การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หมาย ถึง

คุณกำลังพยายามค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ บทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96? Taphoamini.com นำเสนอเนื้อหาทันทีในหัวข้อของ การเขียนบันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน ในโพสต์ด้านล่าง.

  • บทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96 | ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือที่ดีที่สุด.
  • รูปภาพธีมการเขียนบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันจัดทำโดย Taphoamini.
  • ดูเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96.
  • ผู้คนกำลังมองหาหัวข้อ บทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”true”]ดูรายละเอียดในวิดีโอด้านล่าง[/button]

รูปภาพธีมการเขียนบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันจัดทำโดย Taphoamini.

การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หมาย ถึง
บทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96

บทความเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อสังเคราะห์เครื่องมือที่ดีที่สุดที่นี่: ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้ในหัวข้อนี้ได้ที่นี่ อัพเดทข้อมูลล่าสุดที่นี่.

ดูเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96.

.

เรา หวังว่า ข้อมูล เกี่ยวกับ การเขียนบันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน ที่เรานำเสนอจะ นำมาซึ่งมูลค่ามากมาย สำหรับคุณ.

ผู้คนกำลังมองหาหัวข้อ บทที่ 5 Motion การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ หน้า 96.

การเขียนบันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

[vid_tags]

#บทท #Motion #การเขยนรายงานเพอการปฏบตงานเชงวชาชพ #หนา

3000-1102

การเขียนเชงิ วชิ าชีพ (Career-based Writing)

การเขียนเชงิ วชิ าชีพ (Career-based Writing)

จุดประสงคร์ ายวิชา
1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับหลกั การเขียนเอกสารเชงิ วชิ าชพี
2. สามารถรวบรวมขอ้ มลู เพือ่ วางแผนในการเขยี น
3. สามารถเขยี นเอกสารเชิงวชิ าชพี ประเภทตา่ ง ๆ
4. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ของการเขียนเพือ่ ส่อื สารในงานอาชีพ

สมรรถนะรายวิชา
1. เลอื กใชถ้ ้อยคาสานวน ระดบั ภาษา และเรยี บเรยี งข้อความตามหลกั การเขยี น
2. รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือวางแผนการเขียนตามหลักการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า
3. เขียนขอ้ ความตดิ ตอ่ กิจธรุ ะ และธุรกิจตามรูปแบบของเอกสารวชิ าชพี
4. เขยี นรายงานวิชาการหรือรายงานการวิจัยตามหลกั การเขยี น

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการใช้ถ้อยคาสานวน ระดับภาษา และวิธีการเรียบเรียงข้อความ การรวบรวมข้อมูล

จากสื่อประเภทต่าง ๆ เพื่อวางแผนการเขียนตามรูปแบบของเอกสารแต่ละประเภท การเขียนบทความในงานอาชีพ
การเขียนข้อความส่ือสารทางจดหมาย และบันทึกภายในหน่วยงานท้ังในราชการและธุรกิจ การเขียนโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ การเขียนเอกสารการประชุม การเขียนโครงการ การเขียนรายงานการปฏิบัติงานและการเขียนรายงาน
วิชาการหรือรายงานการวิจัย

phuntira pratoomcho

เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมนิ ผล

การวดั ผล การประเมนิ ผล

1. ใบงาน 70 คะแนน ช่วงคะแนน เกรด
2. สอบปลายภาค 30 คะแนน 80 - 100 4
รวม 100 คะแนน 75 - 79 3.5
70 – 74 3
65 – 69 2.5
60 – 64 2
ตากวา่ 60 มส.

phuntira pratoomcho

ความหมายและความสาคญั ของการเขยี น

การเขียน คือ การส่ือสารชนิดหนึ่งของมนุษย์ ท่ีต้องอาศัยความพยายาม การเขียนเป็นการแสดงความรู้
ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ เป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้ท่ีอ่าน เพ่ือให้ผู้รับสารสามารถอ่านได้เข้าใจ
ได้ทราบความรู้ ความคิด ความรู้สึก ความต้องการ แล้วสามารถนามาบอกต่อกับบุคคลอ่ืนให้ได้ความรู้
ที่ผู้รับสารได้รับ เครื่องมือในการเขียน เช่น ดินสอ ปากกา สี พู่กัน กระดาษ กระดาน ฯลฯ การเขียนจะต้อง
เขียนเป็นภาษา ซึง่ อาจเขียนเปน็ ภาษาเดียวหรอื หลายภาษาก็ได้

