ปัญหาการศึกษาไทยมีอะไร บ้าง

กลุ่มที่ 1

เรื่อง ปัญหาการศึกษาไทย
เสนอ

อาจารย์เยาวลักษณ์ เอกไพฑูรย์

การนำเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาทักษะการคิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เขตรังสิต

รายงาน

วิชา Thinking Skills for Lifelong Learning(GE101)
เสนอ

อาจารย์เยาวลักษณ์ เอกไพฑูรย์

รหัสนักศึกษา 1650207341 นาย ธรรมนูญ เอี่ยมสมบุญ เลขที่ 7

รหัสนักศึกษา 1650207523 นางสาว พิยดา แก่นรักษ์ เลขที่ 12

รหัสนักศึกษา 1650207556 นางสาว กุลจิรา สุชัย เลขที่ 13

รหัสนักศึกษา 1650207937 นาย จิรวัฒน์ สุพรม เลขที่ 25

รหัสนักศึกษา 1650208190 นาย ธีรวัฒน์ นาชัยสินธุ์ เลขที่ 34 (ไม่ทำ)

รหัสนักศึกษา 1650208653 นางสาว ปวริศา พูลผล เลขที่ 48

รหัสนักศึกษา 1650208687 นางสาว มนต์นรี บุญมาทัน เลขที่ 49 (ไม่ทำ)

รหัสนักศึกษา 1650208778 นาย ศุภนิมิต ฤทธิ์มังกร เลขที่ 52

รหัสนักศึกษา 1650210253 นาย กฤตเมธฐ์ อุ่นเรือน เลขที่ 119 (ไม่ทำ)

ปีการศึกษา 1/2565
คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คำนำ

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาทักษะการคิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Thinking skill for Lifelong Learning (GE101)

โดยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลทางทักษะการคิด การเรียนรู้ ของ
ปัญหาการศึกษาไทย ซึ่งจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลปัญหาการศึกษา มีวิธีคิด และ
แนวทาง รวมไปถึงการสรุปปัญหาการศึกษา

คณะผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อ ปัญหาการศึกษาไทย เนื่องจากปัญหาการศึกษาไทยน่าสน
ใจและรทำรายงานเล่มนี้ขึ้นเป็นการใช้ความรู้ภายในห้องเรียนผสมกับการค้นคว้า
คณะผู้จัดทำหวังว่า รายงานฉบับนี้จะมีประโยชน์เป็นอย่างยิ่งกับผู้ที่ต้องการศึกษา
ข้อมูลของปัญหาการศึกษาไทย หากมีข้อมูลผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทำต้อง

ขออภัยเป็นอย่างยิ่งไว้ ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

เรื่อง หน้า

ปัญหาการศึกษาไทย 1-6
7-13
ท ฤ ษ ฎี วิ เ ค ร า ะ ห์ 6 ห ม ว ก
14-19
CREATIVE PROBLEM SOLVING
การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 20-25

Analytical Thinking 26
การคิดเชิงวิเคราะห์ 27
28
แนวคิดเรื่องปัญหาศึกษาไทย

สรุปเรื่องปัญหาการศึกษาไทย

บรรณานุกรม

ปัญหาการศึกษาไทย

มาตรฐานการศึกษาของไทยกำลังอยู่ในช่วงวิกฤต
เนื่องจากผลของการวัดคุณภาพการศึกษาใน
ระดับชาติ และระดับนานาชาติ
อยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐานมาโดยตลอด
ส่วนในกลุ่มประเทศสมาคมอาเซียน มีเพียง

ประเทศอินโดนีเซียเพียงประเทศเดียวเท่านั้น ที่มี
ผลการวัดระดับการศึกษาระดับชาติ
ต่ำกว่าผลการศึกษาของประเทศไทย

1

สาเหตุแรก

ให้คุณภาพการศึกษาไทยตกต่ำ
น่าจะเกิดจากการอบรมเลี้ยงดูเด็กของคนไทยหลายประการ

ที่ไม่ถูกต้อง และส่งผลให้เด็กขาดความมั่นใจในตนเอง
ขาดความรับผิดชอบ ตลอดทั้งไม่มีระเบียบวินัยในการ
ทำงานให้สำเร็จลุล่วงตามกำหนดเวลาอย่างเคร่งครัด
เนื่องจากในวัยทารก ผู้ใหญ่มักจะอุ้มเด็กเสมอเมื่อเด็ก
ร้องไห้ โดยไม่คำนึงว่าเด็กเพียงต้องการเรียกร้องความ

