิตภณั ฑลงในบรรจภุ ัณฑ 203
รปู ที่ 4-13 ตวั อยา งกระบวนการเอทานอล 204
รูปที่ 4-14 ตัวอยา งกระบวนการเจือจางน้ําตาลในถงั ผสม 206
รูปที่ 4-15 ตวั อยางโปรแกรมการควบคมุ กระบวนการเจือจางน้าํ ตาลในถังผสม 207
รูปที่ 4-15 ตวั อยา งโปรแกรมการควบคุมกระบวนการเจือจางนํา้ ตาลในถงั ผสม (ตอ )
Decha Phattanaprasitchai

สารบญั ตาราง หนา
51
ตารางท่ี 2-1 การกาํ หนดคา Operand ของคําสงั่ NO, NC และ OUTPUT 65
ตารางท่ี 2-2 คา ความละเอยี ดในการกําหนดฐานเวลาของ Timer 95
ตารางท่ี 2-3 ประเภทของขอมูล 140
ตารางท่ี 3-1 ประเภทของเทอรโ มคปั เปล 141
ตารางที่ 3-2 คณุ สมบตั ขิ องเทอรโ มคปั เปล มาตรฐาน Type ตา งๆ 192
ตาราง 4-1 การกาํ หนด Address ของอนิ พทุ และเอาทพ ุท 199
ตาราง 4-2 การกําหนด Address ของอนิ พทุ และเอาทพทุ 204
ตาราง 4.3 การกําหนด Address ของอนิ พทุ และเอาทพทุ
Decha Phattanaprasitchai

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006
ระดบั ช้นั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) สาขาวชิ า ชา งไฟฟากาํ ลังกําลัง
หนว ยกติ 3 (5) จาํ นวนรวม 90 ช่วั โมง

จดุ ประสงคร ายวชิ า

1. เพือ่ ใหเ ขา ใจโครงสรา งสวนประกอบ การทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอน
โทรลเลอร คอมพิวเตอร เซนเซอร และอุปกรณค วบคมุ แบบตา ง ๆ

2. เพือ่ ใหส ามารถเขยี นโปรแกรมคาํ สัง่ ควบคมุ การทาํ งานของโปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอรร ว มกับเซนเซอรและอปุ กรณควบคุมแบบตา ง ๆ

3. เพอื่ ใหม กี ิจนิสัยในการศึกษาหาความรูเ พม่ิ เติม
Decha Phattanaprasitchai
มาตรฐานรายวิชา

1. เขยี นโปรแกรมควบคุมโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
2. นาํ เซนเซอรแ ละอุปกรณควบคมุ มาประยกุ ตใ ชง าน
3. ประยกุ ตใ ชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู รวมกับเซนเซอรแ ละอปุ กรณควบคมุ แบบตา งๆ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับโครงสร างของ โปรแกร มเมเบิ ล
คอนโทรลเลอร การเขียนคําส่ังควบคุมการทํางานของโปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอร หลักการทํางานของเซนเซอรท่ีใชวัดและตรวจจับ ความเร็ว
ความดัน อุณหภูมิ อัตราการไหล ระดับ น้ําหนัก แสง พรอกซิมิต้ีสวิตช
อุปกรณควบคุมตัวตั้งเวลา ตัวนับ ลิมิตสวิตช ฯลฯ การนําเอาโปรแกรม
คอนโทรลเลอรแ ละคอมพิวเตอร มาประยุกตใชรวมกับเซนเซอรและอุปกรณ
ควบคุมแบบตา งๆ

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหสั วชิ า 3104-2006
ระดับชนั้ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) สาขาวิชา ชา งไฟฟากาํ ลงั
หนวยกิต 3 (5) จํานวนรวม 90 ช่ัวโมง

หนว ยการสอนDecha Phattanaprasitchai 5 ชัว่ โมง
55 ชั่วโมง
หนว ยที่ 1 โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 15 ช่วั โมง
หนวยท่ี 2 การเขียนคําส่ังควบคมุ การทํางานของโปรแกรม 15 ชวั่ โมง
90 ชวั่ โมง
เมเบิลคอนโทรลเลอร
หนวยที่ 3 หลกั การทาํ งานของเซนเซอรและทรานสดิวเซอร
หนวยท่ี 4 การประยกุ ตใชงานโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร

รวม

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม รหัสวชิ า 3104-2006
ระดบั ชัน้ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) สาขาวิชา ชางไฟฟา กําลัง
หนว ยกิต 3 (5) จํานวนรวม 90 ช่ัวโมง

Decha Phattanaprasitchaiตารางวเิ คราะหหนวยการเรียนรู

หนวยการเรียนรู จดุ ประสงค มาตรฐาน
รายวชิ า รายวชิ า
1. โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 123 123
2. การเขยี นคาํ ส่งั ควบคุมการทาํ งานของ

โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
3. หลักการทํางานของเซนเซอรและ
ทรานสดิวเซอร
4. การประยุกตใ ชง านโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรล

เลอร

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006
ระดบั ช้ัน ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวชิ า ชา งไฟฟากําลัง
หนว ยกติ 3 (5) จํานวนรวม 90 ชั่วโมง

Decha Phattanaprasitchaiตารางวเิ คราะหหนวยการเรียนรกู ับพฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค

หนวยการเรียนรู พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค จํานวน
1. โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร คาบ
2. การเขยี นคําสงั่ ควบคุมการทํางานของ พุทธิ ทกั ษะ จิต (ชม.)
พสิ ัย พสิ ยั พิสยั
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2 125
3. หลกั การทาํ งานของเซนเซอรและ 2 3 3 55

ทรานสดิวเซอร 3 2 3 15
4. การประยกุ ตใ ชง านโปรแกรมเมเบิลคอนโทรล
3 3 3 15
เลอร
รวม 24 40 26 90

เอกสารประกอบการสอน

รายวชิ า ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม รหสั วิชา 3104-2006
ระดบั ชั้น ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) สาขาวิชา ชางไฟฟา กําลงั
หนวยกิต 3 (5) จาํ นวนรวม 90 ช่วั โมง

ตารางวเิ คราะหคําอธิบายรายวิชา
Decha Phattanaprasitchai
หนว ยการเรยี นรู เวลาเรียน จาํ นวน
1. โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร ทฤษฏี ปฏิบตั ิ (ชม.)

1.1 หนวยประมวลผลกลาง 5- 5
1.2 หนวยความจาํ 22 33 55
1.3 หนวยอนิ พุท – เอาทพทุ
1.4 อปุ กรณต อรว ม 69 15
2. การเขยี นคําสั่งควบคมุ การทาํ งานของโปรแกรม
เมเบลิ คอนโทรลเลอร
2.1 การใชง านพื้นฐานของโปรแกรม
2.2 การตดิ ตอสื่อสารระหวางคอมพิวเตอร

กับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
2.3 การสราง Project
2.4 กลุมคาํ ส่งั Bit Logic
2.5 กลมุ คาํ สงั่ Timer
2.6 กลมุ คาํ ส่งั Counter
2.7 กลุมคาํ สงั่ Move
2.8 กลมุ คําสง่ั Convert
2.9 กลมุ คาํ สั่ง Compare
3. หลักการทาํ งานของเซนเซอรและทรานสดวิ เซอร
3.1 นยิ ามเซนเซอรและทรานสดิวเซอร
3.2 เซนเซอรและทรานสดวิ เซอรความดัน