ปัจจบุ ันอาจใช้การพมิ พแ์ ทนการเขียนดว้ ยลายมอื

ความสาคัญของการเขียน
1. การเขยี นเปน็ การสอื่ สารอยา่ งหนึ่ง
2. การเขียนเป็นการแสดงออกซ่งึ ภมู ปิ ญั ญาของมนุษย์
3. การเขียนเปน็ เครือ่ งมือถ่ายทอดมรดกทางสติปญั ญา
4. การเขยี นเปน็ เคร่อื งมือสรา้ งความสามัคคแี ละความเจรญิ รุ่งเรือง
ในทางตรงกันขา้ มก็ใช้เปน็ เครอื่ งบ่อนทาลายไดเ้ ช่นกัน

phuntira pratoomcho

จดุ ม่งุ หมายของการเขียน

การเขียนจะบรรลุผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่นั้น สิ่งสาคัญอย่างหน่ึง คือ การเขียนต้องมีจุดมุ่งหมาย
ซ่ึงสามารถจาแนกไดด้ งั นี้

1) การเขียนเพือการเล่าเรือง > เป็นการนาเรื่องราวที่สาคัญมาถ่ายทอดเป็นข้อเขียน เช่น การเขียนเล่า
ประวตั ิ

2) การเขียนเพอื อธิบาย > เป็นการเขียนเพ่ือช้ีแจงอธิบายวิธีใช้ วิธีทา ข้ันตอนการทา เช่น อธิบายการใช้
เครือ่ งมือต่างๆ

3) การเขียนเพอื แสดงความคิดเห็น > เปน็ การเขยี นเพ่ือวเิ คราะห์ วิจารณ์ แนะนา
หรอื แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่อื งใดเร่ืองหนึง่

4) การเขียนเพือโน้มน้าวใจ > เป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดประสงค์ท่ีจะชักจงู โน้มน้าวใจให้ผู้อ่านยอมรับ
ในสิ่งที่ผู้เขียนเสนอ

5) การเขยี นเพือกจิ ธรุ ะ > เป็นการเขยี นท่ีผูเ้ ขยี นมจี ุดประสงคอ์ ย่างใดอย่างหน่ึง การเขียนชนดิ น้ี
จะมีรปู แบบการเขยี นและลักษณะการใชภ้ าษาที่แตกตา่ งกนั ไป ตามประเภทของการเขยี น

phuntira pratoomcho

มารยาทในการเขียน

1) ใช้ถอ้ ยคาสุภาพไพเราะ หลกี เล่ียงคาหยาบ ไม่ใช้อารมณ์ ความรู้สกึ ส่วนตนหรืออคติ
วิจารณผ์ ูอ้ ื่นอยา่ งปราศจากเหตผุ ล จนทาใหเ้ กิดความเดือดร้อนเสียหายและสงั คมแตกแยก

2) เขยี นขอ้ ความหรืองานเขียนทเ่ี ป็นจริง ได้ศึกษา ค้นควา้ และตรวจสอบว่าถกู ต้องแล้ว ถ้าเป็นเรื่องส่วนตัว
ต้องได้รบั อนุญาตจากเจ้าของเสยี ก่อน

3) เขยี นให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้สระ พยญั ชนะ และวรรณยุกต์ให้ถกู ตอ้ ง ใช้ถ้อยคาที่เหมาะสมกับเนื้อหา
กาลเทศะและสถานะบคุ คล

4) เขียนส่ิงท่ีมีคุณค่าอันจะก่อให้เกิดความสุขให้เกิดความสงบสุขแก่คนในสังคม และประเทศชาติ ทาให้
เกิดองค์ความรใู้ หม่ที่มตี ่อผลการพัฒนาประเทศชาติ

5) การไมค่ ดั ลอกงานเขยี นของผ้อู ื่น โดยอ้างวา่ เป็นผลงานของตนเอง เม่ือยกข้อความหรอื งานเขียน
ของผู้อื่นมาประกอบจะต้องให้เกียรติเจ้าของงาน โดยการเขยี นอา้ งอิงที่มาของเร่อื งและชื่อผูเ้ ขียนทกุ คร้ัง

phuntira pratoomcho

การเขยี นโครงการ

โครงการ หมายถึง การวางแผนล่วงหน้าท่ีจัดทาขึ้นอย่างมีระบบ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรมที่ต้องใช้
ทรัพยากรในการดาเนินงาน และคาดหวังท่ีจะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า แต่ละโครงการมีเป้าหมายเพ่ือการผลิตหรือการ
ให้บริการเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงาน การเขียนโครงการจึงเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของการวางแผนท่ีจะทาให้
องคก์ รบรรลุผลสาเร็จตามเปา้ หมาย

