กล องไฟฉ กเฉ น ใช พลาสต คล วนได ม ย

กล องไฟฉ กเฉ น ใช พลาสต คล วนได ม ย

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

กฎและมาตรฐานทางไฟฟ้า

กฎและมาตรฐานทางไฟฟ้า

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

(ดดั แปลงจาก: http://esprel.labsafety.nrct.go.th/files/ESPReL-Book1.pdf เขา้ ถงึ ได้เม่ือวนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2558)

ท้ังนี้ เพื่อให้บุคลากรมีแนวทางในการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกัน กรมวิทยาศาสตร์บริการจึงมีนโยบาย ด้านความปลอดภัยในหอ้ งปฏิบตั ิการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์กรและปลูกฝังจิตส�ำนึกในการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย และการอนุรักษ์ สง่ิ แวดล้อมอย่างยั่งยนื 2. สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรมคี วามตระหนกั และมสี ว่ นรว่ มในความรบั ผดิ ชอบดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดยจดั ให้มรี ะบบการบรหิ ารจดั การด้านความปลอดภัยในหอ้ งปฏิบัติการและมกี ารพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 3. ผลักดันให้บุคลากรกรมวิทยาศาสตร์บริการ ปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และดแู ลรกั ษาสภาพแวดลอ้ มในสถานท่ที ำ� งานอยา่ งเครง่ ครดั 4. สนบั สนนุ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทกุ ระดบั สรา้ งแรงจงู ใจใหก้ บั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน และให้ถือเป็นผลงานสว่ นหน่งึ ในการประเมินผลการปฏิบัติ 2

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทท่ี 1 การบรหิ ารจัดการดา้ นความปลอดภัยในห้องปฏิบตั ิการ

การบริหารจัดการความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร ต้องค�ำนงึ ถึงความรูแ้ ละประสบการณ์ของบุคลากรภายใน องคก์ ร ซงึ่ มคี วามสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาและสามารถนำ� ระบบไปสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ดงั นน้ั กรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร จึงได้ก�ำหนดโครงสรา้ งอำ� นาจหน้าท่ี และผ้รู บั ผิดชอบด้านความปลอดภัย แบ่งเปน็ 3 ระดับ ดงั น้ี 1.1 อธบิ ดีกรมวิทยาศาสตร์บรกิ าร มอี �ำนาจหนา้ ท่ี ดังน้ี

1.1.1 ก�ำหนดนโยบายด้านความปลอดภยั 1.1.2 แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารจัดการความปลอดภัยของกรมวทิ ยาศาสตร์บรกิ าร 1.2 คณะกรรมการบริหารจดั การความปลอดภัย กรมวิทยาศาสตรบ์ ริการ ประกอบด้วย - รองอธบิ ดกี รมวิทยาศาสตรบ์ รกิ าร (ที่ไดร้ ับมอบหมาย) เป็นประธานกรรมการ - ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั /โครงการ/ศนู ย์ (ท่ไี ด้รับมอบหมาย) เปน็ รองประธานกรรมการ - ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั /โครงการ/ศนู ย์ และนักวิทยาศาสตรเ์ ช่ยี วชาญ เปน็ กรรมการ - ผูท้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร อ�ำนาจหน้าที่ 1.2.1 นำ� นโยบายมากำ� หนดแนวทางด้านความปลอดภยั ในห้องปฏบิ ตั กิ าร 1.2.2 กำ� กับดแู ลและจดั หาทรัพยากรใหเ้ พยี งพอตอ่ การจดั การความปลอดภยั ของห้องปฏิบตั ิการ 1.2.3 รายงานผลการปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภยั ต่ออธบิ ดีกรมวิทยาศาสตรบ์ รกิ าร 1.2.4 ทบทวนและปรบั ปรุงระบบการจัดการความปลอดภยั ของหอ้ งปฏิบัตกิ าร 1.2.5 แตง่ ตั้งคณะทำ� งานใหป้ ฏิบัติหนา้ ทตี่ ามความเหมาะสม 1.2.6 ปฏิบตั งิ านอ่นื ๆ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 1.3 ฝา่ ยปฏบิ ตั กิ ารด้านความปลอดภยั มอี งคป์ ระกอบตามตารางที่ 1.1

ตารางท่ี 1.1 องค์ประกอบและอ�ำนาจหนา้ ที่ของฝ่ายปฏิบตั ิการด้านความปลอดภยั

ต�ำแหนง่ อำ� นาจหนา้ ที่

1. คณะทำ�งานด้านความปลอดภัย 1. บริหารจดั การให้เกิดระบบและกจิ กรรม เพอื่ ความปลอดภัยของหอ้ ง ของห้องปฏิบตั ิการ กรมวทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ตั ิการให้ครอบคลมุ ทัง้ 6 ดา้ น ตามนโยบายและเป้าประสงคท์ ่ี บริการ ประกอบดว้ ย กำ�หนดไว้ - ประธานฯ ซึง่ เปน็ เลขานกุ าร 2. จดั ทำ�แผนและดำ�เนนิ การดา้ นงบประมาณความปลอดภัย คณะกรรมการบริหารจดั การความ 3. จดั ทำ�แผนและดำ�เนนิ การในการฝึกอบรมบุคลากรท่เี กีย่ วข้อง ปลอดภยั กรมวิทยาศาสตรบ์ ริการ 4. จัดทำ�แผนและดำ�เนนิ การตรวจติดตามการดำ�เนินงานให้เป็นไปตาม จากข้อ 1.2 คู่มอื ความปลอดภัย - ผแู้ ทนจาก ส�ำนกั /โครงการ ตา่ ง ๆ 5. ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานที่อาจมผี ลกระทบตอ่ ความปลอดภัย - หวั หนา้ ฝา่ ยชา่ ง 6. ดูแลและรกั ษาประสิทธิผลของระบบซ่ึงรวมถงึ การทบทวนการจัดการ

3

คมู่ ือปฏิบัตดิ ้านความปลอดภยั

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร

ต�ำแหน่ง อ�ำนาจหนา้ ที่ 1. คณะทำ�งานด้านความปลอดภยั 7. จัดทำ�เอกสารทเี่ กยี่ วข้องกับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการของ ของหอ้ งปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์ บรกิ าร (ต่อ) กรมวทิ ยาศาสตร์บริการ 2. หัวหนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 8. บรหิ ารจดั การการสอ่ื สารและแจง้ เตอื นขอ้ มลู ปจั จยั และความเสย่ี งตา่ ง ๆ