เอกสารประกอบการสอน

รายวชิ า ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006
ระดับชัน้ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) สาขาวิชา ชา งไฟฟากําลัง
หนว ยกติ 3 (5) จํานวนรวม 90 ช่ัวโมง

ตารางวเิ คราะหค าํ อธิบายรายวิชา
Decha Phattanaprasitchai
หนว ยการเรียนรู เวลาเรียน จาํ นวน
3.3 เซนเซอรแ ละทรานสดวิ เซอรอุณหภมู ิ ทฤษฏี ปฏบิ ัติ (ชม.)
3.4 เซนเซอรและทรานสดิวเซอรว ดั การไหล
3.5 เซนเซอรแ ละทรานสดิวเซอรว ัดระดับ 6 9 15
3.6 เซนเซอรและทรานสดิวเซอรวัดนาํ้ หนกั 39 51 90
3.7 เซนเซอรแสง
3.8 พรอ กซิมติ ี้สวิตช
4. การประยกุ ตใ ชงานโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
4.1 การควบคมุ การสตารทมอเตอรแบบ

สตาร-เดลตา
4.2 ระบบบรรจแุ ละตรวจนบั สนิ คา
4.3 กระบวนการถงั ผสมสารเคมี

รวม

เอกสารประกอบการสอน รหัสวชิ า 3104-2006
สาขาวชิ า ชางไฟฟา กาํ ลงั
รายวิชา ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม จาํ นวนรวม 90 ชวั่ โมง
ระดบั ช้นั ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.)
หนวยกิต 3 (5)

ตารางวิเคราะหจุดประสงคก ารเรยี นรู

หนว ยการเรียนรูDecha Phattanaprasitchai ระดับพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค ชว่ั โมง
1. โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร พุทธพสิ ยั ทกั ษะพสิ ัย จติ พสิ ยั
123123123 5
1.1 หนวยประมวลผลกลาง 55
1.2 หนวยความจาํ
1.3 หนวยอินพทุ – เอาทพทุ 15
1.4 อปุ กรณต อรว ม
2. การเขยี นคาํ สงั่ ควบคมุ การทํางานของ
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
2.1 การใชง านพ้ืนฐานของโปรแกรม
2.2 การติดตอ สอ่ื สารระหวาคอมพวิ เตอร

กับโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
2.3 การสรา ง Project
2.4 กลุมคําสั่ง Bit Logic
2.5 กลมุ คําสง่ั Timer
2.6 กลุมคําสงั่ Counter
2.7 กลมุ คาํ ส่งั Move
2.8 กลุมคําสั่ง Convert
2.9 กลุมคําส่งั Compare
3. หลักการทาํ งานของเซนเซอร
3.1 นิยามเซนเซอรและทรานสดิวเซอร
3.2 เซนเซอรแ ละทรานสดิวเซอรค วามดัน
3.3 เซนเซอรและทรานสดิวเซอรอ ณุ หภมู ิ

เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า 3104-2007
สาขาวิชา ชา งไฟฟากาํ ลงั
รายวชิ า ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม จาํ นวนรวม 72 ชั่วโมง
ระดับชัน้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชัน้ สูง (ปวส.)
หนวยกิต 3 (4)

ตารางวิเคราะหจุดประสงคการเรยี นรู

หนว ยการเรียนรูDecha Phattanaprasitchaiระดับพฤตกิ รรมท่พี ึงประสงคชั่วโมง
พทุ ธพิสยั ทกั ษะพสิ ยั จิตพสิ ัย
3.4 เซนเซอรแ ละทรานสดวิ เซอร 123123123
ตรวจวัดการไหล
3.5 เซนเซอรและทรานสดวิ เซอร 15
ตรวจวดั ระดับ
3.6 เซนเซอรและทรานสดวิ เซอรว ดั

นํ้าหนกั
3.7 เซนเซอรแ สง
3.8 พรอกซมิ ิตีส้ วติ ช
4. การประยุกตใชง านโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรล
เลอร
4.1 การควบคมุ การสตารท มอเตอรแ บบ

สตาร-เดลตา
4.2 ระบบบรรจแุ ละตรวจนบั สนิ คา

4.3 กระบวนการถังผสมสารเคมี

รายวชิ า ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม โครงการสอนรา
สาขาวชิ า ชางไฟฟา กําลงั
รหสั วิชา 310
หนวยกติ 3

โครงการสอน

สปั ดาหท่ี หนวยท่ี ชอื่ หนว ย/เนอ้ื หา
1 1 ชอ่ื หนว ยการเรียน
โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรล 1.1
เลอร 1.2

1.3
Decha Phatt
1.4
2 2 การเขยี นคําสัง่ ควบคมุ การทาํ งานของ 2.1
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2.2

ายสปั ดาห

04-2006
tanaprasitchaiระดับชั้น ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.)
จาํ นวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห รวม 90 ชั่วโมง

า การวัดผลการเรยี น
เนอ้ื หาหนวยการเรียน เครอ่ื งมอื วดั ผลการเรียน คะแนน
- แบบทดสอบ 10
หนวยประมวลผลกลาง
หนวยความจาํ - แบบทดสอบ 10
1.2.1 หนวยความจํา ROM
1.2.2 หนว ยความจาํ RAM
หนวยอนิ พทุ – เอาทพ ทุ
1.3.1 หนวยอนิ พทุ
1.3.2 หนวยเอาทพุท
อุปกรณต อ รว ม
การใชง านพน้ื ฐานของโปรแกรม
การติดตอ ส่อื สารระหวางคอมพวิ
เตอรกบั โปรแกรมเมเบิลคอน
โทรลเลอร

รายวิชา ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม โครงการสอ
สาขาวชิ า ชา งไฟฟากําลงั
รหสั วชิ า 310
หนวยกิต 3

โครงการสอน

สัปดาหท่ี หนวยที่ ชอ่ื หนวย/เนอื้ หา
3-5 2 ชื่อหนว ยการเรยี น

6-7 2 2.3
2.4
2.5

8–9 2 2.6
Decha Phatt
10 2 2.7

11 2 2.8

12 2 2.9

อนรายสปั ดาห ระดบั ชนั้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.)
จํานวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห รวม 90 ชั่วโมง
04-2006
tanaprasitchai
า การวัดผลการเรียน
เนอื้ หาหนว ยการเรยี น เครื่องมอื วัดผลการเรยี น คะแนน
- แบบทดสอบ 10
การสรา ง Project - แบบฝกหดั 10
กลมุ คําส่งั Bit Logic - แบบทดสอบ 10
กลมุ คาํ สง่ั Timer - แบบฝก หัด 10
กลมุ คาํ สั่ง Counter - แบบทดสอบ 10
กลุมคําสง่ั Move - แบบฝก หัด 10
กลุมคําสั่ง Convert - แบบทดสอบ 10
กลุม คาํ สั่ง Compare - แบบฝก หัด 10
- แบบทดสอบ 10
- แบบฝก หัด 10
- แบบทดสอบ 10
- แบบฝก หดั 10

รายวชิ า ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม โครงการสอ
สาขาวชิ า ชา งไฟฟา กําลงั
รหสั วิชา 310
หนวยกิต 3

โครงการสอน

สปั ดาหที่ หนวยที่ ชื่อหนว ยการเรยี น ชอ่ื หนวย/เน้ือหา
13 3
14 3 หลกั การทาํ งานของเซนเซอร 3.1
3.2
15 3 3.3
16 4 3.4
17 4 3.5
18 4 Decha Phatt 3.6
3.7
การประยุกตใชงานโปรแกรมเมเบลิ คอน 4.1
โทรลเลอร
4.2
4.3