ลักษณะของโครงการทดี ี
1. สามารถแก้ปัญหาขององคก์ รหรือหน่วยงานนน้ั ๆ ได้
2. มีรายละเอียด วตั ถุประสงค์เป้าหมายตา่ ง ๆ ชัดเจน สามารถดาเนนิ งานได้
3. รายละเอียดของโครงการตอ่ เน่ืองสอดคล้องสมั พันธก์ ัน
4. ตอบสนองความต้องการของกลุม่ ชน สังคมและประเทศชาติ
5. ปฏบิ ตั ิแลว้ สอดคลอ้ งกับแผนงานหลักขององค์กร
6. กาหนดข้ึนอยา่ งมีข้อมลู ความจรงิ และเปน็ ข้อมูลที่ไดร้ ับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบ
7. ได้รับการสนับสนนุ จากผบู้ รหิ ารทุกด้าน โดยเฉพาะดา้ นทรพั ยากรทจี่ าเปน็
8. มีระยะเวลาในการดาเนนิ งานแนน่ อน ระบวุ นั เวลาเร่มิ ต้นและสนิ้ สดุ
9. สามารถติดตามประเมินผลได้

phuntira pratoomcho

ขนั้ ตอนการเขียนโครงการ

1. วิเคราะหป์ ญั หาหรอื ความตอ้ งการ ดาเนินการโดย

 ศกึ ษาสภาพแวดล้อมเพื่อคน้ หาปญั หา

 กาหนดสภาพแห่งการหมดปัญหา

 กาหนดแนวทางแกไ้ ข

2. เขยี นโครงการ โดยมเี ทคนิค ดังน้ี

2.1 ก่อนลงมือ ต้องตงั้ คาถามและตอบคาถาม 6 W 1 H

2.1.1 W1 = WHO หมายถึง คาถาม “ใครเปน็ ผู้ดาเนนิ โครงการ”

2.1.2 W2 = WHAT หมายถึง คาถาม “จะทาอะไรบ้าง”

2.1.3 W3 = WHEN หมายถงึ คาถาม “จะทาเม่อื ไหร่”

2.1.4 W4 = WHERE หมายถึง คาถาม “จะดาเนินโครงการท่ไี หน”

2.1.5 W5 = WHY หมายถงึ คาถาม “จะทาโครงการนีไ้ ปทาไม”

2.1.6 W6 = With หมายถงึ คาถาม “ใครเป็นผ้ไู ด้รบั ประโยชน์”

2.1.7 H1 = HOW หมายถึง คาถาม “จะดาเนินโครงการอยา่ งไร”

2.2 ศึกษาเกณฑ์การคัดเลือกโครงการ

2.3 ลงมือเขียนโครงการ โดยใช้ภาษาเขียนทีก่ ระชับ ส่ือความหมายได้ชัดเจน

phuntira pratoomcho

การเขียนโครงการตอ้ งสามารถตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1. โครงการอะไร หมายถงึ ชือ่ โครงการ
หลกั การและเหตุผล
2. ทาไมตอ้ งทาโครงการนนั้ หมายถงึ วัตถปุ ระสงค์
เป้าหมาย
3. ทาเพ่อื อะไร หมายถึง กิจกรรม
งบประมาณ
4. ทาอะไรในปริมาณเทา่ ใด หมายถงึ ระยะเวลาดาเนินการ
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
5. ทาอย่างไร ทไ่ี หน หมายถึง การประเมนิ ผล
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั
6. ใชเ้ งนิ เทา่ ไหร่ อย่างไร หมายถงึ

