เฉลย แบบฝึกหัด อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

       "อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม" เล่มนี้ นำเสนอเนื้อหาครอบคลุมพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ทั้งทฤษฎีทางด้านสารกึ่งตัวนำ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิดต่างๆ อุปกรณ์ทำงานด้วยสนามแม่เหล็ก อนาลอกไอซี ดิจิตอลไอซี และวงจนทำงานชนิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาแต่ละหน่วยบทเรียนประกอบด้วย ส่วนทฤษฎี และส่วนปฏิบัติ ทั้งสองส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หลังจากศึกษาทฤษฎีแล้ว สามารถฝึกทักษะด้านปฏิบัติต่อเนื่องกันไป ทำให้เกิดแนวความคิด สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ เหมาะสำหรับนักเรียน ระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี และบุคคลทั่วไป ที่สนใจด้านอิเล็กทรอนิกส์

เนื้อหาประกอบด้วยส่วนทฤษฎีและส่วนปฏิบัติ ทั้งสองส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หลังจากศึกษาทฤษฎีแล้ว สามารถฝึกทักษะด้านด้านปฏิบัติต่อเนื่องกันไป ทำให้เกิดแนวความคิด สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้

       "อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม" เล่มนี้ นำเสนอเนื้อหาครอบคลุมพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ทั้งทฤษฎีทางด้านสารกึ่งตัวนำ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิดต่างๆ อุปกรณ์ทำงานด้วยสนามแม่เหล็ก อนาลอกไอซี ดิจิตอลไอซี และวงจนทำงานชนิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาแต่ละหน่วยบทเรียนประกอบด้วย ส่วนทฤษฎี และส่วนปฏิบัติ ทั้งสองส่วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หลังจากศึกษาทฤษฎีแล้ว สามารถฝึกทักษะด้านปฏิบัติต่อเนื่องกันไป ทำให้เกิดแนวความคิด สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ เหมาะสำหรับนักเรียน ระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี และบุคคลทั่วไป ที่สนใจด้านอิเล็กทรอนิกส์

บทที่ 1 อะตอมและสารกึ่งตัวนำ
บทที่ 2 ไดโอด
บทที่ 3 ไดโอดเรียงกระแสเฟสเดียว
บทที่ 4 ไอโอดเรียงกระแสหลายเฟส
บทที่ 5 วงจรกรอง
บทที่ 6 แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงชนิด 3 ขั้ว
บทที่ 7 วงจรทวีคูณแรงดัน
บทที่ 8 วงจรขริบสัญญาณ
บทที่ 9 ซีเนอร์ไดโอด
บทที่ 10 วงจรทำงานซีเนอร์ไำดโอด
ฯลฯ

ISBN: 9786160816255 (ปกอ่อน) 464 หน้าขนาด: 170 x 220 x 20 มม.น้ำหนัก: 644 กรัมเนื้อในพิมพ์: ขาวดำชนิดกระดาษ: กระดาษปอนด์สำนักพิมพ์: ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.เดือนปีที่พิมพ์: 7/2013

สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน

รหัสวิชา     :  2105-2111
ชื่อวิชา       :  อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม (Industrial Electronics)
หน่วยกิต    :  3
จำนวนชั่วโมงเรียน   :  5 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ทฤษฎี 2 ปฏิบัติ 3)   18 สัปดาห์/ภาคเรียน
ผู้สอน        :  นายสุวินต์ พงศ์พุทธชาติ
จุดประสงค์รายวิชา
        1. เพื่อให้มีความเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
        2. เพื่อให้มีทักษะในการวัด ทดสอบ ตรวจซ่อม และบำรุงรักษาอุปกรณ์ในงานอิเล็กทรอนิกส์

            อุตสาหกรรมและการประยุกต์การใช้งาน
        3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีลำดับขั้นตอนในการทำงาน

            อย่างถูกต้องและปลอดภัย
สมรรถนะรายวิชา
        1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประยุกต์ใช้ในงาน

            อุตสาหกรรม
        2. ประกอบและทดสอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม
        3. ตรวจซ่อม และบำรุงรักษาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม
คำอธิบายรายวิชา
         ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม  โครงสร้าง  การทำงานและคุณลักษณะของอุปกรณ์ควบคุม การเปิด-ปิดวงจร อุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์และเซ็นเซอร์ความร้อน อุณหภูมิ แสง เสียง แรงกล ระดับของเหลว สนามแม่เหล็ก ความชื้น ก๊าซ  ควัน แรงดัน (Pressure) อัตราการไหล ความเร็วรอบ การควบคุมแบบต่าง ๆ  และการประยุกต์ใช้งาน
การวัดผล   (100 คะแนน)
1. จิตพิสัย (เวลาเรียน+ความสนใจ)                           20  คะแนน
2. ทฤษฎี (แบบฝึกหัด+สอบย่อย+สอบประมวลความรู้+รายงาน)         20  คะแนน
3. ปฏิบัติ (ทดลอง+ใบงาน+ชิ้นงาน)       60  คะแนน
หนังสือประกอบการเรียน
อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม. พันธ์ศักดิ์  พุฒิมานิตพงศ์ และคณะ
           สำนักพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ


รหัสวิชา     :  20105-2111
ชื่อวิชา       :  อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม (Industrial Electronics)
หน่วยกิต    :  3
จำนวนชั่วโมงเรียน   :  5 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ทฤษฎี 2 ปฏิบัติ 3)   18 สัปดาห์/ภาคเรียน
ผู้สอน        :  นายสุวินต์ พงศ์พุทธชาติ
จุดประสงค์รายวิชา
        1. เพื่อให้มีความเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
        2. เพื่อให้มีทักษะในการวัด ทดสอบ ตรวจซ่อม และบำรุงรักษาอุปกรณ์ในงานอิเล็กทรอนิกส์

            อุตสาหกรรมและการประยุกต์การใช้งาน
        3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีกิจนิสัยในการค้นคว้าเพิ่มเติม ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ

คำนึงถึงความถูกต้องและปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา
        1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม

        2. ประกอบและทดสอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม
คำอธิบายรายวิชา
         ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม  โครงสร้าง  การทำงานและคุณลักษณะของอุปกรณ์ควบคุม การเปิด-ปิดวงจร อุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์และเซ็นเซอร์ความร้อน อุณหภูมิ แสง เสียง แรงกล ระดับของเหลว สนามแม่เหล็ก ความชื้น ก๊าซ  ควัน แรงดัน (Pressure) อัตราการไหล ความเร็วรอบ การควบคุมแบบต่าง ๆ  การวัดทดสอบอุปกรณ์และการประยุกต์ใช้งาน

     หน่วยการเรียนที่ 1 อุปกรณ์ควบคุมการเปิด-ปิดวงจร

หน่วยการเรียนที่ 2 อุปกรณ์เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์

หน่วยการเรียนที่ 3 การควบคุมความเร็วและทิศทางมอเตอร์

หน่วยการเรียนที่ 4 การประยุกต์ใช้งาน