อนรายสปั ดาห ระดับชนั้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
จํานวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห รวม 90 ช่ัวโมง
04-2006
tanaprasitchai
า การวัดผลการเรยี น
เน้อื หาหนวยการเรยี น เคร่อื งมือวัดผลการเรียน คะแนน
- แบบทดสอบ 10
เซนเซอรความดนั
เซนเซอรอุณหภูมิ - แบบทดสอบ 10
เซนเซอรวัดการไหล
เซนเซอรวดั ระดับ - แบบทดสอบ 10
เซนเซอรว ดั น้ําหนกั - แบบฝก หดั 10
เซนเซอรแ สง - แบบฝกหัด 10
พรอกซมิ ิตี้สวติ ช - แบบฝก หัด 10
การควบคมุ การสตารท มอเตอร
แบบสตาร-เดลตา

ระบบบรรจุและตรวจนบั สินคา

กระบวนการถงั ผสมสารเคมี

เอกสารประกอบการสอน วชิ า ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม

หนวยท่ี 1 โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร เวลา 5 ช่วั โมง
แผนการเรยี นรทู ี่ 1 โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
สัปดาหท ี่ 1

หัวขอเรอ่ื ง
1.1 หนวยประมวลผลกลาง (Control Processing Unit ; CPU)
1.2 หนวยความจํา (Memory Unit)
1.3 หนว ยอินพทุ – เอาทพทุ (Input / Output Unit)
1.4 อปุ กรณต อรว ม (Peripheral Device)
Decha Phattanaprasitchai
สาระสาํ คัญ

โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ประกอบดวยสวนท่ีสําคัญ 4 สวน คือ หนวยประมวลผลกลาง
(Control Processing Unit ; CPU) หนวยความจํา (Memory Unit) หนวยอินพุท – เอาทพุท (Input /
Output Unit) และสวนของอุปกรณตอรวม (Peripheral Device) ซึ่งการทํางานจะรับทําการตรวจสอบ
สถานะของอินพุท ทําการประมวลผลท่ีหนวยประมวลผลกลางตามเง่ือนไขโปรแกรมที่ไดออกแบบไวแลวจึง
ปรบั ปรุงสถานะของเอาทพทุ โดยจะเปนวงรอบการทํางานแบบน้ีเรอ่ื ยไป

จดุ ประสงคท ั่วไป
เพ่อื ใหม คี วามรู ความเขา ใจเก่ยี วกับโครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร และมีเจตคติท่ีดี

ตอการเรียนรู

จุดประสงคเ ชิงพฤติกรรม
1. บอกสว นประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรไ ด
2. อธบิ ายลกั ษณะและการทํางานของหนวยประมวลผลกลางได
3. อธบิ ายลักษณะและการทํางานของหนว ยความจําได
4. อธิบายลกั ษณะและการทํางานของหนวยอนิ พทุ – เอาทพุทได
5. อธิบายลกั ษณะและการทาํ งานของอปุ กรณตอรวมได

1

เอกสารประกอบการสอน วชิ า ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม
ผังความคดิ
หนวยความจาํ
หนว ยประมวลผลกลาง (Memory Unit)
(Control Processing Unit ; CPU)

อปุ กรณตอ รว มDecha Phattanaprasitchaiโครงสรา งของโปรแกรมหนวยอนิ พทุ - เอาทพ ุท
(Peripheral Device) เมเบลิ คอนโทรลเลอร (Input / Output Unit)

2

Decha Phattanaprasitchai โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
แบบทดสอบกอนเรยี น หนวยท่ี 1
ใบความรทู ี่ 1 โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
คําสงั่ จงเขียนเคร่ืองหมายกากบาท X หนา ขอ ที่ถูกตอ งทส่ี ุด
1. PLC คือคํายอ ของขอใด
ก. Program Latching Controller
ข. Program Logic Controller
ค. Programmable Latching Controller
ง. Programmable Logic Controller
2. ขอ ใดไมใ ชสว นประกอบหลักของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
ก. หนวยประมวลผลกลาง
ข. หนวยแหลงจา ยไฟฟา หลกั
ค. หนว ยอนิ พุท – เอาทพ ทุ
ง. หนวยความจาํ
3. การสแกนของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ประกอบดว ยสวนใด
ก. I/O Scan และ Program Scan
ข. I/O Scan และ Memory Scan
ค. Input Scan และ Program Scan
ง. Input Scan และ Memory Scan
4. เวลาสแกน 1 Scan Time ของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร คอื ขอใด
ก. ตรวจสอบสถานะอนิ พทุ , ประมวลผลโปรแกรม
ข. ตรวจสอบสถานะอนิ พุท, ปรบั ปรุงสถานะเอาทพุท
ค. ประมวลผลโปรแกรม, ปรับปรุงสถานะเอาทพุท
ง. ตรวจสอบสถานะอนิ พทุ , ประมวลผลโปรแกรม, ปรบั ปรงุ สถานะเอาทพ ุท
5. โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรประกอบดว ยหนวยความจาํ ทีส่ ําคัญคอื
ก. หนวยความจําชนดิ แรมและหนว ยความจาํ ชนดิ รอม
ข. อีพรอมและออี ีพรอม
ค. หนวยความจาํ ระบบและหนว ยความจาํ ผูใ ช
ง. หนว ยความจาํ ชนิดแรมและอพี รอมและออี ีพรอม

3

Decha Phattanaprasitchai โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยที่ 1
6. ขอ ใดคือสญั ญาณอนิ พุทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร

ก. หนา คอนแทค
ข. เซนเซอร
ค. สวิตช
ง. สัญญาณไฟสลบั หรือสัญญาณไฟตรง
7. ขอ ใดคอื สัญญาณอนาลอกมาตรฐาน
ก. แรงดนั ไฟฟา 12-24 V
ข. กระแสไฟฟา 4-20 mA
ค. คา ความตา นทาน 0-1000 Ohm
ง. สัญญาณไฟสลบั หรือสัญญาณไฟตรง
8. ขอ ใดคืออนิ พทุ ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
ก. รเี ลย
ข. อินเวอรเ ตอร
ค. สวติ ช
ง. หลอดไฟ
9. ขอใดคอื เอาทพ ุทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
ก. เซนเซอร
ข. แมคเนตกิ
ค. อารท ีดี
ง. โหลดเซลล
10. ขอใดคือขอดีของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
ก. ทาํ งานเรว็ กวารีเลย
ข. สามารถตอแมคเนตกิ ไดหลายตัว
ค. สามารถตอสวิตชไดทั้งแบบ NO และ NC
ง. สามรถตอใชงานรว มกบั คอมพิวเตอรได

4

Decha Phattanaprasitchai โครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น หนว ยท่ี 1
ใบความรูท่ี 1 โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
1. ง
2. ข
3. ก
4. ง
5. ค
6. ง
7. ข
8. ค
9. ข
10. ก

5

โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
หนว ยท่ี 1
ใบความรทู ี่ 1
โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร

เมื่อป พ.ศ. 2511 ในฝายไฮโดเมติค (Hydromatic) ของบริษัทเจเนอรรอล มอเตอร (General
Motors) ประเทศสหรฐั อเมริกา ไดคิดคนอุปกรณควบคุมแบบใหมเพ่ือใชทดแทนวงจรไฟฟาแบบเดิมท่ีใชกัน
อยูในโรงงานอุตสาหกรรมของบริษัท และในป พ.ศ. 2512 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ไดถูกผลิตข้ึน
จําหนายในประเทศสหรัฐอเมริกาเปนแหงแรก สวนในประเทศญี่ปุนโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ไดถูก
พฒั นาขึ้นภายหลงั จากทบ่ี ริษทั ออมรอม (OMRON Co.,Ltd) ประเทศญี่ปุนประสบความสําเร็จในการผลิตโซ
ลิต-สเตทรีเลย (Solid State Relay) ในป พ.ศ.2508 หลงั จากนนั้ 5 ป โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรก็ถูกนํา
ออกจําหนายสูทองตลาดจนเปนท่ีแพรหลายในเวลาตอมา ช่ือเรียกท่ีแตกตางกันของ โปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอร น้นั ข้ึนอยูกับแตละบรษิ ัทจะมชี อ่ื เรยี กแตกตา งกนั ในแตล ะประเทศดงั นี้

• ประเทศอังกฤษ เรียกวา พีซี (PC) หรือ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรเลอร (Programmable
Controller)

• ประเทศกลุมสแกนดิเนเวีย เรียกวา พีบีเอส (PBS) หรือ โปรแกรมเมเบิลไบนาร่ีซิสเทม
(Programmable Binary System)

• ประเทศสหรัฐอเมริกา เรียกวา พีเอลซี (PLC) หรือ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรเลอร
(Programmable Logic Controller)
Decha Phattanaprasitchai

รูปที่ 1-1 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรเ ปน อปุ กรณค อมพวิ เตอรสําหรบั ใชค วบคุมระบบในงานอุตสาหกรรม
ซึ่งประกอบไปดวย หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจํา หนวยรับขอมูล หนวยสงขอมูล และหนวยปอน
โปรแกรม เคร่ืองโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรเลอรท ี่มขี นาดเล็กจะมีสวนประกอบอยรู วมเปน เครือ่ งเดียวกัน แตถา

6

โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยที่ 1
เปนขนาดใหญส ามารถแยกออกเปนสว นประกอบยอยๆ ได โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรเปนอุปกรณชนิด
โซลิด-สเตท (Solid State) ท่ีทาํ งานแบบลอจิก (Logic Functions) การออกแบบการทํางานของโปรแกรมเม
เบิลคอนโทรลเลอร คลา ยกับหลกั การทํางานของคอมพิวเตอรท ่วั ไป จากหลักการพื้นฐานแลวจะประกอบดวย
อปุ กรณท ่ีเรยี กวา Solid-State Digital Logic Elements เพอื่ ใหท ํางานและติดสินใจเปนแบบลอจิก

การควบคุมเครอ่ื งจกั รหรืออุปกรณตา งๆ ในโรงงานอตุ สาหกรรมนั้นโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
จะมีขอไดเปรียบกวาการใชระบบรีเลย (Relay) ซ่ึงจําเปนจะตองเดินสายไฟฟา หรือที่เรียกวาฮารทไวร
(Hard-Wired) ฉะนัน้ เมอ่ื มีความจาํ เปน ท่ตี องเปลี่ยนกระบวนการผลิต หรือลําดับการทํา งานใหม ก็ตองเดิน
สายไฟฟา ใหม ซ่ึงเสยี เวลาและเสียคาใชจายสูง แตเม่ือเปล่ียนมาใช โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรแลวการ
เปล่ียนกระบวนการผลิตหรือลําดับการทํางานใหมนั้นทํา ไดโดยการเปลี่ยนโปรแกรมใหมเทาน้ัน นอกจากนี้
แลว โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรยังใชอ ุปกรณโซลิด-สเตท ซึง่ นาเชื่อถือกวาระบบเดมิ มกี ารใชกระแสไฟฟา
นอ ยกวา และสะดวกกวา เมือ่ ตอ งขยายขน้ั ตอนการทาํ งานของเคร่ืองจกั ร
Decha Phattanaprasitchai
(a) การควบคมุ ดวยระบบรีเลย (b) การควบคุมดวยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
รูปที่ 1-2 การควบคุมดว ยระบบรเี ลยและการควบคมุ ดว ยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

สวนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร สามารถแบงออกเปนสวนหลักๆ 4 สวนดวยกัน
ดังนี้

1. หนว ยประมวลผลกลาง (Control Processing Unit ; CPU)
2. หนว ยความจาํ (Memory Unit)
3. หนวยอนิ พุท – เอาทพทุ (Input / Output Unit)
4. อุปกรณตอรว ม (Peripheral Device)

7

โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1

งั ลํากาย่ จง่ ลหแ
(Power Supply)

บบระาํ จมา วคยว่ นห ้ ช้ใู ผาํ จมาวควย่ นห
(System Memory) (User Memory)

ทพุ นิ อ ณ์ กร ปุอ ทุ นพิ อวย ่ นห ง า กลลผลวมะรปยว่ นห ทุ ์พทาอเ ยว่ นห ทพุ ์ ทา เอ์ ณรกปุอ
(Input Device) (Input Unit) (Control Processing Unit) (Output Unit) (Output Device)

Decha Phattanaprasitchai ม่วรอ่ ์ตรณกุปอ
(Peripheral Device)

รปู ที่ 1-3 สว นประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร

อปุ กรณตอ รว ม (Peripheral)

อปุ กรณอนิ พทุ (Input Device) โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร อุปกรณเอาทพ ทุ (Output Device)
รปู ที่ 1-4 การใชงานโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

1.1 หนวยประมวลผลกลาง (Control Processing Unit ; CPU)
หนวยประมวลผลกลาง (CPU) ทําหนาท่ีควบคุมและจัดการระบบทํางานทั้งหมด เชน การสั่งให

ระบบทํางานตามโปรแกรมที่กาํ หนด ควบคุมการรบั สง ขอมูลภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ควบคุม
การการสงถายขอมูลเขาออกจากหนวยความความจํา และควบคุมการสงขอมูลระหวางโปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอรและหนวยอินพุทหรอื เอาทพทุ

ภายในหนวยประมวลผลกลาง จะประกอบไปดวยวงจร Logic Gate ชนิดตางๆ หลายชนิด และมี
ไมโครโปรเซสเซอรฐาน (Microprocessor-based) ใชสําหรับแทนอุปกรณจําพวกรีเลย (Relay) เคานเตอร
(Counter) ไทเมอร (Timer) และซีเควนเซอร (Sequencers) ตางๆ เพ่อื ใหผูใชไดออกแบบใชวงจรรีเลยแลด
เดอรลอจิก (Relay Ladder Logic) เขาไปได หนวยประมวลผลกลางจะยอมรับ (Read) อินพุตเดตา (Input

8

Decha Phattanaprasitchai โครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หนว ยท่ี 1
Data) จากอปุ กรณใหสัญญาณ (Sensing Device) ตางๆ จากน้นั จะปฏิบัติการและเก็บขอมูลโดยใชโปรแกรม
จากหนวยความจํา และสงขอมูลทเ่ี หมาะสมถูกตองไปยงั อปุ กรณค วบคุม (Control Device)