3. พนกั งาน/เจา้ หน้าท่ีผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ของห้องปฏบิ ตั กิ ารให้ผ้เู กย่ี วข้องทราบ 9. ประสานงานกบั คณะทำ�งานบรหิ ารความต่อเนือ่ งในการปฏบิ ัติราชการ

ในภาวะวิกฤตของสำ�นกั /โครงการ/ศูนย์ ในกรณีเกิดภาวะวิกฤตและ ฉกุ เฉนิ 10. ดำ�เนินงานด้านรกั ษาความปลอดภยั ระหว่างหน่วยงานในองคก์ ร 11. ปฏิบัติงานอน่ื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย 1. กำ� กบั ดแู ลหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหม้ มี าตรการความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ตามคมู่ อื ปฏบิ ตั ดิ า้ นความปลอดภยั หอ้ งปฎบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตร์ บรกิ ารอย่างเครง่ ครัด 2. นำ�เสนอความตอ้ งการทรพั ยากรดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตอ่ คณะทำ�งานดา้ นความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร (หากม)ี 3. นำ�เสนอขอ้ มลู ปจั จยั และความเสย่ี งตา่ ง ๆ ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตอ่ คณะทำ�งาน ดา้ นความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร (หากม)ี 4. รายงานอบุ ัตภิ ยั ทีเ่ กดิ ขึ้นในการทำ�งานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่อคณะทำ�งาน ด้านความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั ิการกรมวทิ ยาศาสตร์บริการ 5. ปฏบิ ตั งิ านอื่น ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

1. ปฏิบัติตามกฎระเบียบขอ้ บงั คบั และมาตรการความปลอดภัยของ หอ้ งปฏบิ ตั ิการตามคมู่ อื ปฏบิ ัติด้านความปลอดภัยหอ้ งปฎบิ ตั กิ าร กรมวิทยาศาสตรบ์ รกิ ารความปลอดภัยอย่างเครง่ ครดั

2. นำ�เสนอขอ้ มลู ปจั จัยและความเส่ียงต่าง ๆ ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่อ หวั หน้าหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร

3. รายงานอบุ ตั ภิ ยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการทำ�งานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตอ่ หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนั ที

4. ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

4

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โครงสร้างการบริหารจดั การด้านความปลอดภัยของหอ้ งปฏิบัตกิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร ดงั น้ี

อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ คณะกรรมการบรหิ ารจัดการ

ความปลอดภยั ฝ่ายปฏบิ ตั ิการดา้ นความปลอดภยั

คณะทา� งาน ดา้ นความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร

วศ. หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร พนักงาน/เจ้าหน้าท่ี

ผู้ปฏิบตั ิงาน

5

คมู่ อื ปฏิบัตดิ า้ นความปลอดภยั

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร

บทท่ี 2 ลกั ษณะทางกายภาพของห้องปฏบิ ตั ิการ อุปกรณ์และเครือ่ งมอื

ลกั ษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หมายถงึ ลกั ษณะเชงิ สถาปตั ยกรรมและวศิ วกรรม ประกอบดว้ ย พน้ื ที่ การใชง้ าน วสั ดทุ ใี่ ช้ ระบบสญั จร ระบบไฟและการระบายอากาศ ระบบสาธารณปู โภค และระบบฉกุ เฉนิ ซง่ึ เปน็ โครงสรา้ ง พนื้ ฐานทเ่ี ออ้ื ตอ่ ความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร จะตอ้ งมกี ารแยกสว่ นทเ่ี ปน็ พน้ื ทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารออกจากพน้ื ทภี่ ายนอก อย่างชดั เจน โดยแบง่ พื้นทส่ี ว่ นปฏิบตั กิ ารและห้องทดลอง ส่วนเกบ็ ของและสารเคมี ส่วนส�ำนักงานและสว่ นสันทนาการ ออกจากกัน และมีการควบคมุ การเขา้ -ออก ซึ่งต้องมกี ารจัดการในเร่อื งต่าง ๆ ดงั นี้ 2.1 ความปลอดภัยในการจัดการทางเดนิ และพ้นื ผิวในห้องปฏิบัติการ 2.1.1 วัสดุท่ีใช้เป็นพื้นผิวของพ้ืนทางเดิน ผนัง และเพดาน ท่ีมีความเหมาะสมต่อการใช้งานภายใน ห้องปฏิบัติการมีลักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1.1.1 มีลักษณะพื้นผิวเรียบเป็นเนื้อเดียวกันไม่มีรูพรุนและปราศจากรอยต่อ ไม่ควรใช้วัสดุท่ีมี ลกั ษณะเปน็ แผน่ ขนาดเล็ก เนอ่ื งจากมีแนวโนม้ ท่จี ะเกดิ การสะสมของคราบสกปรกและสารเคมรี ะหว่างแนวรอยต่อ 2.1.1.2 มคี วามสามารถในการกนั ไฟ หรือทนไฟไมต่ ดิ ไฟ หรือเสอื่ มสภาพเม่อื เกิดไฟไหม้ วสั ดเุ หลา่ นี้ ไดแ้ ก่ คอนกรีตเสรมิ เหลก็ เหล็ก หรอื วัสดุก่อสร้าง เชน่ อิฐประเภทต่าง ๆ หากเป็นวัสดุประเภทอ่นื ๆ ท่สี ามารถติดไฟ ได้ควรมีการก�ำหนดรายละเอียดการใช้งานวัสดุแต่ละประเภทให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดในการใช้วัสดุพื้น ผนัง และฝ้า เพดาน ตามมาตรฐานการปอ้ งกนั อัคคีภัย 2.1.1.3 มคี วามคงทนในการใช้งาน ทนการขูดขีด ทนทานต่อสารเคมี น้ำ� และความชนื้ หรือสามารถ ซอ่ มแซมไดง้ า่ ยเมอื่ เกดิ ความเสยี หายบนพนื้ ผวิ วสั ดอุ นั เกดิ จากการใชง้ านนอกจากนยี้ งั ตอ้ งดแู ลรกั ษาและทำ� ความสะอาดไดง้ า่ ย 2.1.2 การควบคมุ และการปอ้ งกนั 2.1.2.1 จัดใหม้ แี สงสวา่ งทเ่ี หมาะสม สามารถมองเห็นทางเดนิ และพนื้ ผวิ ทางเดนิ ได้ 2.1.2.2 จัดบริเวณทางเดินและพื้นทางเดินให้สะอาด ปราศจากส่ิงกีดขวาง และต้องมีการท�ำความ สะอาดทกุ วนั 2.1.2.3 หากมีสิ่งกีดขวางทางเดิน ให้ติดป้ายหรือสัญลักษณ์เตือนให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในแนว เดียวกันโดยไม่กีดขวางทางเดิน หรือมีการก้ันเพ่ือให้ทราบก่อนถึงส่ิงกีดขวาง และอยู่ห่างสิ่งกีดขวางไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร 2.1.2.4 ปา้ ยหรอื สงิ่ อนื่ ใดทแ่ี ขวนอยเู่ หนอื ทางเดนิ ตอ้ งมคี วามสงู จากพนื้ ทางเดนิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 เมตร 2.1.2.5 ตรวจดบู รเิ วณทางเดนิ และพน้ื ผวิ ทางเดนิ เปน็ ประจำ� เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ พนื้ ผวิ ทางเดนิ ไมข่ รขุ ระ แตกหกั หรอื ช�ำรุด 2.1.2.6 ในกรณมี อี า่ งนำ้� ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ตอ้ งจดั ใหม้ แี ผน่ ยางรองกนั พน้ื ลน่ื ในบรเิ วณอา่ งลา้ งอปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ เพ่ือป้องกนั พนื้ เปียกและลืน่ 2.1.2.7 หากมีท่อระบายน้�ำหรือรางระบายน�้ำบนพื้นต้องมีฝาปิดสนิท ถ้าฝาเป็นแบบตะแกรงหรือ แบบรู ตอ้ งมีขนาดของช่องตะแกรงหรอื เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางของรูกว้างไม่เกิน 1.3 เซนตเิ มตร แนวรอ่ งหรอื แนวของราง จะตอ้ งขวางกบั แนวทางเดิน 2.1.2.8 ทางเดิน ทางหนีไฟ บันไดหนีไฟ ทางออกฉุกเฉิน ต้องมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน และมี ไฟฉกุ เฉินเมือ่ ไฟฟา้ ดบั

6

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2.1.2.9 จดั เก็บสายไฟ ทอ่ ต่าง ๆ และสงิ่ กดี ขวางท่ีอย่เู หนอื ศีรษะใหเ้ รียบรอ้ ย 2.1.2.10 ห้ามวางสิ่งของบรเิ วณปากทางออกฉกุ เฉินและบันได 2.2 การจัดการส่ิงกดี ขวางในห้องปฏบิ ตั ิการ 2.2.1 ความเรียบรอ้ ยของหอ้ งปฏบิ ตั ิการใหใ้ ช้หลกั 5ส เพ่ือเสรมิ สร้างความปลอดภยั แกผ่ ูป้ ฏบิ ัตงิ าน ทำ� ให้ผู้ ปฏบิ ัติงานมสี ุขอนามัยดี ส่งผลใหก้ ารท�ำงานมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขน้ึ 2.2.2 การควบคุมและการปอ้ งกนั 2.2.2.1 การตดิ ตงั้ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณภ์ ายในอาคารตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ขนาดพนื้ ที่ การรบั นำ�้ หนกั ของพน้ื อาคาร เสน้ ทางการขนยา้ ย กำ� ลังไฟทตี่ ้องการ 2.2.2.2 จดั บริเวณมุมทำ� งานหรอื ใตโ้ ตะ๊ ท�ำงานใหโ้ ล่งเพื่อทำ� ความสะอาดไดง้ า่ ย 2.2.2.3 ไม่วางสิ่งกีดขวางบริเวณประตูทางเข้า-ออก บริเวณติดต้ังเครื่องมือ บริเวณเคร่ืองล้างตา บริเวณฝักบัวฉกุ เฉนิ บรเิ วณอา่ งล้างมือ อ่างล้างเครอื่ งแกว้ 2.2.2.4 จัดเกบ็ สารเคมอี ย่างถกู หลกั หา้ มเกบ็ สารเคมีในตูค้ วนั 2.2.2.5 ต้องท�ำความสะอาดพื้นที่ใช้งานทุกวันและทุกคร้ังหลังการใช้งาน หากมีการใช้เคร่ืองดูดฝุ่น ท�ำความสะอาดตอ้ งระมดั ระวังการถอดถุงขยะและแผน่ กรอง เพ่ือปอ้ งกันการฟงุ้ กระจาย 2.2.2.6 ทำ� ความสะอาดทนั ทเี มอ่ื มสี ารเคมหี กหลน่ โดยปฏบิ ตั ติ ามขอ้ มลู ความปลอดภยั ของสารเคมนี นั้ 2.2.2.7 มกี ารก�ำจัดของเสีย ขยะ อยา่ งถูกวิธี และใช้ภาชนะรองรบั ที่ถูกต้อง และจำ� หน่ายเครอื่ งมือ เคร่อื งใชท้ ่ีไมใ่ ช้งานแล้ว 2.2.2.8 มรี ะบบรกั ษาความปลอดภัย ควบคุมการเข้า-ออกหอ้ งปฏิบัตกิ ารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2.2.2.9 มกี ารตรวจสอบเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ระบบไฟ สายไฟฟา้ ใหอ้ ยใู่ นสภาพสมบรู ณ์ อยา่ งนอ้ ยปลี ะครง้ั 2.2.2.10 ตอ้ งมปี า้ ย หรอื สญั ลักษณ์เตือนอันตราย ท่ีหอ้ งปฏบิ ัติการและเครื่องมือ 2.2.2.11 มรี ะบบแจ้งเตือนภัย เช่น สญั ญาณเสียง และตอ้ งตรวจสอบการใชง้ านอยา่ งนอ้ ยปีละครงั้ 2.3 การจดั การการดับเพลิงฉกุ เฉนิ และแนวทางหนีไฟในหอ้ งปฏิบัติการ 2.3.1 ไฟเปน็ สาเหตุอย่างหนึง่ ทีก่ ่อให้เกิดอันตรายตอ่ ชวี ิตและทรพั ย์สนิ ได้ ไฟเกิดจากองค์ประกอบ 3 อยา่ ง คือ เชอื้ เพลิง ความรอ้ น และออกซเิ จน ในภาวะท่ีเหมาะสม ถ้าขาดองคป์ ระกอบใดองคป์ ระกอบหน่งึ ไฟก็ไม่สามารถเกดิ ข้ึนได้ ไฟแบง่ เปน็ ประเภทต่าง ๆ ดงั นี้ 2.3.1.1 ไฟประเภท A ได้แก่ เพลงิ ทเ่ี กิดขึน้ จากวสั ดตุ ิดไฟทั่วไป เช่น ผา้ กระดาษ และพลาสติก ไฟ ประเภทน้ดี บั ได้ดว้ ยการใช้น้ำ� ฉดี เปน็ ฝอย 2.3.1.2 ไฟประเภท B ได้แก่ เพลงิ ทเี่ กิดจากของเหลวหรอื แก๊ส เชน่ น้ำ� มัน แก๊สต่าง ๆ จาระบี และ สงิ่ ทใ่ี ชส้ ำ� หรบั ลา้ งละลายทำ� ความสะอาดตา่ ง ๆ ดบั ไดด้ ว้ ยวธิ ปี อ้ งกนั ไมใ่ หอ้ ากาศเขา้ ไปรวมกบั เชอื้ เพลงิ หรอื ลดอณุ หภมู ิ ของเช้ือเพลงิ โดยใชโ้ ฟม ผงเคมี ฮาลอน หรือคาร์บอนไดออกไซด์ 2.3.1.3 ไฟประเภท C ไดแ้ ก่ เพลิงท่เี กดิ จากอุปกรณเ์ ครื่องมือไฟฟา้ ต่าง ๆ การดับไฟกอ่ นอืน่ จะต้อง พยายามตัดวงจรไฟฟ้าเสียก่อน เพ่ือลดอันตรายลง การดับไฟต้องใช้สารเคมีที่ไม่เป็นส่ือไฟฟ้า เช่น ฮาลอน คาร์บอนไดออกไซด์ หรอื เคมแี ห้ง 2.3.1.4 ไฟประเภท D ได้แก่ เพลิงที่เกิดจากวัสดุจ�ำพวกโลหะติดไฟ เช่น แมกนีเซียม โซเดียม โปตัสเซียม ลักษณะการลุกไหม้ให้ความร้อนสูง รุนแรงมาก การดับเพลิงประเภทน้ีให้ใช้สารเคมีจ�ำพวกเกลือแกงหรือ ทรายแหง้

7

คมู่ ือปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภยั

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร

2.3.2 การควบคุมและการปอ้ งกัน 2.3.2.1 จดั ใหม้ ปี า้ ยบอกทางออกฉกุ เฉนิ ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซงึ่ เปน็ ปา้ ยทใ่ี ชแ้ สดงทางออกฉกุ เฉนิ หรอื ทางหนภี ัย มีโคมไฟสวา่ งในตวั เวลาปกติ ซ่ึงสว่างไม่นอ้ ยกว่า 8 cd/m2 ตลอดเวลาทีม่ คี นใช้อาคาร โดยป้ายที่ใชค้ วร เปน็ ไปตามมาตรฐาน เช่น วสท. สมอ. ISO, AS, BS และ NS ดงั ตวั อยา่ งในรปู ท่ี 2.1

ป้ายบอกใหต้ รงไป

ป้ายบอกให้ไปทางซ้าย ปา้ ยบอกให้ไปทางขวา

ปา้ ยเหนือประตู

ปา้ ยเหนือประตู

รูปที่ 2.1 ป้ายบอกทางหนไี ฟ

(ท่ีมา : http://www.ไฟฉกุ เฉนิ ราคาถูก.com เขา้ ถงึ ไดเ้ มอ่ื วันที่ 7 สงิ หาคม 2558)

8

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

2.3.3.2 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทม่ี กี ารใชไ้ ฟในการทำ� งานตอ้ งจดั ใหม้ อี ปุ กรณด์ บั ไฟ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไฟทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ในห้องปฏบิ ัตกิ าร อปุ กรณ์ดับไฟ ไดแ้ ก่

  1. ผา้ กันไฟ ถกู ออกแบบมาเพ่ือดบั ไฟทเี่ ริ่มก่อตัวโดยใชค้ ลุมไฟ เพอ่ื ตัดออกซิเจนออกจาก ไฟ ผ้ากนั ไฟขนาดใหญ่สำ� หรบั ใช้ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ มกั ทำ� จากขนสัตว์ สามารถทนอณุ หภูมิไดส้ งู ถึง 538 องศาเซลเซยี ส และติดตง้ั ในตูท้ ่สี ามารถดงึ ออกมาใช้งานไดง้ า่ ย ตวั อยา่ งผา้ กนั ไฟ แสดงในรปู ที่ 2.2

รูปท่ี 2.2 ผา้ กันไฟ

(ท่มี า : http://maintenances.12market.com/show1678628/ เข้าถึงไดเ้ ม่ือวันที่ 7 สงิ หาคม 2558)

  1. ถังดับเพลิง มีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี

ถังดบั เพลงิ รายละเอียด ถังดบั เพลงิ ชนิด BF 2000 การฉดี ออกเป็นแกส๊ เหลวระเหยสามารถใช้ไดก้ บั ไฟชนดิ A, B และ C เหมาะ ส�ำหรับสถานที่ท่ีใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสาร ในอุตสาหกรรม ถงั ดบั เพลิงชนิดแกส๊ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรอื เครื่องบนิ และรถถงั คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ลักษณะน�ำ้ ยาที่ออกมาเวลาฉีดจะเป็นหมอกหมิ ะท่ีไลค่ วามร้อนและออกซเิ จน ถังดบั เพลงิ ชนิด สามารถใช้กับไฟชนดิ B และ C เหมาะส�ำหรับใชภ้ ายในอาคาร ไฟที่เกิดจากแก๊ส นำ�้ มัน HCFC – 123 และไฟฟา้ ลกั ษณะการฉีดออกเป็นแกส๊ เหลวระเหย น�ำ้ ยาชนดิ น้สี ามารถใช้กบั ไฟชนดิ A, B และ C เหมาะส�ำหรับใช้กบั สถานทท่ี ี่ใช้อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ และอุปกรณส์ ือ่ สาร ใน อุตสาหกรรมอเิ ลคโทรนกิ ส์ เรอื เครอื่ งบิน และรถถัง

2.4. ระบบการระบายอากาศในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 2.4.1 การระบายอากาศของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทวั่ ไป สว่ นมากมกี ารระบายอากาศดว้ ยพดั ลม และเครอ่ื งดดู อากาศ 2.4.1.1 ระบบระบายอากาศของห้องปฏบิ ตั ิการมดี ังนี้

  1. ระบบระบายอากาศเสียของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ระบบครอบดดู ลม/ตู้ดดู ควัน (laboratory hood) อุปกรณ์ระบายอากาศเฉพาะที่ และระบบอืน่ ๆ สำ� หรบั ระบายอากาศเสยี ในพ้ืนท่ีหอ้ งปฏบิ ัติการ ซึ่งได้แก่ แก๊ส ตดิ ไฟ ไอระเหย หรืออนุภาคต่าง ๆ ท่ีถกู ปลอ่ ยออกมา
  2. ระบบจา่ ยอากาศในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ในระบบระบายอากาศและภายในครอบดดู ลม/ตดู้ ดู ควนั

9

คมู่ ือปฏิบัติดา้ นความปลอดภยั

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร

2.4.1.2 การติดตงั้ พดั ลมในหอ้ งปฏิบัตกิ าร

  1. พัดลมที่ใช้ควรเป็นลักษณะท่ีติดตั้งบนผนังหรือเพดานแบบถาวรมากกว่าจะเป็นแบบตั้ง พ้นื หากมีความจ�ำเป็นต้องใช้งานพัดลมตง้ั พน้ื หรือชนดิ ทีเ่ คลื่อนยา้ ยไดค้ วรใชง้ านในเวลาทจี่ �ำเป็นเทา่ นนั้
  2. พัดลมที่ติดต้ังอยู่ภายในห้องสามารถใช้งานโดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายในขณะท�ำงานหรือ ไม่รบกวนการทดลอง 2.4.2 การควบคุมและการปอ้ งกัน 2.4.2.1 ต้องออกแบบระบบระบายอากาศในห้องปฏิบัติการให้ไอสารเคมีท่ีเกิดข้ึนไม่ถูกน�ำกลับมา หมุนเวียนอกี และสารเคมที ่ปี ล่อยออกมาต้องกักเกบ็ หรือถกู ก�ำจดั ออกเพ่ือปอ้ งกันอนั ตรายจากการลุกตดิ ไฟ 2.4.2.2 บริเวณท่ีน�ำอากาศบริสุทธิ์เข้าจะต้องหลีกเลี่ยงการน�ำอากาศที่มีสารเคมีหรือสารติดไฟจาก สว่ นอืน่ ๆ เขา้ มาในพืน้ ที่หอ้ งปฏิบตั ิการ 2.4.2.3 ห้องปฏิบัตกิ ารท่ีมกี ารใช้สารเคมีจะต้องมกี ารระบายอากาศอยา่ งต่อเนอื่ ง 2.4.2.4 ความดนั อากาศภายในหอ้ งปฏบิ ตั ิการจะตอ้ งมคี ่านอ้ ยกว่าภายนอก 2.4.2.5 อากาศทมี่ สี ารอนั ตรายตอ้ งไดร้ บั การบำ� บดั ใหม้ คี ณุ ภาพตามกฎหมายกอ่ นทง้ิ ออกสภู่ ายนอกอาคาร 2.4.2.6 ในขณะทมี่ ผี ใู้ ชง้ านพน้ื ทสี่ ำ� หรบั เกบ็ ของตอ้ งจดั ใหม้ กี ารระบายอากาศไมน่ อ้ ยกวา่ 2 เทา่ ของ ปรมิ าตรหอ้ งตอ่ ชว่ั โมง หรอื มชี อ่ งเปดิ ออกสภู่ ายนอกไมน่ อ้ ยกวา่ 10 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องพนื้ ที่ 2.4.2.7 ตำ� แหนง่ ชอ่ งนำ� อากาศเขา้ ตอ้ งหา่ งจากทเี่ กดิ อากาศเสยี และชอ่ งระบายอากาศทง้ิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 เมตร และอยู่สงู ไม่น้อยกวา่ 3 เมตร 2.4.2.8 อากาศเสยี จากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทร่ี ะบายผา่ นพน้ื ทอี่ น่ื ทไ่ี มใ่ ชห่ อ้ งปฏบิ ตั กิ ารตอ้ งสง่ ผา่ นออกไป ภายนอกอาคารโดยใชท้ ่อลม 2.4.2.9 ในระบบระบายอากาศเสียสว่ นทมี่ ีความดันสงู เชน่ พดั ลม คอยล์ ท่อลมอ่อน หรอื ทอ่ ลม จะ ตอ้ งมีการอดุ รอยรั่วเปน็ อยา่ งดี 2.4.2.10 ความเรว็ ของทอ่ ดดู และปรมิ าณลมจะตอ้ งเพยี งพอตอ่ การลำ� เลยี งสงิ่ ปนเปอ้ื นไดต้ ลอดแนวทอ่ 2.4.2.11 หา้ มนำ� ครอบดดู ลมหรอื ตดู้ ดู ควนั ทว่ั ไปหรอื ตนู้ ริ ภยั ทางชวี ภาพ หรอื laminar flow cabinet มาใชแ้ ทนครอบดูดลมหรือตู้ดูดควันส�ำหรบั หอ้ งปฏบิ ตั ิการ 2.4.2.12 อากาศเสยี จากหอ้ งปฏิบัติการหรอื อากาศเสยี อนื่ ๆ จะตอ้ งถูกระบายทงิ้ เหนือระดบั หลังคา โดยระดบั ความสงู และความเร็วตอ้ งเพียงพอทจ่ี ะป้องกนั การไหลย้อนกลับเขา้ มาและส่งผลถึงบุคคลโดยทัว่ ไป 2.4.2.13 ความเร็วอากาศต้องมีความเร็วพอท่ีจะป้องกันการสะสมตัวของของเหลว หรือการเกาะตัว ของวัสดุในระบบระบายอากาศเสีย 2.5 ระบบไฟฟ้าในห้องปฏบิ ตั กิ าร 2.5.1 ในการตดิ ต้งั ระบบไฟฟ้าในหอ้ งปฏิบตั ิการตอ้ งค�ำนึงถงึ ความมั่นคงและความปลอดภยั โดยองค์ประกอบ ส�ำคญั ท่ีตอ้ งพจิ ารณา คอื 2.5.1.1 การติดตงั้ ทางไฟฟา้ ต้องยดึ มาตรฐานการติดตง้ั ทางไฟฟ้าสำ� หรบั ประเทศไทย 2.5.1.2 ชนิดของสายไฟฟา้ 2.5.1.3 การตอ่ สายลงดนิ เพราะหากตดิ ตงั้ ระบบไฟฟา้ ไมถ่ กู ตอ้ งอาจเกดิ ไฟฟา้ ดดู หรอื เกดิ เพลงิ ไหมไ้ ด้ 2.5.2 การควบคมุ และการป้องกนั 2.5.2.1 ติดป้ายเตือนไว้กับเครื่องมือและอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ รวมท้ังบริเวณซึ่งอาจมีอันตรายจาก ไฟฟ้า และห้ามนำ� อปุ กรณ์ไฟฟา้ ไปใช้ใกลว้ ัสดไุ วไฟ (ดงั แสดงในรปู ท่ี 2.3)