7. ทาเม่อื ใดและนานแคไ่ หน หมายถงึ

8. ใครทา หมายถงึ

9. บรรลวุ ตั ถุประสงค์และเปา้ หมายหรอื ไม่ หมายถึง

10. ได้อะไรเมือ่ สิน้ สุดโครงการ หมายถึง

phuntira pratoomcho

5 ทกั ษะทตี ้องมีในงานเขยี นบทความ

1. มีเอกลักษณ์ของตัวเอง บทความท่ีเขียนขึ้นมาจะมีคุณค่าและเป็นท่ีต้องการในตลาดได้น้ันเกิดจากสไตล์การเขียนของนักเขียน
เพ่ือให้แตกต่างจากบทความท่ีมีอยู่มากมายบนอินเตอร์เนท โดยนักเขียนประเภทบล๊อกเกอร์มีบุคลิกท่ีแตกต่างกันไป มีความเป็นมิตร
และจะต้องถ่ายทอดความคิดเห็นส่วนตัวเป็นหลัก นักเขียนโฆษณาจะต้องเขียนให้สั้น กระชับ ตรงประเด็น ผู้ท่ีเขียน บทความ
สาระความร้จู ะตอ้ งเขียนบรรยายปญั หาและนาเสนอทางแกไ้ ข

2. มีความเข้าใจในผู้อ่านทีเป็นกลุ่มเป้าหมาย ต้องรู้ว่าจะเขียนให้ใครอ่านแล้วสามารถคิดออกมาได้ว่าจะเขียนบทความเก่ียวกับ
เรื่องอะไร สิ่งท่ีนักเขียนบทความต้องระลึกอยู่เสมอคือ คุณเขียนบทความข้ึนมาเพื่อให้ผู้อ่านอ่าน ไม่ใช่ตัวคุณเอง คุณจึงต้องเข้า ไป
น่งั อยู่ในใจของผอู้ า่ นใหไ้ ดแ้ ล้วถ่ายทอดออกมาเป็นบทความน้ัน ๆ

3. ไม่คัดลอกงานเขียนบทความของนักเขียนคนอืน ในขณะท่ีมีคนอีกนับพันหรือหม่ืนเขียนบทความเก่ียวกับเร่ืองเดียวกันบนโลก
ออนไลน์น้ัน นักเขียนบทความที่มีความสามารถจะมีแนวทางในการนาเสนอบทความน้ัน ๆ ออกมาอย่างมีเอกลักษณ์ มีมุมมองและ
แนวคิดทโี่ ดดเดน่ จากเรื่องของคนอื่น ๆ สรา้ งความเป็นหนึ่งเดียวของบทความนนั้ ไดอ้ ย่างแนน่ อน

4. มีความรู้พื้นฐานเกียวกับการตลาดของเวปไซต์ SEO มีความเข้าใจหลักการทางานเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์หลักของบทความ
ท่ีจะเขียนขึ้นมา เร่ืองของการตลาดของเวปไซต์และ SEO น้ันมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักเขียนต้องติดตามข่าวสาร
อย่างต่อเนื่อง เพอื่ นามาปรับปรงุ การเขยี นบทความไดท้ นั สมัยและกา้ วหน้าตามเทคโนโลยีอยู่เสมอ

5. เปน็ ผู้เชียวชาญในการใช้สือสังคมออนไลน์ต่าง ๆ เช่น เฟสบุค ทวิตเตอร์ บล็อกเกอร์ และอื่น ๆ มันเป็นสิ่งสาคัญมากที่จะต้อง
สร้างผู้อ่านบทความของคุณให้ได้ จงทาให้บทความของคุณเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางด้วยการสร้างความ เคลื่อนไหว
บนส่ือสังคมออนไลน์อย่างสม่าเสมอ โดยการเผยแพร่บทความงานเขียนท่ีน่าสนใจ วิธีน้ีจะช่วยทาให้ผู้อ่านบอกต่อเกี่ยวกับบทความ
ของคณุ ให้เปน็ ทร่ี ู้จักอยา่ งกว้างขวางไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

phuntira pratoomcho

ความหมายและประเภทของรายงาน

ความหมายของรายงาน

“รายงาน” เป็นคานาม แปลว่า เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเสนอที่ประชุมครูอาจารย์หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น

เป็นคากริยา แปลว่า บอกเร่ืองราวของการงาน เช่น รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ (อาไพวรรณ ทัพเป็นไทย อ้างถึงใน พจนานุกรม

ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 , 2546: 953)

รายงาน (report) เปน็ เอกสารทางวิชาการทน่ี กั ศกึ ษารวบรวมและเรยี บเรยี งข้ึนจากการศกึ ษาค้นคว้าเร่อื งใดเรื่องหนึ่งเพื่อให้เสริม

