จุดเด่น ของ ธุรกิจ ดิจิทัล บน สื่อ สังคม ออนไลน์ มี อะไร บาง

การทDำธiุgรกiิtจอaดาิอlจจิาอทMรันยล์ทไaิเบพสลrยนนนรkอั์ตสืe่นอ์ อtสัาiงชnนคะgมชัย

จัดทำโดย
นางสาวรสริน มะยมทอง เลขที่ 17 ธป. ปวส.1

การตลาดดิจิทัล
Digital Marketing

ความหมาย

Digital Marketing คือ การทำการตลาดรูปแบบหนึ่ งโดยการ
โปรโมทสินค้าหรือบริการผ่านทางสื่อดิจิทัล และสามารถสร้างการมีส่วน
ร่วมกับผู้บริโภค เพื่อเพิ่มยอดขายโดยใช้กลยุทธ์ต่างๆ ทางสื่อดิจิทัล ซึ่ง
กำลังเป็นที่นิ ยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่ องจากผู้บริโภค
สามารถเข้าถึงสื่อเหล่านี้ ได้ง่าย และสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาตลอด
24 ชั่วโมง

นอกจากนี้ การตลาดดิจิทัลคืออีกทางเลือกหนึ่ งของการสร้างการรับ
รู้ให้เกิดขึ้นกับธุรกิจแบรนด์ใหม่ ทำให้การรับรู้ในวงกว้างไม่ใช่เรื่องที่
ยากอีกต่อไป อีกทั้งยังสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ในจำนวน
มากได้โดยตรง ธุรกิจแบรนด์ใหม่จึงมีโอกาสที่จะเป็นที่รู้จักและเติบโต
ได้อย่างรวดเร็วผ่านช่องทางต่างๆ ของการตลาดแบบดิจิทัล

เครื่องมือ

10 เครื่องมือ Digital Marketing สำหรับการเริ่มต้นธุรกิจ
ออนไลน์

1. Google Analytics.
2. Webmaster Tool.
3. Google Ads.
4.SEM Rush.
5 Ubersuggest.
6. WordPress.
7.Yoast Plugin for WordPress.
8. Zanroo.
9.E-mail Marketing.
10. Hubspot CRM.

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ของ Digital Marketing
วัตถุประสงค์หลักของ Digital Marketing ก็คือการเข้าถึงกลุ่ม
ลูกค้าที่ต้องการขายเครื่องมือดิจิตอลและออนไลน์ การตลาดแบบนี้ มี
ตัวเลือกที่หลากหลาย สามารถให้ข้อมูลที่เจาะลึก ธุรกิจสามารถเริ่ม
ทำการตลาดด้วยงบที่น้ อยในตอนแรก แล้วค่อยปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงตามผลประกอบการในเวลาจริง เราจะเห็นแล้วว่าธุรกิจ
สมัยนี้ หากไม่ใช่ธุรกิจขายของออนไลน์ ไปเลย ก็จะเป็นธุรกิจที่มีเพจ
Facebook หรือเว็บไซต์เป็นของตัวเอง แม้แต่ร้านขายข้าวแกงบางทีก็
ยังมีตัวตนอยู่ในโลกออนไลน์ นั้ นก็เพราะว่าการตลาดดิจิตอลเป็น
‘การสื่อสารหลักที่ผู้บริโภคนิ ยม’ หมายความว่าหากลูกค้าของเรา
อยากจะหาข้อมูลหรือหาร้านค้าอะไร ลูกค้าส่วนมากก็คาดหวังและ
ต้องการถ้าสามารถหาข้อมูลส่วนนี้ ได้ในโลกออนไลน์
สรุปง่ายๆก็คือ การตลาดดิจิตอลเป็นวิธีที่บริษัทจะสามารถแข่งขันกับ
เจ้าอื่นได้

แน่ นอนว่าการตลาดดิจิตอลนั้ นประกอบไปด้วยช่องทางการ
ตลาดออนไลน์ หลากหลายชนิ ด แต่ละช่องทางก็จะมีกลุ่มลูกค้าไม่
เหมือนกัน ลูกค้าแต่ละกลุ่ม แต่ละช่องทางก็จะมีพฤติกรรมที่แตกต่าง
นั่ นก็แปลว่าการตลาดดิจิตอลสามารถตอบโจทย์ของธุรกิจได้หลาก
หลายขนาด หลากหลายชนิ ด ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกช่องทางการ
ตลาดให้เหมาะกับงบการตลาดและกลุ่มลูกค้าของเราได้หรือเปล่า

จริยธรรมในการทำธุรกิจออนไลน์

จริยธรรม 10 ข้อในการทำธุรกิจออนไลน์

1.ขายของดี มีคุณภาพ ในราคายุติธรรม ไม่ก่อให้เกิดอันตรายกับ
ผู้ใช้

2.ขายของที่ถูกกฎหมาย ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ นำเข้าอย่างถูกต้อง ไม่
ปลอมแปลงหรือคัดลอกสิ นค้าของผู้อื่นมาเป็นของตัวเอง