แหลงจายไฟฟากระแสตรง (DC Power Supply) ใชสําหรับสรางระดับแรงดันต่ํา (Low Level
Voltage) ใหกับไมโครโปรเซสเซอรฐานและไอโอโมดูล (I/O Modules) ซึ่งแหลงจายไฟน้ีจะเก็บไวท่ีหนวย
ประมวลผลกลาง หรอื แยกออกไปตดิ ตง้ั ทีจ่ ุดอื่นก็ไดขน้ึ อยกู บั ผผู ลิตแตล ะราย หลักการประมวลผลของหนวย
ประมวลผลกลาง ทําไดโดยรับขอมูลจากหนวยอินพุท และสงขอมูลสุดทายท่ีไดจากการประมวลผลไปยัง
หนวยเอาทพุท โดยที่กระบวนการนี้เรียกวา การสแกน (Scan) ซ่ึงใชเวลาจํานวนหน่ึง เรียกวา เวลาสแกน
(Scan Time) เวลาในการสแกนแตละรอบใชเวลาประมาณ 1 ถึง 100 msec. (0.001-0.1วินาที) ท้ังนี้ข้ึนอยู
กับขอมูลและความยาวของโปรแกรม หรือจํานวนอินพุท/เอาทพุทหรือจํานวนอุปกรณที่ตอจากโปรแกรมเม
เบิลคอนโทรลเลอร เชน เครอ่ื งพิมพหรอื จอสัมผสั เปนตน อุปกรณเหลานี้จะทําใหเวลาในการสแกนยาวนาน
ขนึ้ การเร่ิมตนการสแกนเรมิ่ จากรับคาํ ส่ังของสภาวะของอุปกรณจากหนวยอินพุทมาเก็บไวในหนวยความจํา
(Memory) เสร็จแลวจะทําการปฏิบัติการตามโปรแกรมท่ีเขียนไวทีละคําสั่งจากหนวยความจําน้ันจนส้ินสุด
แลวสง ไปท่หี นว ยเอาทพทุ

ไอ/โอ สแกน (I/O Scan)

โปรแกรม สแกน (Program Scan)

รูปที่ 1-5 การสแกนของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
ซึ่งการสแกนของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ประกอบดวย

1. ไอ/โอ สแกน (I/O Scan) คือ การบันทึกสภาวะขอมูลของอุปกรณท่ีเปนอินพุท และให
อุปกรณเ อาทพทุ ทาํ งาน

2. โปรแกรม สแกน (Program Scan) คอื การใหโ ปรแกรมทาํ งานตามลําดับกอ นหลงั
การวิเคราะหเวลาสแกน 1 Scan Time น้ัน จะไมสามารถบอกไดวาใชเวลาทั้งสินกี่วินาที แต
สามารถคํานวณไดจากหนวยความจําที่ใชในโปรแกรม โดย 1 Bits น้ันจะใชเวลาในการวิเคราะหประมาณ
0.22 µs ดังนั้นเวลาสแกน 1 เวลาสแกน (1 Scan Time) น่ันคือการวิเคราะหระบบท่ีผูเขียนโปรแกรม
ตองการควบคมุ เอาทพ ทุ ทั้งระบบวา จะใชห นวยความจําทัง้ สิน้ ก่ีบิต ขนึ้ อยกู ับการเขียนโปรแกรมงานน้ันๆเมื่อ
มีการเริ่มตนจายกําลังไฟฟาใหกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร โปรเซสเซอรจะเร่ิมทํางานโดยทําการ
ประมวลผลโปรแกรมท่ีทําหนาที่จัดการระบบกอน หลังจากนั้นถาหนวยประมวลผลอยูในโหมด "RUN"
โปรเซสเซอรก จ็ ะทาํ หนา ท่เี ขาสกู ารสแกนโดยการสแกนจะมี 3 ขน้ั ตอน คอื

9

โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนว ยท่ี 1
ขั้นตอนที่ 1 ทาํ การอา นสถานะของอุปกรณอินพุทที่เช่ือมตออยูกับอินพุทโมดูล นําขอมูลท่ีอานได
ไปเก็บไวที่ หนวยความจาํ ที่ทําหนา ท่เี ก็บสถานะอนิ พทุ

ขัน้ ตอนท่ี 2 โปรเซสเซอรจ ะทําการประมวลผลโปรแกรมท่ีผูใชสรางข้ึน โดยใชขอมูลภายในและใน
ระหวางการประมวลผล ถามผี ลลัพธจ ากการประมวลผลทําให อุปกรณเอาทพุททํางาน โปรเซสเซอรจะยังไม
สง ขอมลู ทีป่ ระมวลผลไดออกไปท่ีเอาทพุทโมดูล แตจะเก็บขอมูลเหลาน้ันไวท่ีหนวยความจํา ที่ใชในการเก็บ
สถานะของเอาทพทุ กอ น

ข้ันตอนท่ี 3 รอจนกระท่ังโปรเซสเซอรประมวลผลโปรแกรมท่ีผูใชสรางขึ้นมาจนจบโปรแกรม
หลังจากนั้น โปรเซสเซอรจะทําการสงขอมูลท่ีเก็บอยู ไปยังเอาทพุทโมดูล หลังจากนั้นโปรเซสเซอรก็จะ
ยอนกลับไปทาํ งานในขัน้ ตอนท่ี 1 ของการสแกน เพอ่ื ทาํ การสแกนรอบตอ ไป
Decha Phattanaprasitchai
ตรวจสอบสถานะ
ของอินพุท

1 รอบเวลาสแกน

(Scan Time)

ะนถา สงรุ ปบั ร ป ประมวลผล
ทุ พ์ ทาองเ อข โปรแกรม

รปู ที่ 1-6 รอบเวลาสแกนของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
คา Scan Time ถือวาเปนคุณสมบัติที่สําคัญของโปรแกรเมเบิลคอนโทรลเลอร เนื่องจากถา
สัญญาณอินพุท ที่ปอนใหกับโปรแกรเมเบิลคอนโทรลเลอร มีการเปลี่ยนแปลงเร็วกวาคาเวลาสแกน (Scan
Time) จะทําใหโปรแกรเมเบลิ คอนโทรลเลอร ไมสามารถรับรูและตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงของสัญญาณ
นั้นได ดังนั้นจะตองเลือกใชโปรแกรเมเบิลคอนโทรลเลอร ที่มีคาเวลาสแกน (Scan Time) เร็วกวาการ
เปล่ยี นแปลงของสญั ญาณอนิ พุท ทีป่ อนใหกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
1.2 หนว ยความจํา (Memory)
หนวยความจํา ทําหนาท่ีสําคัญคือเก็บโปรแกรมและคําส่ังขอมูลที่ใชในการทํางาน โดยขนาดของ
หนวยความจาํ จะถกู แบง ออกเปน บิตขอมลู (Data Bit) ภายในหนว ยความจาํ 1 บติ กจ็ ะมคี าสภาวะทางลอจิก
0 หรือ 1 แตกตางกันแลวแตคําส่ัง โดยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไดแบงหนวยความจําที่สําคัญเปน 2
สวนดวยกันคือ

10

Decha Phattanaprasitchai โครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
• หนว ยความจําระบบ (System Memory) เปนสวนที่เก็บโปรแกรมบริหารและขอมูลของ

ระบบเปน สวนทไี่ มอ นุญาตใิ หผ ใู ชเขาไปทาํ การแกไ ขได
• หนวยความจาํ ผใู ช (User Memory) ทําหนาที่เก็บโปรแกรมหรือขอมูลของผูใชงาน เก็บ

