นักประวัติศาสตร์ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ *

���������ѵ���ʵ��������á � ������ա�����¡�Ң���Тͺࢵ�����ͧ�ҡ��á���Ƕ֧ �ؤ����㹷ҧ����ѵ���ʵ����դ�������ѹ��Ѻ��ǧ���ҡ�á�˹�ࡳ������Ը��觪�ǧ���� ��ҧ � �з���� ����ӴѺ���º��º����ͧ��Ƿҧ����ѵ���ʵ���դ����Ѵਹ��� ���ࡳ�� �ѧ���仹����
��� 1. ����觵����ǧ���� �վ�鹰ҹ�Ҩҡ�ؤ���·ҧ��ʹ� ���͡��
������� (1) ����觪�ǧ���ҵ������ѵ���ʵ���� ���� �ط��ѡ�Ҫ (�.�.) ����ѡ�Ҫ (�.�.) ����������������ѵ���Թ���ȡ (�.�.)
������� (2) ����觪�ǧ���ҵ������ѵ���ʵ���ҡ� ���� ���ʵ��ѡ�Ҫ (�.�.) ����Ԩ������ ���ѡ�Ҫ (�.�.)

2. ����觵���ؤ���� ���úѹ�֡������ѡɳ��ѡ����ࡳ�� �� 2 �ؤ ���
������� (1) �ؤ��͹����ѵ���ʵ�� ���ؤ����ѧ�������ѡ�ҹ��úѹ�֡����ͧ������������ѡɳ��ѡ�� �ҡ��ͧ����֡������ͧ��� ���¡�͹����ѵ���ʵ�� ��ͧ�������ѡ�ҹ�Ǵ������蹻�Сͺ �� �ç��д١ ����ͧ��� ����ͧ�� ��ʹ������ͧ��дѺ��ҧ � ����ѧ�������� 2 �ؤ ����Ѳ�ҡ�� �ͧ����ͧ��� ����ͧ�� ���

 

�ؤ�Թ ���ؤ������������ѡ���Թ������ͧ�������ͧ�� ����ѧ���
��� �ؤ�Թ��� ������ 100,000 - 500,000 ��
��� �ؤ�Թ��ҧ ������ 7,000 - 12,000 ��
��� �ؤ�Թ���� ������ 3,000 - 7,000 ��
��� �ؤ���� �����������ҧ 5,600 - 7,000 �����ؤ��������� ���ѡ�� �������� ����ͧ��� ����ͧ��᷹�Թ �������͡�� 2 �ؤ���
��� �ؤ���Դ ���ؤ������������ѡ�ӷͧᴧ��дպء������ ����ѹ �����Դ ��������ͧ�������ͧ��
��� �ؤ���� ���ؤ������������ѡ��ö�ا���� ����������� ���硫�� ����觡��� ���Դ�ҷ�������ͧ��������ظ
�(2) �ؤ����ѵ���ʵ�� �����·�����������ѡ�Դ����ѡ�â�� ��Ш��֡������ѡɳ��ѡ�è��֡ŧ�� ���Թ �Թ�˹��� �԰ ������¹ŧ���蹼�� �ؤ����ѵ� ��ʵ���ѧ�������͡�� 4 �ؤ ���ͻ���ª��㹡�úѹ�֡����ѵ���ʵ�� �ѧ�����
�������� �ؤ��ҳ (Ancient Ages) �����������������駶�蹰ҹ����ѡ���� �� ����Ȫҵ� ���ѡ���� �����¸��� ��������ҡ������������� ䷡���-���õ�� �ǧ�� �Թ�� ��ի ������ ���Դ �ͧ���¸����Ӥѭ � �������شŧ������ҳҨѡ����ѹ����������ж١��ǵ�ǵѹ ����� ��ҧ����ͻ� �.�. 476
�������� �ؤ��ҧ (Middle Ages) �����ؤ�״ (Dark Ages) ���û������������û���ͧ �ͧ��� ��ҧ � ��Ż�Է�ҡ�÷������ԭ������ͧ��ش�Чѡŧ ���֧�� �.�. 1453
�������� �ؤ�������� �����������������û��鹵�Ǩҡ��ö١��ͺ������������鹿���Ż��Ѳ����� �ͧ��ա-���ѹ �ա�����Ǩ�Թᴹ��й�ҹ������� ���������ʤ鹾�����ԡ�� �.�.1492 仨��֧ ʧ�����š���駷�� 1
�������� �ؤ�Ѩ�غѹ ���������ѧʧ�����š���駷�� 1 �ص�ŧ (�.�.1918) �Ҩ��֧�Ѩ�غѹ ������ԡĵ ��ó�����˵ء�ó�ҧ��ҹ���ɰ�Ԩ �ѧ�� ������ͧ �Դ����ҡ���

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

นักประวัติศาสตร์ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ *


หลักเกณฑ์ในการแบ่งสมัยทางประวัติศาสตร์ การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงในการศึกษาได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ โดยการแบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับสมัย ประวัติศาสตร์ ยึดถือเอาอายุของตัวอักษรที่เก่าแก่ที่สุดเป็นเกณฑ์การแบ่ง สำหรับดินแดนประเทศ ไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์เมื่อพุทธศตวรรษที่ 11 โดยใช้อายุของตัวอักษรบนจารึกซึ่งพบจาก เมืองโบราณที่ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นหลัก โดยแต่ละสมัย นักวิชาการจะใช้หลักฐานในการ ศึกษาแตกต่างกัน ดังนี้

              1). สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จึงจำเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจาก หลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสำรวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน โลหะ เครื่อง ประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนสีตามฝาผนังถ้ำ 

                                                                                                  หินกระเทาะ

นักประวัติศาสตร์ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ *

               2). สมัยประวัติศาสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะมีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบเรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น

 หลักเกณฑ์การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ นักวิชาการมีหลักในการแบ่งยุค ดังนี้ แบบที่หนึ่ง ให้ความสำคัญในเรื่องของเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ โดยถือว่า เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ยุค ประกอบด้วย

            1) ยุคหิน แบ่งย่อยออกเป็นยุคหินเก่า ยุคหินกลาง และยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ 500,000 ปี - 6,000 ปีล่วงมาแล้ว

            - ยุคหินเก่า มนุษย์ดำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ เก็บหาอาหาร อาศัยอยู่ในถ้ำ ใช้เครื่องมือหินที่ทำแบบหยาบๆ รู้จักเขียนภาพตามผนังถ้ำ

           - ยุคหินกลาง มนุษย์ดำรงชีวิตเหมือนยุคหินเก่า รู้จักทำเครื่องมือหินที่ประณีต มากขึ้น รู้จักทำเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะผิวเรียบมัน

           - ยุคหินใหม่ มนุษย์ยุคนี้ดำรงชีวิตโดยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ตั้งหลักแหล่งถาวร ทำเครื่องมือหินขัด ทำเครื่องปั้นดินเผา ทำเครื่องประดับ

             2) ยุคโลหะ ครอบคลุมช่วงเวลาประมาณ 4,000 ปี - 1,500 ปีล่วงมาแล้ว แบ่งย่อย ออกเป็นยุคทองแดง ยุคสำริด และยุคเหล็ก คือ ยึดถือเอาชนิดของโลหะที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์เป็นเกณฑ์ การแบ่ง

             - ยุคสำริด มนุษย์อาศัยอยู่เป็นชุมชนใหญ่ขึ้น ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก รู้จัก ปลูกข้าว มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว หมู ชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่ายุคหินใหม่ รู้จักทำสำริดเป็นเครื่องใช้ เครื่องประดับ

            -ยุคเหล็ก การดำรงชีวิตเจริญและซับซ้อนกว่ายุคสำริด มีการติดต่อค้าขายกับ อารยธรรมต่างแดน ทำให้ผู้คนมีความเจริญแตกต่างกัน มีการนำเหล็กมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ ซึ่งมีความคงทนกว่าสำริด ใช้งานได้ดีกว่า แบบที่สอง ให้ความสำคัญในเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตของผู้คน ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ยุค ประกอบด้วย

             2.1) ยุคชุมชนล่าสัตว์ หรือเรียกว่า ยุคชุมชนหาของป่า ยุคนี้จะครอบคลุมช่วงเวลา ประมาณ 500,000 ปี - 6,000 ปีล่วงมาแล้ว