10

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

2.5.2.2 ต่อสายดินส�ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดในห้อง ปฏิบัติการ 2.5.2.3 การต่อสายไฟฟ้า รวมทั้งการใช้ชนิดและขนาดของ สายไฟฟ้า การติดต้ังสวิทซ์บอร์ด การติดตั้งปลั๊กเสียบ การใช้ฟิวส์ มอเตอร์ หมอ้ แปลงไฟฟา้ การตอ่ สายดนิ และอปุ กรณท์ างไฟฟา้ อน่ื ๆ จะตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ความปลอดภัย 2.5.2.4 ปูพืน้ ห้องในบริเวณทีม่ ไี ฟฟา้ แรงดนั สงู ด้วยฉนวน 2.5.2.5 ใช้เครื่องป้องกันอันตรายเมื่อท�ำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 2.5.2.6 ตรวจสอบสายไฟฟ้า อปุ กรณ์ทางไฟฟ้า และเครอ่ื ง รปู ท่ี 2.3 ปา้ ยเตือนส�ำหรับเครือ่ งมอื และ ใช้ไฟฟ้าอืน่ ๆ อยเู่ สมอ เช่น ตรวจกลไกควบคุมการทำ� งาน สวทิ ซ์ รอยร่วั สายไฟ อุปกรณ์ไฟฟา้ ต่าง ๆ ท่อี าจมอี นั ตราย ปลก๊ั หลวมหรอื ไม่ ถา้ พบสว่ นชำ� รดุ หรอื บกพรอ่ งจะตอ้ งรบี รายงานใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบ จากไฟฟา้

(ทม่ี า : http://www.bloggang. แก้ไขทันที และถ้าพบว่าเครื่องมือร้อนเกินกว่าปกติต้องรีบหยุดเครื่องและให้ com/viewblog.php?id=rb515&- ผูร้ บั ผดิ ชอบมาตรวจแก้ไข date=25-10-2011&group=169&gblog=17 2.5.2.7 ไม่ใช้เครื่องมือเกินขีดความสามารถท่ีออกแบบหรือ เข้าถึงได้เมื่อวนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2558)

กำ� หนดไว้ 2.5.2.8 เม่อื ใช้งานเสร็จใหป้ ิดเคร่ือง ถอดปลก๊ั และนำ� เกบ็ เข้าท่ี 2.5.2.9 ระวงั อยา่ ใหอ้ ปุ กรณท์ ใ่ี ชไ้ ฟฟา้ เปยี กชน้ื หากเครอื่ งเปยี กนำ�้ ตอ้ งถอดปลกั๊ หรอื ปลดสวทิ ชต์ ดั กระแสไฟฟา้ กอ่ น แลว้ เชด็ ใหแ้ หง้ 2.5.2.10 หา้ มอยใู่ กล้บริเวณท่ีมีกระแสไฟฟา้ หรอื จบั ตอ้ งเครอื่ งมือ หรอื อปุ กรณ์ไฟฟา้ เมื่อตวั เปยี กน้�ำ หรืออยใู่ นบรเิ วณทีช่ น้ื แฉะ

2.6 ระบบความร้อน แสงสว่าง และเสียงในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 2.6.1 มาตรฐานในการบรหิ ารและจดั การด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน เก่ียวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง ได้มีการก�ำหนดไว้ตามกฎกระทรวง เล่มที่ 123 ตอนท่ี 23 ก นอกจากน้ี หอ้ งปฏิบตั กิ ารตอ้ งจัดให้มีการควบคมุ อณุ หภูมิ ความช้นื แสงสว่าง และเสียงตามท่วี ิธีทดสอบกำ� หนด เพอ่ื ให้ไดผ้ ลการ วัดทถ่ี ูกต้อง แม่นยำ� และน่าเช่ือถอื 2.6.2 การควบคมุ และการปอ้ งกนั 2.6.2.1 มีการบำ� รงุ รกั ษาเคร่ืองปรับอากาศ ตามโปรแกรมทกี่ �ำหนดไว้ 2.6.2.2 มีการตรวจสอบหลอดไฟ หากพบวา่ ชำ� รดุ ตอ้ งแจง้ ผ้รู ับผิดชอบมาเปลย่ี น 2.6.2.3 มีการบันทึกอุณหภูมิ ความช้ืน เพ่ือติดตามแนวโน้มของภาวะแวดล้อมในการทดสอบ หากควบคมุ ไมไ่ ด้ ต้องด�ำเนนิ การแกไ้ ข