สนใจจากผู้ใหญ่เท่านั้น

2

สาเหตุที่สอง

เกิดจากการเร่งรัดให้เด็กเข้าสู่ระบบการเรียนในวัยที่ยัง
น้อยเกินไป โดยให้เด็กเล็กเริ่มเรียนการเขียนอ่านตั้งแต่

ช่วงอายุประมาณ 3-6 ขวบ ทำให้เด็กเสียโอกาสที่จะได้
เรียนรู้สิ่งที่ช่วยเสริมสร้างจินตนาการจากการเล่นที่เหมาะ

สมกับวัย และกิจกรรมต่าง ๆ ที่กระตุ้นพัฒนาการและ
จินตนาการ การพัฒนาบุคลิคภาพ ตลอดทั้งความเฉลียว
ฉลาดทางอารมณ์ เช่น การเล่นของเล่นที่มีอุปกรณ์เป็น
วัสดุจากธรรมชาติหลากหลาย จะช่วยกระตุ้นการเรียนรู้จาก
การสัมผัส การฟังนิทาน เรื่องเล่า ดนตรี การวาดรูป และ

การทำงานศิลปะต่าง ๆ ตลอดทั้งการสังเกตเรียนรู้
สิ่งรอบตัว

3

สาเหตุที่สาม

เนื่องจากเด็กที่ถูกเร่งรัดให้เรียนวิชาการ ตั้งแต่ช่วงวัย
อนุบาล นอกจากจะทำให้เด็กเกิดความเบื่อหน่ายในการ
เรียนในวัยที่มากขึ้น การท่องจำเป็นวิธีการหนึ่งที่ถูกนำมา
ใช้กับการเร่งรัดให้เด็กเรียนเขียนอ่านตั้งแต่อายุยังน้อย
ซึ่งเป็นการสร้างความน่าเบื่อหน่ายแต่เด็กก็ต้องปฎิบัติตาม
เนื่องจากต้องท่องจำเพื่อนำไปสอบแข่งขันในหลายระดับ
เมื่อเด็กเติบโตและเข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ความ
เบื่อหน่ายจากการเรียนแบบท่องจำก็จะเพิ่มมากขึ้น ส่งผล
ให้ไม่มีความสนใจในเนื้อหาวิชาที่เรียนอย่างแท้จริง มุ่ง
ท่องจำสำหรับการสอบแข่งขันให้ได้เท่านั้น ทำให้การ
เรียนในระดับที่สูงขึ้นเป็นไปในลักษณะที่น่าเบื่อหน่ายยิ่ง

ขึ้น ไม่มีแรงจูงใจในการเรียนรู้ด้วยความสนใจอย่าง
แท้จริง

4

สาเหตุที่สี่

จำนวนชั่วโมงเรียนที่มากเกินไป ทำให้เพิ่มความเบื่อ
หน่ายเหนื่อยล้าต่อเด็ก ในประเทศที่มีผลการศึกษา
นานาชาติอยู่ในระดับดี เด็กปฐมวัยมีชั่วโมงเรียนต่ำกว่า
800 ชั่วโมงต่อปี เช่นประญี่ปุ่น เยอรมัน ฟินแลนด์ ฯลฯ
แต่เด็กปฐมวัยในประเทศไทยมีจำนวนชั่วโมงเรียนต่อปี
สูงถึง 1,240 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงเรียนที่มากเกินไปนี้น่า
จะเป็นสาเหตุสำคัญอีกประการหนึ่งที่ทำให้เด็กเกิดความ

เบื่อหน่าย

5

สาเหตุที่ห้า

เป็นเรื่องที่ปฏิเสฐไม่ได้ว่า ในช่วงกว่าสองทศวรรษ
ที่ผ่านมา เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิต

และการศึกษา ของเด็กมากเกินไป
ทั้งจากระบบการศึกษา และจากการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง

การเข้าถึงเทคโนโลยีตั้งแต่อายุยังน้อยของเด็ก
น่าจะส่งผลเสียมากว่าผลดี เนื่องจากทำให้เด็กมุ่งไปที่การ
ใช้เทคโนโลยี เพื่อความบันเทิงมากกว่าการศึกษาหาความ

รู้ทางผู้ปกครองส่วนใหญ่ก็ไม่ผมารถจำกัดเวลาการใช้
เทคโนโลยีของเด็กให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ดีได้