             2.2) ยุคหมู่บ้านเกษตรกรรม เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จักการดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก เลี้ยง สัตว์ สังคมยุคนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปี - 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

             2.3) ยุคสังคมเมือง เป็นช่วงที่ชุมชนพัฒนาเป็นสังคมเมือง มีลักษณะเป็นเมืองเล็กๆ สังคมแบบนี้จะถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

·         สมัยก่อนประวัติศาสตร เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาถึงร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จำเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสำรวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน โลหะ เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนตามฝาผนังถ้ำ เป็นต้น

·         สมัยประวัติศาสตรเป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะมีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบเรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น 

 หลักเกณฑ์การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร

         การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ นักวิชาการมีหลักในการแบ่งยุค ดังนี้

แบบที่หนึ่ง ให้ความสำคัญในเรื่องของเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ โดยถือว่า เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ยุค ประกอบด้วย

1.       ยุคหิน ซึ่งจำแนกออกเป็นยุคหินเก่า หินกลาง หินใหม่ มีอายุประมาณ 500,000 - 4,000 ปีล่วงมาแล้ว

2.       ยุคสำริด มีอายุประมาณ 4,000 - 2500 ปีล่วงมาแล้ว

3.       ยุคเหล็ก มีอายุระหว่าง 2,500 - 1,500 ปีล่วงมาแล้ว

แบบที่สอง ให้ความสำคัญเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตของผู้คน แบ่งออกได้ 3 ยุค ดังนี้

1.       ยุคชุมชนล่าสัตว์ หรือเรียกว่า ยุคชุมชนหาของป่า ยุคนี้จะครอบคลุมช่วงเวลา ประมาณ 500,000 ปี - 6,000 ปีล่วงมาแล้ว

2.       ยุคหมู่บ้านเกษตรกรรม เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จักการดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ สังคมยุคนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปี - 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

3.       ยุคสังคมเมือง เป็นช่วงที่ชุมชนพัฒนาเป็นสังคมเมือง มีลักษณะเป็นเมืองเล็กๆ สังคมแบบนี้จะถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ 2,500 ปีล่วงมาแล้ว


สร้างโดย: น.ส.สุภาวดี ตันติกำธน ม.4/3 เลขที่ 13
แหล่งอ้างอิง: http://gto38saebaryo62.spaces.live.com/blog/cns!DAEC34827FE3073D!438.entry

นักประวัติศาสตร์ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง สมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ *

หลักเกณฑ์การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 สมัย โดยอาศัยหลักฐาน ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่มนุษย์ยังไม่รู้จักใช้ตัวหนังสือแต่ใช้หลักฐานทางโบราณคดี และสมัยประวัติศาสตร์เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ใช้ตัวหนังสือในการบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ

ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็น 2 ยุคใหญ่

เรียกว่า “สมัยก่อนประวัติศาสตร์” มีหลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยเพื่อให้ชัดเจนและให้ง่ายแก่การทำความเข้าใจให้ตรงกัน แบ่งเป็น 2 ประเภท 1.แบ่งตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ 2.แบ่งตามลักษณะการดำรงชีวิตของผู้คน คือ ยุคหินเก่ากับยุคหินใหม่ มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์จะอาศัยอยู่ตามถ้ำหรือหรือเพิงผา

เกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์คืออะไร

สามารถแบ่งออกเป็น ๒ สมัย คือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์และ สมัยประวัติศาสตร์ ส าหรับสิ่งที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการก าหนดอายุ คือ “ตัวอักษร” ดังนั้นแล้ว ในแต่ละสังคมหรือแหล่งอารยธรรม ต่าง ๆ ในโลก จึงเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน ขึ้นอยู่กับว่า สังคมหรืออารยธรรมใดสามารถประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ได้ก่อน

เกณฑ์ใดใช้ในการแบ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์ *

หลักเกณฑ์ในการแบ่งสมัยทางประวัติศาสตร์ การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงในการศึกษาได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ โดยการแบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับสมัย ประวัติศาสตร์ ยึดถือเอาอายุของตัวอักษรที่เก่าแก่ที่สุดเป็นเกณฑ์การแบ่ง สำหรับดินแดนประเทศ ไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ ...