การแสดงโอวาทปาฏ โมกข ตรงก บว น ม ความส าค ญอย างไร

...............................................................................................................................................................................

คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบทถี่ ูกต้องทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว

1. เพราะเหตุใดเราจึงตอ้ งศึกษาวนั สาคญั ทางพระพุทธ 5. พระธรรมเทศนาที่พระสงฆแ์ สดงในวนั

ศาสนา วสิ าขบูชาคือเรื่องใด

ก. เพือ่ เตรียมตวั หยดุ พกั ผอ่ น ก. อริยสจั 4

ข. เพื่อจะไดห้ ยดุ ทาบาปในวนั น้นั ข. พรหมวิหาร

ค. เพ่อื จะไดป้ ระกอบศาสนพธิ ีไดถ้ ูกตอ้ ง ค. โอวาทปาติโมกข์

ง. เพ่ือจะไดล้ ะเวน้ การไปเยยี่ มพระสงฆ์ ง. ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร

2. ในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา นกั เรียนควรปฏิบตั ิ 6. หลงั จากพธิ ีวนั วสิ าขบูชาซบเซาไประยะหน่ึง

ตนอยา่ งไรจึงจะเหมาะสม พระมหากษตั ริยพ์ ระองคใ์ ดทรงฟ้ื นฟูข้ึนใหม่

ก. ทาบุญตกั บาตรฟังธรรม ก. รัชกาลท่ี 1

ข. ชวนเพ่อื นไปทศั นศึกษา ข. รัชกาลท่ี 2 ค. ไปเยยี่ มญาติที่ต่างจงั หวดั ค. รัชกาลที่ 3 ง. ช่วยนกั การทาความสะอาดหอ้ ง ง. รัชกาลที่ 4 3. วนั วสิ าขบูชามีความสาคญั อยา่ งไร 7. เหตุใดจึงจดั วา่ วนั อาสาฬหบูชาถือเป็นวนั สาคญั

ก. เป็นวนั ที่พระจนั ทร์เตม็ ดวง ทางพระพทุ ธศาสนา

ข. เป็นวนั ท่ีเจา้ ชายสิทธตั ถะเสด็จออกผนวช ก. เป็นวนั เริ่มแรกแห่งพระพทุ ธศาสนา

ค. เป็นวนั ที่พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ข. เป็นวนั ท่ีมีพระรัตนตรัยครบบริบูรณ์

ง. เป็นวนั คลา้ ยวนั ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ค. เป็นวนั ที่มีเหตุการณ์เกี่ยวกบั พระพุทธเจา้

ของพระพุทธเจา้ โดยเฉพาะ

4. การปฏิบตั ิตนเช่นใดในวนั วสิ าขบูชา ท่ีถือเป็นการ ง. เป็นวนั แรกท่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงพระ

ระลึกถึงพระพทุ ธคุณไดด้ ีที่สุด . โอวาทแก่พระภิกษุ

ก. ละความชว่ั ทาความดี 8. วนั อาสาฬหบูชาโดยปกติแลว้ จะตรงกบั วนั ใด

ข. สรงน้าพระพุทธรูป ก. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 6 ค. ไมฆ่ า่ สัตวต์ ดั ชีวติ ข. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 8 ค. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 11 ง. ประกอบศาสนกิจ ง. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 12

5

9. ธรรมขอ้ ใดไม่มีความสมั พนั ธ์กบั พระธมั มจกั ร- 14. ในช่วงเขา้ พรรษามีวตั รปฏิบตั ิใดดงั ต่อไปน้ีที่

กปั ปวตั ตนสูตร พระสงฆก์ ระทามิได้

ก. ขอ้ ปฏิบตั ิสุดโตง่ ที่ผูอ้ อกบวชควรงดเวน้ ก. พฒั นาบริเวณวดั

ข. ขนั ธ์ 5 เป็นส่ิงท่ีไมค่ งทนถาวร ปราศจากตวั ตน ข. คา้ งคืนนอกอาวาส

ท่ีแทจ้ ริง ค. ไปเยย่ี มพระรูปอื่น

ค. แนวทางแกป้ ัญหาใหต้ รงเป้าคือแกท้ ี่ตน้ เหตุ ง. แสดงธรรมเทศนา

ง. อริยสจั 4 ความจริงที่ทาใหผ้ รู้ ู้และเขา้ ใจอยา่ ง 15. ขอ้ ใดต่อไปน้ีมิใช่ขอ้ ความในโอวาทปาฏิโมกข์

แทจ้ ริงเป็นอริยะได้ ก. การไม่ทาบาปท้งั ปวง

10. วนั น้ีแรม 1 ค่าเดือน 8 คุณแมล่ ุกข้ึนเตรียมอาหาร ข. การไมล่ ุ่มหลงในอบายมุข

และเตรียมผา้ อาบน้าฝนไปถวายพระวนั น้ีเป็นวนั อะไร ค. การทาความดีใหเ้ พยี บพร้อม

ก. วนั วสิ าขบูชา ง. การทาจิตของตนให้สะอาดผอ่ งแผว้

ข. วนั อาสาฬหบูชา 16. เหตุการณ์สาคญั ที่เน่ืองกบั วนั มาฆบูชาคือเหตุ

ค. วนั เขา้ พรรษา การณ์ในขอ้ ใด

ง. วนั มาฆบูชา ก. พระพุทธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนา

11. ขอ้ ใดเป็นหลกั เกณฑท์ ่ีพระภิกษุสงฆต์ อ้ งปฏิบตั ิ ข. พระพทุ ธเจา้ ทรงไดอ้ คั รสาวก

ในช่วงเขา้ พรรษา ค. พระพุทธเจา้ ทรงแสดงธรรมโปรดพระพทุ ธ

ก. สวดปาติโมกขท์ ุกคร้ังหลงั จากทาวตั ร มารดา

ข. งดจาริกจากวดั แลว้ ศึกษาปฏิบตั ิธรรม ง. พระพุทธเจา้ ทรงปลงอายสุ งั ขาร ณ ปาวาลเจดีย์

ค. ออกเยย่ี มเยยี นชาวบา้ นที่อยใู่ กลเ้ คียง 17. ประเพณีวนั มาฆบูชาในประเทศไทยเร่ิมข้ึนเมื่อใด

ง. เดินทางไปเยยี่ มพระภิกษุในถิ่นทุรกนั ดาร ก. สมยั พระมหาธรรมราชาลิไทย

12. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 11 นอกจากจะเรียกวา่ วนั ข. สมยั รัชกาลที่ 2

ออกพรรษาแลว้ ยงั เรียกอีกอยา่ งวา่ วนั อะไร ค. สมยั รัชกาลที่ 3

ก. วนั พระเสด็จ ง. สมยั รัชกาลท่ี 4

ข. วนั มหาปวารณา 18. ขอ้ ใดไม่จดั เป็นองคป์ ระกอบของจาตุรงคสัน

ค. วนั พระเจา้ เปิ ดโลก นิบาต

ง. วนั อุโบสถสงั ฆกรรม ก. วนั ประชุมน้นั ตรงกบั วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3

13. ประเพณีที่กระทาหลงั ออกพรรษา 1 เดือนคืออะไร ข. พระอรหนั ต์ 1,250 รูปลว้ นเป็ นเอหิภิกขทุ ้งั สิ้น

โอวาทปาฏิโมกข์ เป็นบทสวดมนต์ที่พระสงฆ์นำมาสวดในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 หรือวันมาฆบูชา ซึ่งตรงกับวันที่พระพุทธเจ้าแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ที่วัดเวฬุวัน เนื่องในเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาต ทำให้พระอริยสงฆ์มาประชุมรวมตัวกันอย่างมิได้นัดหมาย บทสวดโอวาทปาฏิโมกขคาถา นั้นเป็นบทสวดมนต์สั้นๆ มีดังนี้

บทสวดโอวาทปาฏิโมกข์

(หันทะ มะยัง โอวาทะปาฏิโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส)

สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง การไม่ทำบาปทั้งปวง กุสะลัสสูปะสัมปะทา การทำกุศลให้ถึงพร้อม สะจิตตะปะริโยทะปะนัง การชำระจิตของตนให้ขาวรอบ เอตัง พุทธานะ สาสะนัง ธรรม ๓ อย่างนี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา คือความอดกลั้นเป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา ผู้รู้ทั้งหลายกล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี ผู้กำจัดสัตว์อื่นอยู่ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต ผู้ทำสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต การไม่พูดร้าย, การไม่ทำร้าย ปาติโมกเข จะ สังวะโร การสำรวมในปาฏิโมกข์ มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสมิง ความเป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภค ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง การนอนการนั่งในที่อันสงัด อะธิจิตเต จะ อาโยโค ความหมั่นประกอบในการทำจิตให้ยิ่ง เอตัง พุทธานะสาสะนัง ธรรม ๖ อย่างนี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

ความหมาย

การไม่ทำบาปทั้งปวง การทำกุศลให้ถึงพร้อม การชำระจิตของตนให้ขาวรอบ ธรรม 3 อย่างนี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า

ขันติ คือ ความอดกลั้น เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง ผู้รู้ทั้งหลายกว่าพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง ผู้กำจัดสัตว์อื่นอยู่ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต ผู้ทำให้สัตว์อื่นลำบากอยู่ ไม่ถือว่าเป็นสมณะ การไม่พูดร้าย การไม่ทำร้าย การสำรวมในปาติโมกข์ ความเป็นผู้รู้ ประมาณในการบริโภค การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด ความหมั่นประกอบในการทำจิตให้ยิ่ง ธรรม 6 อย่างนี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า