6

Six thinking hats

ท ฤ ษ ฎี วิ เ ค ร า ะ ห์ 6 ห ม ว ก

เน้นการคิดที่ครอบคลมเพื่อไม่ให้เกิดการตกหล่นใน

เรื่องใดเรื่องหนึง เป็
นการจัดระเบียบการคิด ทำให้การคิด

มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้หมวก 6 ใบเป็นตัวนำเสนอ

ทางเลือกทีเป็นไปได้ตามมุมมอง ต่างๆ ของปัญหา

7

1.WHITE HAT
หมวกสีขาว
ความเป็นกลาง

มาตราฐานของการศึกษาของไทยกำลังอยู่ในช่วงวิกฤต
จากการวัดผลของคุณภาพการศึกษาในระดับชาติ และ

ระดับนานาชาติ อยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน

8

2. RED HAT

หมวกสีแดง

สัญชาตญาณและลางสังหรณ์ตามอารมณ์ของตนเอง

ความน่าเบื่อในการที่จะต้องจำท่องจำเข้าไปเพิ่มเข้าไป
ในความจำเรา

9

3. BLACK HAT
หมวกสีดำ
ความคิดเชิงลบ

เด็กมีพัฒนาการต่ำกว่าวัยครอบครัวไทยส่วนใหญ่ไม่มีเงิน
เก็บส่งในระดับการศึกษาที่สูง

10

4. YELLOW HAT
หมวกสีเหลือง
ความคิดในแง่ดี

อาจารย์สอนดี คอยให้คะแนะนำ คำปรึกษา และรูป
แบบการสอนของอาจารย์ช่วยให้เพิ่มความจำ ความรู้ที่

แม่นยำ มีทักษะในหลายๆด้าน

11

5. GREEN HAT
หมวกสีเขียว

ความคิดใหม่ๆ

การศึกษาทำให้มีความรู้ในการที่จะไปทำอะไรต่อได้
โดยใช้ความรู้ที่ศึกษามา เช่นเรียนการตลาดมาก็เอาไป
ใช่ในการทำธุรกิจได้อย่างเราสร้างธุรกิจก็ต้องใช้การ

ตลาดมาช่วยด้วย

12

6. BLUE HAT 13
หมวกสีน้ำเงิน

การสรุปและความชัดเจนทางความคิด

การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคม การผลิตและ
พัฒนากำลังคน การวิจัย แล
ะนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความ
สามารถในการแข่งขัน การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย

และสร้างสังของการเรียนรู้
การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการ

ศึกษา การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบ
บริหารจัดการศึกษา

CREATIVE PROBLEM SOLVING
การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

กระบวนการคิดรูปแบบใหม่ๆที่จะทำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไปถึง
เป้าหมายที่ต้องการด้วยวิธีการหรือเทคนิคต่างๆที่สร้างสรรค์ต่างจากเดิม

14

1.เข้าถึงปัญหา

การเข้าถึงปัญหา คือการระบุปัญหา เป็นการตัดสินว่า
สถานการณ์ที่ศึกษานั้น

ระบบการศึกษาไทยที่กำลังศึกษาอยู่ไม่เน้นให้เด็ก
ตั้งคำถาม เด็กถูกฝึกให้เชื่อและจำมากกว่าคิด
วิเคราะห์เด็กจึงไม่ถูกฝึกการลำดับเหตุผล

15

2.การคิดวิธีการแก้ปัญหา

การคิดวิธีการแก้ปัญหา คือการคิดหาวิธีแก้ปัญหาให้มาก
ที่สุด โดยไม่มีการตัดสินว่าความคิดนั้นผิดหรือถูก
ควรประเมินการศึกษาเเละปรับการเรียนการสอนให้
เด็กออกความคิดเห็นและปฏิบัติให้มากยิ่งขึ้นและ
ปรับเปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาที่ไม่จำเป็น

16

3.การเลือกและเตรียมการ

การเลือกและเตรียมการ คือการทำให้วิธีการแก้ปัญหามี
ความชัดเจนในการปฏิบัติ มากยิ่งขึ้น

เตรียมการเเก้ปัญหาโดยการสร้างgoogle from
ข้อดีคือทำให้คนอื่นสามารถประเมินปัญหาการศึกษา
ไทยข้อเสียคือคนที่มาประเมินสามารถประมาณมั่วๆ
ได้โดยไม่สนคำถามที่ตั้งไว้

17

4.การวางแผนการแก้ปัญหา

การวางแผนการแก้ปัญหา คือการวางแนวทางการแก้ปัญหา
โดยใช้ความสามารถและข้อจำกัดของบุคคล
การใช้ google from ประเมินการ
ศึกษาไทยข้อจำกัดคือคนที่ประเมินนั้น
เป็นนักเรียนนักศึกษาเท่านั้น

18

5.การลงมือปฏิบัติ

การลงมือปฏิบัติ คือการวางแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้
ความสามารถและข้อจำกัดของบุคคล

สร้างแบบสอบถามในgoogle from เเล้วนับ
ลิ้งค์มากระจายในกลุ่มต่างๆของนักเรียนกนัก
ศึกษาเเล้วนับเเบบฟอร์มส่งให้ผู้อำนวยการ
หรืออธิการบดีเพื่อให้เห็นปัญหาการศึกษา

19

Analytical Thinking

การคิดเชิงวิเคราะห์

ความสามารถในการคิดจำแนกแจกแจงองค์ประกอบ
ต่างๆ ของข้อมูลหรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็น
ย่อยๆ ในหลายๆแง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น แล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อ
หาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ

20

1.ระบุปัญหา

DEFINE THE PROBLEM
ระบุปัญหาหรือข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ให้ชัดเจน

ปัญหาของระบบการศึกษาไทยคือการติดอยู่กับกรอบ
หรือขนบเดิมๆ มากมายที่ขัดขวางการเปลี่ยนแปลง
ตั้งแต่วาทกรรมเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ที่ต้องเริ่ม

ต้นจากห้องเรียนสี่เหลี่ยมเล็กๆ โดยมีครูเป็น
ศูนย์กลางของการจัดการเรียนรู้

21

2.รวบรวมและประมวลข้อมูล

Gather and interpret
information

รวบรวมและประมวลผลข้อมูล

วงการการศึกษามีปัญหาเรื่องการให้ความสำคัญที่มากเกิน
ไปกับการประเมิน/วัดผล ที่ไม่ได้ส่งผลอะไรต่อการ

เปลี่ยนแปลงตัวผู้เรียน ตัววิชา หรือตัวผู้สอน เหมือนว่าการ
ประเมิน/วัดผลเพียงทำไปอย่างนั้น

22

3.แนวทางแก้ปัญหา

Test possible Solution
นำแนวทางการแก้ปัญหาไปทดสอบ

การประเมิน/ตรวจสอบสถานศึกษาหรือ
บุคลากรของสถานศึกษาทุกประเภท
การปรับหลักสูตรที่ไม่จำเป็น

23

4.เลือกแนวทางที่ดีที่สุดไปดำเนินการใช้

Select and implement a solution
เลือกแนวทางท่ีดีท่ีสุดไปดำเนินการใช้

การประเมิน/ตรวจสอบสถานศึกษาหรือ
บุคลากรของสถานศึกษาทุกประเภท

24

5.พัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้

Develop possible solution
พัฒนาแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้

ปรับวิธีคิด วิธีปฏิบัติของสำนักงานมาตรฐานการ
ศึกษาแห่งชาติ ให้เป็นการวัดประเมินที่ สอดคล้อง
กับสภาพจริง และเป็นเพียงการประเมินเพื่อนำไป

วางแผนพัฒนา

25

แนวคิดเรื่องปัญหาการศึกษาไทย

การศึกษาไทย มีคุณภาพเป็นกระจุก ไม่กระจายไปทั่วประเทศ ครอบครัวที่มีเงินจึงจะมี
โอกาสให้การศึกษาที่ดีแก่บุตรหลาน ส่วนเด็กไทยที่ด้อยโอกาส ทางการศึกษามีอยู่ทั่ว

ประเทศ พวกเค้าเรียนฟรีไม่ต้องเสียค่าเทอมจนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แต่ทำไม
การศึกษาไทย ไม่ได้อะไรกับเขาติดตัวมามันไม่ได้มีอะไรผิดปกติกับ การศึกษาไทย
แต่เพราะเป็นมาแบบนี้ช้านานแล้ว คนที่มีรายได้น้อยไม่มีทางเลือกให้บุตรหลาน ก็หา
โรงเรียนใกล้บ้านใกล้ให้ได้เข้าเรียนเหมือนคนอื่นๆ พ่อแม่ไม่ผิด เด็กไม่ผิด แต่ผิด
ที่ผู้ดูแลการศึกษาที่ไม่เคยคิดแก้ปัญหาความเท่าเทียมทาง การศึกษาไทยไม่พัฒนา

โรงเรียนของรัฐบาลให้มีคุณภาพเท่ากับโรงเรียนเอกชน เพื่อเด็กๆจะได้มีโอกาส
ทางการศึกษาเท่าเทียมกัน ปรับปรุงพัฒนา แม่พิมพ์พ่อพิมพ์ของชาติให้ได้มาตรฐาน

เพราะถ้าพ่อพิมพ์แม่พิมพ์ของชาติไม่มีความสามารถป้อนสิ่งดีๆให้กับลูกศิษย์ แล้วจะ
ให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่มีคุณภาพและช่วยพัฒนาประเทศได้อย่างไร

26

สรุปเรื่องปัญหาการศึกษาไทย

การศึกษาเป็นปัญหาที่เราทุกคนต้องร่วมกันรับผิดชอบ
ถ้าเราเช่ือมั่นว่า การศึกษาคือเครื่องมือใน การพัฒนาคน
ดังนั้น สังคมต้องมองการศึกษาใหม่ การศึกษาต้องไม่ใช่

เพียงแค่เรื่องของ ครู นักเรียน โรงเรียน สอบเข้า
มหาวิทยาลัยได้ปริญญา แต่การศึกษาคือภาระหน้าที่
ของสังคมทุกภาคส่วน ถ้าครอบครัวไม่ให้ การศึกษา
ไม่ปลูกฝังสิ่งดีงาม ถ้าสังคมเต็มไปด้วยธุรกิจที่ทุจริต

เอารัดเอาเปรียบ ไร้ความเป็นธรรม

27

บรรณานุกรม

ปัญหาเบื้องต้นของการศึกษาไทย แหล่งที่มาhttps://blogazine.pub/blogs/pia-wunna/post
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 - กระทรวงศึกษาธิการ แหล่งที่มาhttps://www.moe.go.th

การคิดเชิงวิเคราะห์ 5ขั้นตอน แหล่ง
ที่มาhttps://www.sasimasuk.com/15848561/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0
%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0

%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C-5-
%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99analytical-thinking?

การศึกษาไทย มุมมองในปัจจุบัน January 13,2021 แหล่งที่มาhttp://www.arab-games.net
การศึกษาไทยเปลี่ยนได้เพราะอะไรเด็กไทยจึงขาดทักษะการคิด แหล่งที่มา
https://www.facebook.com/TEPThaiEDU/posts

มุมมองปัญหาการศึกษาไทยสู่แนวทางพัฒนาการศึกษากุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 – กรกฎาคม พ.ศ. 2559 แหล่งที่มา
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/download/211066/146187

/664934?fbclid=IwAR23qvy_W6ZBnX31oDIqjXU-yPS4J3lRwPiy1CVZHSv1nv-oMpTeKHq5J7M

28

Tha
nk
you

Naka

ปัญหาของการศึกษาไทย มีอะไรบ้าง

ปัญหาของระบบการศึกษาไทยคือการติดอยู่กับกรอบหรือขนบเดิมๆ มากมายที่ขัดขวางการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่วาทกรรมเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ที่ต้องเริ่มต้นจากห้องเรียนสี่เหลี่ยมเล็กๆ โดยมีครูเป็นศูนย์กลางของการจัดการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย และครูยังเป็นผู้ถือครองอำนาจสูงสุดในห้องเรียน”

ระบบการศึกษาของไทยมีอะไรบ้าง

ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3.

การศึกษาไทยขาดแคลนอะไร

นอกจากปัญหาขาดแคลนครูแล้ว นักเรียนไทยอีกหลายล้านคนยังขาดแคลนหนังสือเรียน ชุดนักเรียน เครื่องเขียน และอาหารกลางวันด้วย

ทำไมระบบการศึกษาไทยล้มเหลว

นอกจากนี้ ปัญหาการศึกษาของไทยยังเกิดจาก 4 ปัจจัยหลัก 1. นโยบายการศึกษาไม่มีความต่อเนื่อง มีการเปลี่ยนทุกๆ 6 เดือน เนื่องจากรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ยึดความสนใจของตัวเองและของพรรคการเมืองเป็นหลัก 2. ระบบการศึกษาของไทยเต็มไปด้วยกฎระเบียบมากเกินไป ทำให้บุคลากรในกระทรวงศึกษา รวมถึงครู เกิดการยึดติดในกรอบ ไม่กล้าคิดแตกต่าง ...