11

คมู่ ือปฏบิ ัติดา้ นความปลอดภัย

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร

บทที่ 3 ความปลอดภัยในห้องปฏบิ ตั ิการที่ใช้รงั สี

ห้องปฏบิ ตั กิ ารทีม่ กี ารใช้รังสีจ�ำเป็นตอ้ งควบคมุ ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน เพอ่ื ป้องกนั การเกิดอุบตั เิ หตุ ระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน อบุ ตั เิ หตทุ างรงั สใี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสามารถควบคมุ ใหเ้ กดิ นอ้ ยทส่ี ดุ หรอื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ขนึ้ หาก มกี ารฝกึ อบรมบคุ ลากรทเี่ กย่ี วขอ้ งใหเ้ ขา้ ใจถงึ กฎระเบยี บการใชร้ งั สอี ยา่ งเครง่ ครดั และมแี ผนปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตทุ างรงั สที ี่ รัดกุม เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานจึงควรมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันอันตรายจากรังสีเป็นอย่างดี จึงจะสามารถใช้ ประโยชน์จากรงั สีได้อยา่ งค้มุ ค่าและปลอดภยั ทส่ี ดุ รงั สจี ัดเป็นพลงั งานแม่เหล็กไฟฟา้ (รูปท่ี 3.1) ซง่ึ แบง่ ตามความยาวคลืน่ ได้ดงั น้ี คือ รงั สแี กมม่า รงั สเี อกซ์ รังสี อลั ตราไวโอเลต แสงสว่างทีต่ ามองเหน็ รังสีอินฟาเรด คลื่นไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ สว่ นเลเซอร์เกิดจากการขยายแสง ดว้ ยการกระตนุ้ ใหแ้ ผร่ งั สี ความยาวคลนื่ ของเลเซอรข์ น้ึ อยกู่ บั วธิ กี าร โดยมคี วามยาวคลน่ื ทง้ั ในยา่ นทต่ี ามองเหน็ และมอง ไม่เหน็

รูปท่ี 3.1 ความยาวคลืน่ ของพลังงานแม่เหล็กไฟฟา้

(ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/201/sattlelite/8.htm เขา้ ถงึ ไดว้ นั ท่ี 21กรกฎาคม 2558)

เอกสารนขี้ อกลา่ วถงึ ความปลอดภยั ในการใชร้ งั สปี ระเภทเลเซอร์ และรงั สเี อกซใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เนอื่ งจากหอ้ ง ปฏบิ ตั ิการของกรมวิทยาศาสตร์บริการมีการใชร้ งั สเี พียงสองประเภทนีเ้ ท่านน้ั 3.1 ข้อปฏิบัติเก่ยี วกับเคร่อื งมือทีใ่ หร้ ังสี 3.1.1 ตรวจสอบคุณลักษณะของเครื่องมือ หากมีส่วนประกอบของธาตุท่ีให้กัมมันตรังสี เช่น เครื่อง gas chromtography ทมี่ ี detector ชนดิ electron capture detector ซง่ึ ใชธ้ าตกุ มั มนั ตรงั สี 63Ni เครอ่ื ง inductively coupled plasma-mass spectrometer ทตี่ อ้ งใช้ 238U ในการปรบั ต้งั ระบบ เครื่อง x-ray diffraction และเครอ่ื ง x-ray fluorescence ทม่ี แี หลง่ กำ� เนดิ รงั สเี อกซ์ ตอ้ งขออนญุ าตนำ� เขา้ และครอบครองจากสาํ นกั กาํ กบั ดแู ลความปลอดภยั 12

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ทางรังสี สาํ นกั งานปรมาณเู พอ่ื สนั ติ กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยด�ำเนนิ การตามกฎกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เร่ือง “ก�ำหนดเง่ือนไข วิธีการขอรับใบอนุญาต และการด�ำเนินการเก่ียวกับวัสดุนิวเคลียร์พิเศษ วสั ดุต้นก�ำลัง วสั ดพุ ลอยได้ หรือพลังงานปรมาณู พ.ศ. 2550” 3.1.2 การปฏบิ ตั งิ านดว้ ยเครอ่ื งมอื ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั รงั สี ตอ้ งศกึ ษาคมู่ อื การใชเ้ ครอื่ งในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งความ ปลอดภยั และปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งเครง่ ครดั รวมทง้ั ตอ้ งสวมอปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คล (personal protective equipment) ท่ี เหมาะสม 3.1.3. การจดั การเครื่องมือท่มี สี ว่ นประกอบของสารกัมมนั ตรงั สที ี่ไมใ่ ชแ้ ล้ว สามารถด�ำเนนิ การได้โดยส่งคืนผู้ ผลติ ทงั้ นตี้ อ้ งทำ� สญั ญาในขนั้ ตอนการจดั ซอ้ื แตใ่ นกรณที ไ่ี มม่ กี ารทำ� สญั ญา ใหต้ ดิ ตอ่ ศนู ยจ์ ดั การกากกมั มนั ตรงั สี สถาบนั เทคโนโลยนี ิวเคลียร์แหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) เพือ่ ก�ำจดั เคร่ืองมอื ดังกล่าว 3.2 ความปลอดภัยในการใชเ้ ลเซอร์ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร เลเซอร์ (laser) เปน็ คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ซงึ่ เกดิ จากกระบวนการทเี่ รยี กวา่ light amplification by stimulated emission of radiation ซงึ่ ใช้หลกั การปลอ่ ยโฟตอนโดยการกระตนุ้ อะตอม เพราะในการเกิดการปล่อยโฟตอนดังกล่าว จะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขม้ แสงเพม่ิ ซงึ่ เปน็ หลกั การของเลเซอรโ์ ดยทว่ั ไป กระบวนการผลติ แสงเลเซอรเ์ กดิ จากสองกระบวนการหลกั คอื การเปล่งแสงแบบถูกกระตุ้น (stimulated emission) และการขยายสัญญาณแสง (light amplification) เลเซอร์ มีหลายประเภทขนึ้ อยู่กับก�ำลังและความยาวคลื่น ดงั แสดงในตารางที่ 3.1 ตารางท่ี 3.1 ประเภท คุณสมบัติ และการปอ้ งกนั

ประเภท คุณสมบัติ การป้องกนั

class 1 มกี ำ� ลงั นอ้ ยมาก และมคี วามยาวคลนื่ อยใู่ นชว่ ง - ไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งมีมาตรการป้องกนั ท่ีตามองเห็นและมองไม่เห็น เช่น เลเซอร์ท่ีมี - ควรติดปา้ ยแสดงประเภทของเลเซอร์ กำ� ลงั ไม่เกนิ 0.39 มิลลิวตั ต์

class 1M มีก�ำลังมากกว่าเลเซอร์ระดับที่ 1 และมี - ไม่จ�ำเป็นต้องมีมาตรการป้องกัน ในกรณีมองด้วย ความยาวคลื่นอยู่ในช่วงท่ีตามองเห็นและมอง ตาเปล่า ยกเว้นถ้าใช้อุปกรณ์ช่วยมอง เช่น แว่นขยาย ไม่เหน็ binoculars หรอื telescopes - ควรตดิ ป้ายแสดงประเภทของเลเซอร์

class 2 มกี �ำลงั ไมเ่ กิน 1 มลิ ลวิ ตั ต์ และมีความยาวคล่นื - ไม่จ�ำเป็นต้องมีมาตรการป้องกัน ในกรณีท่ีมองโดย อย่ใู นชว่ งทีต่ ามองเห็น บงั เอญิ (ไมเ่ กนิ 0.25 วนิ าท)ี ยกเวน้ ตง้ั ใจมองไปยงั ลำ� แสง เลเซอร์นานกวา่ 0.25 วนิ าที - ควรตดิ ปา้ ยแสดงประเภทของเลเซอร์

class 2M มีก�ำลังมากกว่าเลเซอร์ระดับที่ 2 และมี - มาตรการปอ้ งกนั เหมอื นเลเซอรร์ ะดบั ที่ 2 ยกเวน้ ถา้ ใช้ ความยาวคลน่ื อยใู่ นช่วงที่ตามองเห็น อปุ กรณช์ ว่ ยมองควรมมี าตรการปอ้ งกนั แมจ้ ะมองโดยบงั เอญิ - ควรตดิ ปา้ ยแสดงประเภทของเลเซอร์

class 3R มกี �ำลงั ไมเ่ กนิ 5 เท่าของเลเซอร์ระดบั ที่ 1 (ช่วง - หลีกเล่ียงการมองเข้าไปในล�ำแสงเลเซอร์หรือแสง ทีต่ ามองไมเ่ หน็ ) และเลเซอร์ระดบั ท่ี 2 (ช่วงท่ี สะท้อนของเลเซอร์ ตามองเห็น) ตัวอย่างเช่น เลเซอร์ท่ีมี - ควรตดิ ป้ายแสดงประเภทของเลเซอร์ ความยาวคล่ืนอยู่ในช่วงที่ตามองเห็น และมี กำ� ลงั อย่รู ะหวา่ ง 1-5 มลิ ลวิ ตั ต์

13

คู่มอื ปฏบิ ตั ดิ า้ นความปลอดภัย

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร

ตารางที่ 3.1 ประเภท คุณสมบัติ และการปอ้ งกนั (ตอ่ )

ประเภท คุณสมบัติ การป้องกัน

class 3B มีก�ำลังอยู่ระหว่าง 5-500 มิลลิวัตต์ และมี - หลีกเลี่ยงการมองเข้าไปในล�ำแสงเลเซอร์หรือแสง ความยาวคลนื่ อยูใ่ นช่วงท่ีตามองเห็น สะทอ้ นของเลเซอร์ - มีอุปกรณ์ป้องกัน เม่ือใช้เลเซอร์ท่ีให้ก�ำลังสูงที่อาจท�ำ อันตรายตอ่ ผิวหนงั ได้ - ควรติดปา้ ยแสดงประเภทของเลเซอร์

class 4 มีก�ำลังมากกว่า 500 มิลลิวัตต์ และมี - ควบคุมการเปดิ ปิดเลเซอร์ด้วยกุญแจ ความยาวคลื่นอยใู่ นชว่ งทตี่ ามองเห็น สามารถ - หลีกเลี่ยงการมองเข้าไปในล�ำแสงเลเซอร์หรือแสง ก่อให้เกิดเปลวไฟได้ ล�ำแสงหรือแสงสะท้อน สะทอ้ นของเลเซอร์ ของเลเซอรร์ ะดบั นม้ี อี นั ตรายตอ่ ตาและผวิ หนงั - ควรตดิ ป้ายแสดงประเภทของเลเซอร์

3.2.1 การควบคุมและการปอ้ งกนั 3.2.1.1 แยกหอ้ งทีม่ กี ารใชง้ านเลเซอร์ออกจากบรเิ วณอื่น ๆ 3.2.1.2 จดั ทางเดนิ ของแสงให้เหมาะสม เชน่ ไมใ่ ห้อยูใ่ นระดบั สายตา พยายามกำ� จดั สงิ่ ต่าง ๆ ทีอ่ าจ ท�ำใหเ้ กิดการสะทอ้ นแสงเลเซอร์มาเข้าตา 3.2.1.3 มเี ครอื่ งปอ้ งกนั แสงสว่ นทไ่ี มต่ อ้ งการออกจากเลเซอร์ หรอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชง้ าน เชน่ มฉี ากกน้ั แสง เพอ่ื กั้นแสงทง้ั ทีส่ ะทอ้ นหรอื กน้ั ลำ� แสงโดยตรงซง่ึ อาจจะออกมาได้ 3.2.1.4 มีการฝกึ อบรมบคุ ลากรที่ทำ� การทดสอบด้วยเลเซอร์ 3.2.1.5 มกี ารจัดทำ� ข้ันตอนการด�ำเนินงานท่ชี ดั เจน 3.2.1.6 มอี ปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คล เชน่ แวน่ ตา เสอื้ กาวน์ ถงุ มอื ทเี่ หมาะสมกบั ประเภทของเลเซอร์

รปู ท่ี 3.2 ตัวอย่างแว่นตาสำ� หรบั ปอ้ งกนั แสง

(ทม่ี า : http://www.sc.mahidol.ac.th/scpy/Optics/basic_laser5.htm เขา้ ถึงได้วันท่ี 7 สงิ หาคม 2558)