ความรแู้ ละทกั ษะในรายวิชาที่กาลังศึกษาอยู่ (พูลสขุ เอกไทยเจรญิ , 2539 : 2)

สรุปได้ว่ารายงานเปน็ การนาเสนอเรอ่ื งราวทางวิชาการซึ่งเปน็ ผลจากการศึกษาค้นควา้ เรือ่ งใดเรื่องหนึ่งอย่างมีระบบ มีการวิเคราะห์

อย่างมีเหตุผล และอ้างอิงหลักฐานที่มาอย่างมีหลักเกณฑ์แล้วนามาเรียบเรียงอย่างมีข้ันตอน และเขียนหรือพิมพ์ให้ถูกต้องตาม

แบบแผนที่กาหนดถือว่ารายงานเป็นส่วนหน่ึงของการประเมนิ ผลการศกึ ษา

ประเภทของรายงาน

รายงานโดยทวั่ ๆ ไปแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ คอื 1. รายงานท่วั ไป 2. รายงานทางวชิ าการ ดังน้ี

1. รายงานทัวไป เปน็ รายงานทีเ่ สนอข้อเทจ็ จริงในเรือ่ งตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วกบั องคก์ ารสถาบันหรอื ข้อคดิ เห็นของบุคคล ความเคล่ือนไหว

ของเหตุการณ์ สถานการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงซ่ึงได้ดาเนินการไปแล้ว หรือกาลังดาเนินการอยู่ หรือจะดาเนินการต่อไปเพ่ือให้

ผ้เู กย่ี วขอ้ งทราบ ได้แก่

1.1 รายงานในโอกาสต่าง ๆ เช่น รายงานแสดงผลงาน เป็นรายงานซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่รายงานผลการปฏิบัติงาน

ต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงานหรือผู้สนใจทราบ ข้อเขียนที่เป็นคากล่าวรายงานในพิธีเปิด -ปิดการอบรมสัมมนา การแข่งขันกีฬา

การประกวด ฯลฯ เป็นการรายงานให้ทราบถึงความเป็นมาของงาน การดาเนินงาน ผู้ร่วมงาน กาหนดระยะเวลาของงาน และลงท้าย

ดว้ ยการเชญิ ประธานในพธิ ีกล่าวเปดิ หรือปดิ งาน phuntira pratoomcho

ประเภทของรายงาน (ตอ่ )

1.2 รายงานการประชุม เป็นคานามแปลว่า รายละเอียดหรือสาระของการประชุมท่ีจดไว้เป็นทางการ (พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 , 2546 : 953) เป็นการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่องค์ประชุมกล่าวถึงต้ังแต่เริ่มประชุม
จนสิ้นสุดการประชุม และต้องนารายงานนี้เสนอให้ที่ประชุมรับรองในการประชุมครั้งต่อไป รายงานการ ประชุม
เปน็ เอกสารทใ่ี ชอ้ า้ งอิงไดจ้ ึงตอ้ งใช้ภาษาเป็นทางการ กระชบั รัดกุม และชดั เจน

1.3 รายงานข่าว คือ การรายงานโดยใช้วิธีเขียนหรือพูด เพ่ือรายงานเร่ืองราวหรือเหตุการณท์ ี่เกิดขึ้น ผู้รายงานได้แก่
นักหนังสอื พมิ พ์ นักจดั รายการวิทยุ ผู้ประกาศข่าวทางโทรทศั น์ ฯลฯ

1.4 รายงานเหตกุ ารณ์ เป็นรายงานซ่ึงเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเป็นผู้รายงานเพื่อบอกเร่ืองราวเหตุการณ์หรือ
สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเป็นอยู่หรือเกิดขึ้นในขณะน้ันเสนอต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้เกี่ยวข้องทราบ ได้แก่ รายงานการอยู่เวร
รักษาการณ์ รายงานอุบัติเหตุรถชนกัน รายงานเกิดเหตุเพลิงไหม้ เป็นต้น ซ่ึงส่วนมากเป็นการเขียนรายงานอย่างสั้น
เปน็ การเขยี นทีเ่ นน้ ข้อเทจ็ จริง และความถกู ตอ้ งของข้อมลู ภาษาทีใ่ ชค้ วรเป็นภาษาทางการหรือถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
กะทดั รดั ชดั เจน ตรงประเดน็ และคงเสน้ คงวา