3.ไม่โฆษณาเกินจริง บิดเบือนคุณภาพ สรรพคุณของสินค้า

4.ระบุรายละเอียดที่มา ขนาด ราคา วันหมดอายุ ของสินค้าให้
ชัดเจน

5.ไม่กลั่นแกล้ง ให้ร้ายป้ายสีใคร

6.เก็บรักษาข้อมูลส่วนตัวและบัญชีของลูกค้าไว้เป็นความลับ และ
ไม่ควรเปิดเผยข้อมูลลูกค้าแก่ผู้อื่นทราบโดยไม่ได้รับอนุญาต

7.ตรงต่อเวลา จัดส่งสินค้าตามที่แจ้ง

8.ตรวจสอบสิ นค้าและพัฒนาปรับปรุ งให้มีคุณภาพอยู่เสมอ

9.ถามมา ตอบได้ ตอบไว ไม่หนี ไม่โกง

10.ใช้ช่องทางรับชำระเงินที่เชื่อถือได้

ตัวอย่างการมีจริยธรรม
ในการทำธุรกิจ5 ตัวอย่าง

1.รายงานพฤติกรรมที่ผิดจรรยาบรรณ
หากพนั กงานสังเกตเห็นพฤติกรรมใดที่ผิดจรรยาบรรณในที่

ทำงาน พวกเขาควรมีช่องทางในการรายงานพฤติกรรมดังกล่าว ซึ่ง
บริษัทมีหน้ าที่จัดหาช่องทางในการรายงานพฤติกรรมเหล่านั้ น และ
ออกแบบในลักษณะที่ป้องกันอันตรายให้กับพนั กงานผู้รายงานโดย
ไม่ต้องกลัวผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมา

2.มีความโปร่งใส
ความโปร่งใสและการสื่อสารที่ชัดเจนเป็นสิ่ งสำคัญของการมี

จริยธรรมทางธุรกิจ ธุรกิจที่ไม่มีความโปร่งใส ไม่พูดความจริงกับผู้
บริโภค อาจทำลายความไว้วางใจและส่งผล
กระทบต่อธุรกิจอย่างร้ายแรงได้ หากบริษัทเผชิญวิกฤตกับสาธารณะ
บริษัทก็ควรเรียกประชุมร่วมกับพนั กงานของตนและจัดการปัญหา
อย่างตรงไปตรงมา สิ่ งสำคัญคือ ต้องอธิบายสถานการณ์ตามความ
เป็นจริงเพื่อหาทางคลี่คลาย ร่วมกัน นำเสนอแนวทางแก้ไข และ
ยอมรับคำวิจารณ์ ด้วยความถ่อมตน

3.ให้ความสำคัญกับความต้องการของลูกค้าเป็นอันดับแรก
บริษัทควรสร้างวัฒนธรรมในการทำงานให้กับพนั กงาน โดย

คำนึ งถึงความต้องการของลูกค้าเป็นอันดับแรก ตัวอย่างเช่น หาก
ลูกค้ากำลังมองหาผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการ สิ่ งสำคัญของ
พนั กงานคือ ต้องจัดหาผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดและตรงกับความต้องการ
ให้กับพวกเขา แทนที่จะพยายามขายหรือกระตุ้นให้พวกเขาซื้อ
ผลิตภัณฑ์อื่นที่ไม่ตรงตามความต้องการ

4.เคารพข้อมูลลูกค้า
ธุรกิจจำนวนมากหรือแทบจะทุกธุรกิจต้องมีการเก็บรวบรวม

ข้อมูลส่วนตัวของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการชำระเงิน ข้อมูลสุขภาพ
หรือข้อมูลการทำงาน บริษัทต้องมีการรักษาความปลอดภัยและ
ปกป้องข้อมูลของลูกค้าอย่างเข้มงวด โดยเฉพาะธุรกิจโรงพยาบาล
หากเจ้าหน้ าที่แบ่งปันข้อมูลผู้ป่วยสู่ภายนอกไม่ว่าทางใดก็ตาม ไม่
เพียงแต่เป็นการดูหมิ่นความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วยเท่านั้ น แต่ยังอาจ
ทำให้โรงพยาบาลเสี่ยงต่อการละเมิดกฎข้อบังคับของ HIPAA หรือ
ระบบรักษาข้อมูลตามมาตรฐานสากล เพื่อการปกป้องเวชระเบียน
ของบุคคลและข้อมูลสุขภาพส่ วนบุคคล

5.ถูกต้องตามกฎหมาย
จรรยาบรรณทางธุรกิจยังรวมถึงการปฏิบัติตามข้อบังคับทาง

กฎหมายด้วย อย่างเรื่องภาษี ความปลอดภัยของลูกจ้าง หรือเป็นไป
ตามกฎหมายแรงงาน บริษัทที่ดำเนิ นกิจการภายใต้ขอบเขตของ
กฎหมาย มีความน่ าเชื่อถือและยังสามารถสร้างชื่อเสียงในเชิงบวกที่
แข็งแกร่งในฐานะนายจ้าง ซึ่งอาจดึงดูดลูกจ้างมากฝีมือให้มาร่วม
งานกับบริษัทของคุณได้อีกด้วย