ค ม อการดำเน นงานในโรงเร ยนส งเสร มส ขภาพ พ.ศ.๒๕๕๘

ค ม อการดำเน นงานในโรงเร ยนส งเสร มส ขภาพ พ.ศ.๒๕๕๘

paper_paper2539 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

แบบการจัดทำรายงานเพื่อคัดเลือกสถานศึกษา IQA award โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ประจำปีการศึกษา 2564

แบบการจัดทำรายงานเพื่อคัดเลือกสถานศึกษา IQA award โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ประจำปีการศึกษา 2564

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

แบบการจัดทำรายงานเพื่อคัดเลือกสถานศึกษา IQA award โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ประจำปีการศึกษา 2564

คูม่ ือ ขอ้ ปฏิบัติ และมาตรการรกั ษาความปลอดภัยในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 2

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า

สว่ นที่ 1 บทนำ

1. ความสำคญั การดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 1

2. วัตถปุ ระสงค์ 2

3. เป้าหมาย 2

4. ตัวชีว้ ัดความสำเร็จ 2

ส่วนท่ี 2 องค์ความรู้ด้านความปลอดภัย

1. นโยบายด้านความปลอดภัย 3-5

2. กฎหมายที่เกยี่ วข้อง 6 - 10

สว่ นที่ 3 การเสรมิ สร้างความปลอดภัยสถานศกึ ษา

1. มาตรการรกั ษาความปลอดภยั การดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรยี น 11

1. วัตถปุ ระสงค์

2. เป้าหมาย

3. ยทุ ธศาสตร์

2. การวางแผนรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียนในสังกัด 12

3. รูปแบบของแผนการรักษาความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา 12 - 13

4. มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขอบุ ตั ิเหตุ อบุ ัติภยั และปัญหาทางสังคม

ด้านการปอ้ งกันและแก้ไขอบุ ัตเิ หตุ 13 - 16

1. อบุ ตั ิเหตจุ ากอาคารเรยี นอาคารประกอบ

2. อบุ ตั เิ หตจุ ากบริเวณสถานศึกษา

3. อบุ ตั ิเหตุจากสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา

4. อุบัตเิ หตจุ าเครือ่ งมอื เครอ่ื งใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ

5. อุบตั เิ หตุจากการเดนิ ทาง ไป-กลับ ระหว่างบา้ น และสถานศกึ ษา

6. อุบตั เิ หตุจากการพานักเรียนไปศกึ ษานอกสถานศกึ ษา

7. อบุ ัติเหตจุ ากยานพาหนะรับ – ส่งนกั เรียน

8. อุบัติเหตุจากการนำนักเรยี นร่วมกจิ กรรมวันสำคัญ

ด้านการป้องกนั และแกไ้ ขอุบัติภยั 16 - 17

1. อัคคภี ัย

2. วาตภัย

3. อุทกภัย

4. ธรณพี ิบัติภยั

ดา้ นการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาทางสังคม 18 - 23

1. การล่วงละเมดิ ทางรา่ งกายและจิตใจ

2. การทำร้ายตวั เองและการฆ่าตัวตาย

3. การใชส้ ารเสพตดิ

4. การอปุ โภคบริโภค

5. การทะเลาะววิ าท

ค่มู อื ขอ้ ปฏบิ ตั ิ และมาตรการรักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 2

สารบญั

เร่อื ง หน้า

6. การถูกลอ่ ลวงและลักพา

7. สื่อลามกอนาจาร

8. อบายมุข

9. พฤตกิ รรมชู้สาว

10. อินเทอรเ์ น็ตและเกม

11. ดา้ นสขุ ภาพอนามยั และนกั เรยี น

12. ดา้ นสตั ว์มพี ิษ

ดา้ นการป้องกันำการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ( Covid 19) 23 - 25

ดา้ นความปลอดภัยในสถานศึกษา (Moe safety center) 25 - 26

ดา้ นการป้องกันอาชญากรรมไซเบอร์ 26 - 27

ดา้ นการป้องกันฝ่นุ PM 2.5 27 – 28

5. แบบประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามมาตรการประกนั ความปลอดภยั ของนักเรยี น 29 – 31

6. แบบสรุปผลการประเมินสถานศกึ ษาที่ดำเนนิ การปฏิบตั ิงานตามคู่มอื ข้อปฏบิ ตั ิ 32

7. แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงานตามคู่มอื ขอ้ ปฏบิ ัติติและมาตรการรกั ษาความปลอดภยั 33 - 34

ค่มู อื ขอ้ ปฏิบัติ และมาตรการรักษาความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 2

ส่วนท่ี 1 บทนำ

ค่มู อื ข้อปฏบิ ตั ิ และมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต 2

1

1. ความสำคัญจำเปน็ การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ

มีวัตถุประสงค์หลักในการเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของคนทุกช่วงวัย จากภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ยาเสพติด ภัยพิบตั ิจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม่ และภัยจากไซเบอร์เป็นต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๗๙) จึงได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษาที่เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีของโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ เป็นพลวัต ท่กี ่อให้เกิดความท้าทายในด้านการเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจาก การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ประเทศเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้ การติดกับดักประเทศ ที่มีรายได้ปานกลาง ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรม ของประชากรท่ีปรับเปลี่ยนไปตามกระแสโลกาภิวัตน์เป็นผลให้เกิดการเร่งแก ้ไขปัญหาทั้งยังเกิดภัยคุกคาม ต่อความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน และประเทศชาติมีความซับซ้อนและรุนแรงมากข้ึน ซึ่งภัยในแตล่ ะด้านล้วนมีความสำคญั ต่อการพัฒนาประเทศประกอบกับ นโยบาย Quick Win ๗ วาระเร่งด่วน ข้อท่ี ๑ ความปลอดภัยของผเู้ รยี น กระทรวงศึกษาธิการมองเห็นภยั ทีเ่ กดิ แก่ นกั เรียน ครู และบคุ ลากรทางการ ศึกษาที่เกิดขึ้นซํ้าและส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจใน หลายปีที่ผ่านมา เช่น ภัยจาก การคุกคามทางเพศ ภัยจากการกลั่นแกล้งรังแก (Bully) รวมถึงภัยที่เกิดจากโรคอุบัติใหม่ ได้แก่ การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) เป็นผลให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และสวัสดิภาพชวี ิตของนักเรยี น ครู และบุคลากร ทางการศึกษา

นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มุ่งม่ันในการพฒั นาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานให้เป็น “การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานวถิ ใี หม่ วิถีคณุ ภาพ” มุง่ เน้นความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ส่งเสรมิ โอกาสทางการศกึ ษา ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นพัฒนาระบบ และกลไก ในการดูแลความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติ และภยั คุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการวดั สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมสี ขุ ภาวะทดี่ ี สามารถปรับตวั ตอ่ โรคอุบตั ิใหม่ และอุบัติซํ้าส่งเสริมความปลอดภัยสร้างความมั่นใจให้สังคม เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยแก่นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้การป้องกัน ดูแล ช่วยเหลือหรือเยียวยา และแก้ไขปัญหามีความเป็นเอกภาพ มีข้อมูลสารสนเทศที่เป็นระบบ สามารถแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการ ความเสี่ยงได้อย่างยั่งยืนด้วยการบริหารจัดการตามมาตรการ 3 ป ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปรามให้ เกิดความปลอดภัยให้มากที่สุด และไม่ให้เกิดเหตุการณ์นั้นซ้ำอีก เพื่อสร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นให้แก่ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปในการที่จะได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และเกิดความปลอดภัยอย่างมั่นคงและยั่งยืน เพื่อให้แนวทางการปฏิบัติสอดคล้องและเป็นระบบ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดทำคู่มือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการสร้าง ความปลอดภัยให้เกิดแก่นักเรียน เพราะความปลอดภัยเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพและการ เรียนร้ขู องผู้เรยี น

คมู่ อื ขอ้ ปฏบิ ัติ และมาตรการรักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 2

2 2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพือ่ สร้างความรู้ความเขา้ ใจในการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 2.2 เพื่อสร้างความเขม้ แข็งการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา 2.3 เพื่อดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบ 2.4 เพอ่ื รายงานการดำเนนิ การดา้ นความปลอดภยั ต่อหนว่ ยงานต้นสังกดั 3. เปา้ หมาย 3.1 สถานศึกษามีแผนความปลอดภยั ตามบรบิ ทของสถานศึกษา 3.2 สถานศึกษามีการปฏิบัติที่เป็นเลิศในการเสริมสร้างความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา อยา่ งยัง่ ยนื 3.3 นักเรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาได้รบั ความคุ้มครองดูแลใหม้ ีความปลอดภัย 3.4 สถานศกึ ษากบั หนว่ ยงานตน้ สังกดั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง และภาคีเครอื ขา่ ยมสี ่วนร่วมใน การดำเนินงานด้านความปลอดภัยสถานศกึ ษา 4. ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ 4.1 สถานศึกษาทกุ แห่งมีแผนความปลอดภัยตามบรบิ ทของสถานศึกษา 4.2 ร้อยละ ๘๐ ของสถานศึกษามีการปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศในการเสริมสรา้ งความปลอดภยั สถานศกึ ษา เพอ่ื การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื 4.3 นกั เรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ คนไดร้ ับความคมุ้ ครองดูแลให้มคี วามปลอดภยั 4.4 ร้อยละความร่วมมือระหว่างสถานศกึ ษากับหน่วยงานตน้ สงั กดั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องและภาคี เครอื ข่ายมีสว่ น

คมู่ ือ ขอ้ ปฏบิ ัติ และมาตรการรกั ษาความปลอดภัยในสถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาชมุ พร เขต 2

ส่วนท่ี 2 องคค์ วามรดู้ ้าน ความปลอดภัย

ค่มู ือ ขอ้ ปฏิบตั ิ และมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาชมุ พร เขต 2