2. รายงานทางวิชาการ คือ รายงานผลของการศึกษาค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งมุ่งเสนอผลท่ีได้ตามความ
เป็นจริงซึ่งต้องทาตามข้ันตอน มีระบบ มีระเบียบแบบแผนที่เป็นสากล โดยมีหลักฐานและการอ้างอิงประกอบ แล้วเขียน
หรือพิมพ์ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่สถาบันนั้น ๆ กาหนด และถือว่ารายงานเป็นส่วนหน่ึงของการประเมินผลการเรียน
การสอนของวชิ าน้ัน ๆ ดว้ ย

phuntira pratoomcho

การเขยี นรายงานการประชมุ

การจดรายงานการประชมุ ต้องคานงึ ถึง
1. จดรายงานการประชมุ แบบสน้ั รวบรัดเกนิ ไป ทาให้อ่านไม่เข้าใจ
2. เขยี นเยน่ิ เยอ้ ใชภ้ าษาซา้ ซาก
3. จดรายงานการประชมุ ไม่ถกู ตอ้ งตามระเบยี บวาระ
4. จดรายงานการประชุมเฉพาะมตทิ ่ีประชุม
5. ใชภ้ าษาจดรายงานการประชมุ ทไี่ ม่เหมาะสม

การจดรายงานการประชุม อาจทาได้ 3 วิธี
1. จดละเอียดทุกคาพดู ของกรรมการ หรอื ผู้เขา้ ร่วมประชมุ ทกุ คนพร้อมดว้ ยมติ
2. จดย่อคาพูดท่เี ป็นประเด็นสาคัญของคณะกรรมการหรือผู้เขา้ รว่ มประชุม อันเป็นเหตผุ ล
นาไปส่มู ตขิ องที่ประชมุ พรอ้ มดว้ ยมติ โดยระบชุ อ่ื และตาแหน่งของผพู้ ูด
3. จดแตเ่ หตุผลกับมติท่ปี ระชมุ
การจดรายงานการประชมุ โดยวธิ ีใดน้นั ให้ท่ปี ระชุมนัน้ เองเปน็ ผูก้ าหนด หรือใหป้ ระธานและ

เลขานกุ ารของทป่ี ระชุมปรกึ ษาหารอื กนั และกาหนด
phuntira pratoomcho

รปู แบบรายงานและระเบยี บวาระการประชมุ

ตวั อยา่ งการเขยี นรายงานการประชุม

องค์ประกอบของการประชุม

ยอมรับ คน 2 คน พูดจา
ความ ข้ึนไป สงั สรรค์
คดิ เห็น
ของกล่มุ การประชมุ

มีระเบยี บ มีความ
แบบแผน ม่งุ หมาย

phuntira pratoomcho

การประชมุ ทีมปี ระสทิ ธภิ าพ

บรรลุ นาไปปฏบิ ตั ิ ผู้เข้าประชุม ประหยดั และ
วตั ถปุ ระสงค์ ให้เกดิ ผลได้ สว่ นใหญ่ เหมาะสมกบั
ประสงค์ การประชุม
ของ มคี วาม

การประชุม พึงพอใจ

phuntira pratoomcho

ข้ันตอนของกระบวนการประชุม

เตรียมการ นัดผ้เู ข้าร่วม ดาเนินการ ผลการประชุม
ประชมุ ประชมุ ประชุม
phuntira pratoomcho
- รายงานการประชมุ คร้งั ก่อน
- ระเบยี บวาระการประชุม
- กาหนดวนั เวลา
- เตรยี มสถานที อุปกรณ์

ปอ้ นกลบั

นาผลการประชุม
ไปปฏิบัติ

ประเภทของรายงานวชิ าการ

รายงานวิชาการแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี
1. รายงานการคน้ ควา้ ทัวไป แบ่งไดเ้ ป็น
1.1 รายงาน (Report) เป็นผลการศึกษาค้นคว้าในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งโดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือประกอบการเรียนในรายวิชา

(ในรายวิชาหนึ่งอาจมีรายงานได้หลายเรื่อง) รายงานในวิชาใดจะมีเนื้อหาอยู่ในขอบข่ายวิชานั้น โดยอาจใช้วิธีการศึกษาค้นคว้า
วิธีใดวิธีหน่ึงหรือหลายวิธีประกอบกัน เช่น การศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร การสังเกต การทดลอง เป็นต้น ในแง่การจัดทาอาจเป็น
รายงานเด่ียวหรือรายงานกลุ่มสาหรับความยาวของรายงานและกาหนดเวลาทาจะแตกต่างกันไปข้ึนอยู่กับขอบเขตของหัวข้อรายงาน
และการตกลงกันระหว่างผสู้ อนและผ้เู รยี น โดยทวั่ ไปใช้เวลาน้อยกว่า 1 ภาคเรยี น