ขอมูล อินพุต/เอาทพุต และขอมูลของอุปกรณภายในซ่ึงผูใชสามารถทําการแกไข
เปลย่ี นแปลงขอ มูลได
ชนิดของหนว ยความจาํ
1. หนวยความจําชนิดแรม (RAM ; Random Access Memory) ทําหนาท่ีเก็บโปรแกรมของผูใช
และขอมูลสําหรับใชในการปฏิบัติงานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หนวยความจําประเภทนี้จะมี
แบตเตอร่เี ลก็ ๆ ตอไว เพื่อใชเ ลีย้ งขอ มลู เมอ่ื เกดิ ไฟดบั การอานและเขียนโปรแกรมลงในแรมทําไดงายมากจึง
เหมาะกับการใชง านในระยะทดลองเคร่ืองทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงแกไขโปรแกรมบอ ยๆ
2. หนวยความจําชนิดรอม (ROM ; Read Only Memory) ทําหนาที่เก็บโปรแกรมสําหรับใชใน
การปฏิบัติงานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ตามโปรแกรมของผูใช ซึ่งหนวยความจําชนิดน้ีสามารถ
โปรแกรมไดแตลบไมได แตถาเกิดการชํารุดจะไมสามารถซอมแซมได หนวยความจําชนิดรอมสามารถ
แบง เปน
2.1 อพี รอม (EPROM ; Erasable Programmable Read Only Memory)
หนวยความจําชนิด อีพรอม นี้จะตองใชเครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรมการลบ
โปรแกรมทําไดโดยใชแสงอัลตราไวโอเลตหรือตากแดดรอนๆ นานๆ มีขอดีตรงท่ีโปรแกรมจะไมสูญหายแม
ไฟดบั จึงเหมาะกบั การใชงานทไ่ี มต อ งเปล่ียนโปรแกรม
2.2 อีอีพรอม (EEPROM ; Electrical Erasable Programmable Read Only Memory)
หนวยความจําชนิดน้ีไมตองใชเครื่องมือพิเศษในการเขียนและลบโปรแกรม โดยใชวิธีการ
ทางไฟฟาเหมอื นกับแรม นอกจากนั้นก็ไมจําเปนตองมีแบตเตอร่ีสํารองไฟเม่ือไฟดับ ราคาจะแพงกวาแตจะ
รวมคณุ สมบัติที่ดขี องทัง้ แรมและอีพรอมเอาไวด วยกัน
1.3 หนวยอินพุท – เอาทพ ุท (Input / Output Unit)
โปรแกรเมเบลิ คอนโทรลเลอร เปน อปุ กรณทใ่ี ชใ นการควบคุมระบบ ซึง่ ตองอาศัยสถานะหรือขอมูล
จากอินพุทในการตัดสินใจบนพื้นฐานดานตรรกะ ท่ีจะเปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงสถานะหรือขอมูลของ
เอาทพุท โดยสวนมากสถานะหรือขอมูลของอินพุทและเอาทพุท จะเปนสัญญาณดิจิตอล แตในบางกรณี
อาจจะมีอินพุท-เอาทพุท ที่เปนสัญญาณอนาล็อก เชน การควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร การควบคุม
อณุ หภมู ิของฮีทเตอร เปนตน
สัญญาณอินพุตจากภายนอกที่เปนสวิตชและตัวตรวจจับชนิดตางๆ จะถูกแปลงใหเปนสัญญาณท่ี
เหมาะสมถูกตอง ไมวาจะเปนสัญญาณไฟสลับ (AC) หรือสัญญาณไฟตรง (DC) เพื่อสงใหหนวยประมวลผล
กลางทาํ การประมวลผล ดังน้ัน สัญญาณเหลานี้จึงตองมีความถูกตอง ไมเชนน้ันแลวผลของการประมวลผล
อาจมีความผิดพลาด ซ่ึงจะสงผลใหการควบคุมเสียหายได สัญญาณอินพุตท่ีดีจะตองมีคุณสมบัติและหนาที่
ดงั น้ี
1. ทําใหส ญั ญาณเขา ไดระดบั ทเ่ี หมาะสมกับโปรแกรเมเบลิ คอนโทรลเลอร

11

โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
2. การสงสัญญาณระหวางอินพุตกับหนวยประมวลผลกลางจะติดตอกันดวยลําแสง ซ่ึงอาศัย
อุปกรณประเภทโฟโตทรานซิสเตอรเพ่ือตองการแยกสัญญาณ (Isolate) ทางไฟฟาใหออกจากกัน เปนการ
ปอ งกันไมใหห นว ยประมวลผลกลาง เสียหายเม่อื อนิ พตุ เกิดลัดวงจร
3. หนาสัมผัสจะตอ งไมสัน่ สะเทอื น (Contact Chattering)
ในสวนของเอาตพุต จะทําหนาที่รับคาสภาวะท่ีไดจากการประมวลผลของหนวยประมวลผล
กลาง แลวนําคาเหลาน้ีไปควบคุมอุปกรณทํางาน เชน รีเลย โซลีนอยด หรือหลอดไฟ เปนตน นอกจากนั้น
แลว ยงั ทาํ หนาท่แี ยกสัญญาณของหนว ยประมวลผลกลาง ออกจากอุปกรณเอาตพุต โดยปกติเอาตพุตน้ีจะ มี
ความสามารถขับโหลดดวยกระแสไฟฟาสูงสุดโดยประมาณ 1-2 แอมแปร แตถาโหลดตองการกระแสไฟฟา
มากกวาน้ี จะตอ งตอโหลดเขา กบั อุปกรณขับอนื่ เพอ่ื ขยายใหรับกระแสไฟฟามากขึ้น เชน รีเลยหรือคอนแทค
เตอร เปนตน
ในปจจบุ ันโปรแกรเมเบิลคอนโทรลเลอร ไดม กี ารพัฒนาใหมีความสามารถและประสิทธิภาพสูงขึ้น
ซึ่งในสวนของอินพุทและเอาทพุทสามารถรับสัญญาณไดท้ังในรูปแบบสัญญาณดิจิตอล (ON/OFF) และ
สัญญาณอนาล็อก ท่ีเปนสัญญาณมาตรฐานตางๆ เชน 4-20mA, 1-5V หรือ 1-10V โดยท่ีอุปกรณที่เปน
อนิ พุทในรูปแบบสญั ญาณดิจิตอล (ON/OFF)ไดแก สัญญาณท่ีไดจากอุปกรณจําพวกเซนเซอร เชน พรอกซิ
มิต้ี สวิตช (Proximity Switch), โฟโต เซนเซอร (Photo Sensor), เอ็นโคทเดอร (Encoder) หรือ เพรสเชอร
เซนเซอร Pressure Sensor เปน ตน สวนอุปกรณท ่ีเปน เอาทพทุ ในรูปแบบสัญญาณดจิ ติ อล ไดแก รีเลย, โซลี
นอยด, หลอดไฟ เปนตน

ทพุ- นิ อ ณ์ ทรกุ ปพ์ ุอาทอเ
Decha Phattanaprasitchai
อินพุท ลตอ ิ จิ ดณาญั ส ก๊อ ล านอณาญัญส
Push Buttons ทุ พ์ าทอเ
ทุ พ์ าทอเ อินพุท
Limit Switch Relay RTD Inverter
Photo Sensor
Proximity Sensor Contactor Thermocouple Servo Motor Control
Temperature Control
etc. Solenoid Valve Load Cell
etc.
Lamp Pressure Transducer

etc. etc.
รปู ที่ 1-7 ประเภทของอุปกรณอ นิ พทุ – เอาทพทุ

1.4 อปุ กรณตอรว ม (Peripheral Device)
อุปกรณตอรวม (Peripheral Device) เปนอุปกรณภายนอกที่นํามาตอรวมกับโปรแกรมเมเบิล

คอนโทรลเลอร เพ่ือวัตถุประสงคบางอยางตามตองการ เชน การเขียนโปรแกรม การแสดงผลสภาวะการ
ควบคมุ การแปลงสญั ญาณในการควบคมุ รับขอมูลจากแหลง ขอมลู อ่ืนๆ หรือการพิมพและบันทึกขอมูล เปน
ตน การเชื่อมตอระหวา งอปุ กรณผา นทางสายสัญญาณ โดยขนึ้ อยูกับประเภทของมาตรฐานการรับ-สง ขอมูล
ท่บี รษิ ัทผผู ลิตนาํ มาใช

12

สาย PC/PPI โครงสรา งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1

์ ร อลเ ลรทโนอลคิ บเ มเ มรกแรปโ

สาย RS-232

Decha PhattanaprasitchaiTD-200Touch ScreenPLC Handhelp

Computer

USB Memory Barcode Reader

รูปท่ี 1-8 การใชง านอปุ กรณตอพว งรวมกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

13

Decha Phattanaprasitchai โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
แบบทดสอบหลงั เรยี น หนวยท่ี 1
ใบความรทู ่ี 1 โครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
คาํ สัง่ จงเขยี นเคร่ืองหมายกากบาท X หนาขอ ทถี่ ูกตอ งทีส่ ดุ
1. PLC คือคํายอ ของขอใด
ก. Program Logic Controller
ข. Program Latching Controller
ค. Programmable Logic Controller
ง. Programmable Latching Controller
2. ขอใดไมใชส ว นประกอบหลกั ของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
ก. หนวยประมวลผลกลาง
ข. หนวยความจาํ
ค. หนว ยอินพทุ – เอาทพทุ
ง. หนว ยแหลงจา ยไฟฟา หลกั
3. การสแกนของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร ประกอบดว ยสว นใด
ก. I/O Scan และ Memory Scan
ข. I/O Scan และ Program Scan
ค. Input Scan และ Memory Scan
ง. Input Scan และ Program Scan
4. เวลาสแกน 1 Scan Time ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร คอื ขอใด
ก. ตรวจสอบสถานะอนิ พุท, ประมวลผลโปรแกรม
ข. ตรวจสอบสถานะอนิ พทุ , ปรับปรุงสถานะเอาทพทุ
ค. ประมวลผลโปรแกรม, ปรบั ปรงุ สถานะเอาทพ ุท
ง. ตรวจสอบสถานะอินพทุ , ประมวลผลโปรแกรม, ปรับปรุงสถานะเอาทพ ุท
5. โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรประกอบดว ยหนว ยความจาํ ทสี่ ําคญั คอื
ก. หนวยความจาํ ชนิดแรมและหนวยความจําชนดิ รอม
ข. อีพรอมและอีอพี รอม
ค. หนวยความจาํ ชนิดแรมและอีพรอมและอีอีพรอม
ง. หนวยความจําระบบและหนวยความจาํ ผใู ช

14

โครงสรางของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
6. ขอ ใดคอื สัญญาณอินพทุ ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

ก. สวิตช
ข. เซนเซอร
ค. หนา คอนแทค
ง. สัญญาณไฟสลบั หรือสญั ญาณไฟตรง

7. ขอ ใดคอื สัญญาณอนาลอกมาตรฐาน
ก. กระแสไฟฟา 4-20 mA
ข. แรงดันไฟฟา 12-24 V
ค. สญั ญาณไฟสลับหรือสญั ญาณไฟตรง
ง. คาความตานทาน 0-1000 Ohm
Decha Phattanaprasitchai
8. ขอใดคืออนิ พทุ ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
ก. รีเลย
ข. อนิ เวอรเ ตอร
ค. สวติ ช
ง. หลอดไฟ

9. ขอ ใดคอื เอาทพุทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร
ก. อารท ดี ี
ข. แมคเนตกิ
ค. เซนเซอร
ง. โหลดเซลล

10. ขอใดคอื ขอ ดขี องโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
ก. สามารถตอสวิตชไดท้งั แบบ NO และ NC
ข. สามารถตอ แมคเนตกิ ไดห ลายตวั
ค. ทํางานเรว็ กวารเี ลย
ง. สามรถตอ ใชงานรวมกับคอมพวิ เตอรได

เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น หนว ยที่ 1

15

Decha Phattanaprasitchai โครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1
เฉลยใบความรทู ี่ 1 โครงสรางของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร
1. ค
2. ง
3. ข
4. ง
5. ค
6. ง
7. ก
8. ค
9. ข
10. ค

16

โครงสรา งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร หนวยท่ี 1

แบบประเมนิ กิจกรรมสงเสรมิ คุณธรรมนําความรูห นว ยท่ี 1
คาํ ช้แี จง ใหประเมินรายการแตละขอแลวเขียนเครื่องหมาย  ลงในชองระดับคุณภาพตามความเปนจริง
โดยกําหนดนํา้ หนักคะแนน ดังน้ี 5 = ดมี าก, 4 = ดี, 3 = พอใช, 2 = ควรปรบั ปรงุ , 1 = ใชไ มไ ด
ระดับคณุ ภาพ
รายการประเมิน พฤติกรรมบงช้ี 54321
1. ความสนใจใฝร ู • แสวงหาความรใู หม ๆ ที่สื่อความหมายไดชดั เจน

2. ความมีวนิ ัย • ศกึ ษาหาความรเู ครอื่ งมอื ใหต รงกับขอมลู ท่ีตอ งการ

• ทํางานตรงตอ เวลาที่อาจารยผ ูสอนมอบหมาย

• ปฏบิ ตั ิงานท่ีไดรับมอบหมายตามกฎระเบยี บ
3. ความรับผดิ ชอบDecha Phattanaprasitchai
• ปฏบิ ัตงิ านท่ีไดร ับมอบหมายเสร็จตามกําหนด

• ปฏบิ ตั งิ านดวยความละเอยี ดรอบคอบ
4. ความซอื่ สัตยสจุ ริต • ไมน าํ ผลงานของผอู ืน่ มาแอบอา งเปน ของตนเอง

5. การประหยัด • ไมทจุ ริต

• ใชส อื่ ท่พี ัฒนาโดยคํานึงถงึ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

• แสวงหาประสบการณและคน ควา ความรใู หม ๆ
6. ความเช่ือมั่นในตนเอง • กลา แสดงความคิดเหน็ อยางมีเหตผุ ล

• ยอมรับความจรงิ ในส่ิงที่ไมถกู ตอ ง
รวมคะแนนทีไ่ ด.........................................คะแนน

ขอคิดเห็นเพิ่มเตมิ
1. กระบวนการคิดท่ีใช คือ...................................................................................................................
2. ส่ิงทคี่ วรปรับปรงุ คือ......................................................................................................................

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดีมาก ……………............………………
49-60 คะแนน = ดี (นายเดชา พฒั นประสทิ ธิ์ชัย)
37-48 คะแนน = พอใช้
25-36 คะแนน = ควรปรับปรุง ครผู ูสอน
13-24 คะแนน = ใชไ้ ม่ได้
0-12 คะแนน =

หมายเหตุ อา งอิงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคของผูสาํ เร็จการศกึ ษา
สํานกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชพี สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

17

ใบงาน

ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม

รหัสวิชา 3104-2006

Decha Phattanaprasitchai

หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) พ.ศ.2557

เรียบเรยี งโดย

เดชา พัฒนประสทิ ธ์ชิ ัย
ภาควชิ าเทคโนโลยีไฟฟากาํ ลงั วิทยาลยั เทคนคิ มหาสารคาม
สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ใบงานท่ี 1 สปั ดาหที่ 2
วิชา ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 3104-2006 หนว ยที่ 2
ช่อื หนว ย กลุมคําส่ัง Bit Logic จํานวน 3 ช่ัวโมง
เรอ่ื ง การเตรยี มเครือ่ ง PLC และการสรา งโปรเจค
จดุ ประสงคเ ชิงพฤตกิ รรม เมื่อนักเรียน – นกั ศึกษาผา นการปฏบิ ัติใบงานนแี้ ลว สามารถ
1. เตรียมเครอ่ื งโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรสาํ หรับการใชง านไดถ กู ตอ ง
2. ทาํ การเชือ่ มตอ คอมพิวเตอรก บั โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรไ ดถกู ตอ ง
3. สรางโปรเจคใหมแ ละทําการบรหิ ารจดั การสวนตา งๆ ของโปรเจคไดถกู ตอง
4. มกี ิจนิสัยท่ดี ใี นการปฏิบัติงาน

Decha Phattanaprasitchaiเครอื่ งมอื – อปุ กรณ
1. เครื่องโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรร ุน S7-200 และอปุ กรณต อรว ม
2. ใบความรแู ละใบงานวชิ าระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหสั 3104-2006
3. ผา สําหรบั เช็ดทาํ ความสะอาด

ความรูพน้ื ฐาน
1. ดิจติ อลเบ้ืองตน
2. ไมโครคอนโทรลเลอร

1

ใบงานที่ 1 สปั ดาหท ่ี 2
วิชา ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006 หนว ยท่ี 2
ชือ่ หนว ย กลุมคําสัง่ Bit Logic จํานวน 3 ช่ัวโมง
เรื่อง การเตรยี มเคร่ือง PLC และการสรางโปรเจค

การปฏิบัติงาน
1. เตรยี มเครื่องโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรส ําหรบั การใชง าน
1.1 ตรวจสอบสภาพภายนอกและรักษาความสะอาดตัวเคร่ืองโปรแกรมเมเบิลคอนโทรล

เลอร สายเชอ่ื มตอ PC/PPI USB Cable และคอมพวิ เตอร
1.2 เปดโปรแกรม Step7-MicroWin แลวทําการเชื่อมตอคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบิล

คอนโทรลเลอรดวยสาย PC/PPI USB Cable
Decha Phattanaprasitchai
USB RS485

PC/PPI USB CABLE

รูปท่ี 1-1 การเช่ือมตอ คอมพิวเตอรก บั โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรดว ยสาย PC/PPI USB Cable
2. ตั้งคาพารามิเตอรตางๆ
2.1 ทําการกําหนดรุนของหนวยประมวลผลกลาง (CPU) ของโปรแกรมเมเบิล

คอนโทรลเลอรใ หต รงกบั รนุ ของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรท่ใี ชทดลอง

2
1

รปู ที่ 1-2 การกาํ หนดรุน CPU ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร

2

ใบงานที่ 1 สัปดาหท ่ี 2
วิชา ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 3104-2006 หนวยที่ 2
ช่อื หนว ย กลุมคําสงั่ Bit Logic
เร่ือง การเตรียมเครื่อง PLC และการสรา งโปรเจค จาํ นวน 3 ชว่ั โมง

2.2 ทําการต้ังคาการติดตอสื่อสารขอมูลระหวางคอมพิวเตอรกับโปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอร โดยเขา สไู ดอะลอก Communication

Decha Phattanaprasitchai
2

1
3

4

รปู ท่ี 1-3 การตง้ั คาการตดิ ตอสือ่ สารขอมูล

3

ใบงานที่ 1 สปั ดาหท ่ี 2
วิชา ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหสั วชิ า 3104-2006 หนว ยท่ี 2
ชอ่ื หนวย กลุมคําสั่ง Bit Logic จํานวน 3 ชัว่ โมง
เรอ่ื ง การเตรียมเคร่อื ง PLC และการสรา งโปรเจค

56

Decha Phattanaprasitchai
รปู ที่ 1-3 การตัง้ คา การติดตอส่อื สารขอมลู (ตอ )

4

ใบงานท่ี 1
วิชา ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหสั วิชา 3104-2006 สปั ดาหท ่ี 2
ช่ือหนวย กลมุ คาํ ส่งั Bit Logic หนวยที่ 2
เรื่อง การเตรยี มเครอ่ื ง PLC และการสรา งโปรเจค จํานวน 3 ชั่วโมง

3. การสรา งโปรเจค
3.1 การสรา งโปรเจคใหมเพื่อทําการเขียนแลดเดอรไ ดอะแกรมสามารถทําได 2 วิธีคอื สราง
จากเมนูบาร File  New หรือสรา งโปรเจคใหมจากแถบเคร่ืองมอื Standard

Decha Phattanaprasitchai
รูปที่ 1-4 การสรางโปรเจคใหม
3.2 การ Compile โปรเจค คอื การตรวจสอบความถกู ตอง สมบรู ณ ของสวนตา งๆ ของ
โปรแกรมโดยมีรูปแบบการ Compile อยู 2 แบบคือ Compile เฉพาะในสวนของ Program Block และ
Compile All หมายถึง การ Compile ในสวนท่ีเกี่ยวของทั้งหมดโดยรวมสวนของ Data Block และ
System Block เขา ไปดว ย

รูปที่ 1-5 การ Compile โปรเจค
ผลการตรวจสอบความถูกตอง สมบูรณของโปรเจคจะถูกแสดงออกที่ Output window โดยจะ
แสดงรหัสความผิดพลาด ตาํ แหนง ที่ผิดพลาดพรอมสาเหตุ

5

ใบงานท่ี 1 สัปดาหที่ 2
วชิ า ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006 หนวยที่ 2
ชือ่ หนว ย กลุมคาํ สัง่ Bit Logic จาํ นวน 3 ชั่วโมง
เร่ือง การเตรยี มเครอื่ ง PLC และการสรางโปรเจค

Decha Phattanaprasitchai
รปู ที่ 1-6 การแสดงผลการ Compile ทหี่ นาตา ง Output window
3.3 การ Download โปรเจคที่ทาํ การ Compile ผานโดยไมม ขี อ ผิดพลาดไปยงั โปรแกรม
เมเบลิ คอนโทรลเลอร ใหทําการตรวจสอบสถานะของตัวเครื่องโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรจะตองอยูใน
โหมด STOP แลว จงึ ทําการ Download

รปู ท่ี 1-7 การ Download โปรเจค

6

ใบงานที่ 1 สปั ดาหท ี่ 2
วชิ า ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 3104-2006 หนว ยท่ี 2
ชอ่ื หนว ย กลุมคาํ สงั่ Bit Logic จํานวน 3 ชวั่ โมง
เร่ือง การเตรียมเครอื่ ง PLC และการสรางโปรเจค

Decha Phattanaprasitchai
รปู ที่ 1-8 การ Download โปรเจค (ตอ)
3.4 การ RUN / STOP โปรแกรมสามรถทําได 2 แบบคือ การ RUN / STOP ผานทางเมนู
บารหรือกระทําท่ีแถบเครื่องมือ Debug Tool โดยท่ีกอนการทําการ RUN นั้นใหตรวจสอบตําแหนงสวิทช
โหมดของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรใหอยูท่ีตําแหนง RUN สวนการ STOP นั้นสามารถทําไดเชนการ
RUN

รูปท่ี 1-8 การ RUN / STOP โปรแกรม

7