การตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีอะไรบ้าง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ คือ ห้องปฏิบัติการสำหรับตรวจสิ่งส่งตรวจ (Specimens) ของผู้เข้ามารับบริการตรวจทางสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสุขภาพร่างกาย สำหรับประเทศไทย ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ อาจจะมีชื่อเรียกได้หลายแบบ ได้แก่ ห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ ห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิค และห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร เป็นต้น

แผนก[แก้]

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีอะไรบ้าง

ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็นหลายแผนก เนื่องจากการตรวจสิ่งส่งตรวจแต่ละแผนกนั้น มีขั้นตอนที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้ว เราสามารถแบ่งเป็นแผนกได้ ดังนี้

  • แผนกจุลชีววิทยา เป็นแผนกที่รับสิ่งส่งตรวจ เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด เพื่อตรวจหาจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรค
  • แผนกโลหิตวิทยา เป็นแผนกที่ทดสอบสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเลือด เช่น การตรวจเลือดแบบสมบูรณ์ (Complete blood count, CBC) การตรวจการแข็งตัวของเลือด เป็นต้น
  • แผนกเคมีคลินิค เป็นแผนกที่ตรวจถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ในน้ำเหลือง เช่น ระดับเกลือแร่ต่าง ๆ
  • แผนกภูมิคุ้มกันวิทยา เป็นแผนกที่ตรวจถึงระดับภูมิคุ้มกันของร่างกาย
  • แผนกธนาคารเลือด เป็นแผนกที่ตรวจเกี่ยวกับการเข้ากันได้ของผู้บริจาคเลือด และผู้รับบริจาคเลือด รวมถึงกรุ๊ปเลือด
  • แผนกปรสิตวิทยา เป็นแผนกที่ตรวจหาพยาธิ

ประเภทของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์[แก้]

ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่อยู่ในโรงพยาบาล ซึ่งมีหน้าที่หลักในการตรวจสิ่งตรวจของผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลนั้น ๆ และห้องปฏิบัติการทางการแพทย์เอกชน เป็นห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่ไม่ได้ตั้งอยู่ในโรงพยาบาล แต่เปิดให้บริการโดยเอกชน เช่น ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ของบริษัทประกันชีวิต

ขั้นตอนการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์[แก้]

สารสนเทศภายในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

  • เทคนิคการแพทย์

          เป็นการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น การตรวจเลือดต่างๆ การตรวจปัสสาวะ การตรวจอุจจาระ การตรวจเชื้อ การตรวจเพาะเชื้อ เป็นต้น เพื่อช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคทางคลินิกของแพทย์  เพื่อช่วยประเมินติดตามการรักษา เพื่อการตรวจเชคสุขภาพ สำหรับผู้รับบริการทั่วไปที่ต้องการตรวจแล็ป ด้วยขั้นตอนที่ไม่ซับซ้อน ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ
          เซ็นทรัล เมดิก คลินิกเป็นคู่สัญญาการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (แล็ป) N-Health ที่ได้รับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน ตามมาตรฐาน ISO9001 : 2008 และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นห้องปฏิบัติการที่ผ่านการรับรองความสามารถตาม มาตรฐาน ISO15189 : 2012

ช่องทางพิเศษ สำหรับผู้ป่วยทั่วไปที่สามารถเข้าถึงการตรวจแล็ป ที่สะดวก รวดเร็ว กระชับ ลดขั้นตอนที่ซับซ้อน

  • ท่านสามารถมาขอตรวจแล็ปเพื่อนำผลการตรวจแล็ป ให้แพทย์ประจำตัวในการติดตามรักษา
  • ท่านสามารถมา ปรึกษาแพทย์ ขอคำแนะนำเพื่อขอตรวจเชคสุขภาพ เพื่อดูความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกาย ค้นหาโรค
  • ท่านสามารถมาขอตรวจแล็ปเพื่อประกอบสมัครเข้าทำงาน หรือประกอบการรับรองสุขภาพ

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีอะไรบ้าง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีอะไรบ้าง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีอะไรบ้าง

  • สาขาจุลชีววิทยาคลินิก (Clinical Microbiology)

    คือ การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์เพื่อตรวจหาจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคหรือเพื่อประกอบการวินิจฉัยโรคติดเชื้อแบคทีเรีย และยืนยันหรือแยกชนิดของเชื้อผ่านสิ่งส่งตรวจ เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด

  • สาขาโลหิตวิทยาคลินิก (Clinical Hematology)

    คือ การตรวจหาสารต่าง ๆ ทางเคมีชีวเคมีในเลือด ตรวจหาภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวข้องกับเลือด เช่น การตรวจดูความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ภาวะโลหิตจาง การตรวจการแข็งตัวของเลือด เป็นต้น

  • สาขาเคมีคลินิก (Clinical Chemistry)

    คือ การตรวจถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ในน้ำเหลือง เช่น ระดับเกลือแร่ ไขมัน ฯลฯ

  • สาขาภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก (Clinical Immunology)

    คือ การตรวจระดับภูมิคุ้มกันของร่างกาย ตรวจหาภูมิคุ้มกัน (Antibody) และสารก่อภูมิต้านทาน (Antigen)

  • สาขาธนาคารเลือด (Blood Bank)

    คือ การตรวจหาหมู่โลหิตและส่วนประกอบโลหิตที่เหมาะสม ตรวจดูความเข้ากันได้ของผู้บริจาคเลือดและผู้รับบริจาคเลือด

  • สาขาปรสิตวิทยาคลินิก (Clinical Parasitology)

    คือ การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ของสิ่งมีชีวิตจำพวกโปรโตซัว หนอนพยาธิ และสัตว์ขาข้อที่ก่อให้เกิดโรคในมนุษย์

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ คืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง

คือ การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์เพื่อตรวจหาจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคหรือเพื่อประกอบการวินิจฉัยโรคติดเชื้อแบคทีเรีย และยืนยันหรือแยกชนิดของเชื้อผ่านสิ่งส่งตรวจ เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด

เพราะอะไรจึงต้องมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นวิธีการหนึ่งของการสืบค้น ทั้งนี้เพื่อ ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคทางคลินิกของแพทย์ ช่วยการวินิจฉัยโรคของแพทย์ ช่วยประเมินวิธีรักษาและผลข้างเคียงจากการรักษา

แลปตรวจอะไรได้บ้าง

เป็นการตรวจวินิจฉัยโรคด้วยขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น การตรวจเลือดต่างๆ การตรวจปัสสาวะ การตรวจอุจจาระ การตรวจเชื้อ การตรวจเพาะเชื้อ เป็นต้น เพื่อช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคทางคลินิกของแพทย์ เพื่อช่วยประเมินติดตามการรักษา เพื่อการตรวจเชคสุขภาพ สำหรับผู้รับบริการทั่วไปที่ต้องการตรวจแล็ป ด้วยขั้นตอนที่ไม่ ...

ห้องปฏิบัติการมีอะไรบ้าง

เช็กลิสต์ อุปกรณ์ในห้องแล็ปมีอะไรบ้าง.
อุปกรณ์จำเป็นในห้องแล็ป ที่คุณต้องรู้จัก.
บีกเกอร์ (Beaker).
กระบอกตวง (Cylinder).
ขวดรูปชมพู่ (Erlenmeyer Flask).
หลอดหยด (Dropper).
แท่งแก้วคน (Glass Rod).
หลอดทดลอง (Test Tube).
ตะเกียงบุนเสน (Bunsen Burner).