1.2 ภาคนิพนธ์ หรอื รายงานประจาภาค (Term paper) มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงานเพียงแต่เร่ืองที่ใช้ทาภาคนิพนธ์จะมี
ขอบเขตกว้างและลึกซึ้งกว่า ใช้เวลาค้นคว้ามากกว่าความยาวของเนื้อหามากกว่า ดังนั้นผู้เรียนจึงมักจะได้รับมอบหมายให้ทา เพียง
เร่ืองเดียวในแตล่ ะรายวิชาตอ่ ภาคการศึกษา

2. รายงานการค้นควา้ วิจยั แบ่งได้เปน็
2.1 รายงานการวิจัย (Research Report) เป็นการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าและวิจัยในเรื่องหรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการ

คาตอบหรอื ความรเู้ พิ่มเตมิ ต้องมีความรใู้ หมท่ ี่ยงั ไมเ่ คยมกี ารศึกษาวิจยั มากอ่ น มวี ิธีดาเนินการอย่างมีระเบียบ มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
เพอ่ื ให้ไดม้ าซึ่งความจรงิ หรือหลกั การบางอย่าง

2.2 วิทยานพิ นธ์ หรือ ปริญญานิพนธ์ (Thesis or Dissertation) มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงานการวิจัยและถือเป็นส่วนหน่ึง
ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เรียกว่า วิทยานิพนธ์ (Thesis) และปริญญาดุษฎีบัณฑิต เรียกว่า ปริญญานิพนธ์หรือ
ดุษฎนี พิ นธ์ หรอื สารนพิ นธ์ (Dissertation) เป็นเรอ่ื งทาเฉพาะบคุ คลกาหนดเวลาทาไม่เกินระยะเวลาเรยี นของหลักสตู รนั้น

phuntira pratoomcho

การใช้ภาษาในการเขยี นรายงาน

1. ควรใช้ภาษาหรอื สานวนโวหารเปน็ ของตนเองทเี ขา้ ใจงา่ ยและถกู ต้อง
2. ใชป้ ระโยคสัน้ ๆ ให้ไดใ้ จความชดั เจน สมบูรณ์ ตรงไปตรงมาไมว่ กวน
3. ใช้ภาษาทีเป็นทางการไม่ใช้ภาษาพูด คาผวน คาแสลง อักษรยอ่ คาย่อ
4. ใช้คาทีมีความหมายชัดเจน ละเวน้ การใชภ้ าษาฟมุ่ เฟือย การเลน่ สานวน
5. ระมดั ระวังในเรอื งการสะกดคา การแบ่งวรรคตอน
6. ระมัดระวงั การแยกคาด้วยเหตุทีเน้อื ทีในบรรทัดไม่พอหรอื หมดเน้ือทีในหนา้ น้ันเสยี กอ่ น
เช่น ไมแ่ ยกคาวา่ “ละเอียด” ออกเป็น “ละ” ในบรรทัดหนึงสว่ น “ละเอยี ด” อยู่อีกบรรทดั
ตอ่ ไปหรอื หนา้ ตอ่ ไป
7. ใหเ้ ขียนเปน็ ภาษาไทยไมต่ อ้ งมคี าภาษาอังกฤษกากับ ถา้ เป็นคาใหม่หรือศพั ท์วชิ าการ
ในการเขยี นครง้ั แรกใหก้ ากับภาษาอังกฤษไวใ้ นวงเลบ็ คร้ังต่อ ๆ ไปไม่ต้องกากับ
ภาษาองั กฤษ

phuntira pratoomcho

การเขียนรายงานทางวิชาการ

ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการหรือรายงานการวิจัย มสี ว่ นประกอบ 3 สว่ น คือ ส่วนประกอบตอนต้น ตอนกลาง และท้าย ดงั นี้
1. ส่วนประกอบตอนต้น ประกอบดว้ ย
1.1 หนา้ ปก (ปกนอก)
1.2 หนา้ ช่ือเรือ่ ง (ปกใน)
1.3 คานา (กิตติกรรมประกาศ)
1.4 สารบญั เนอ้ื เรอื่ ง
1.5 สารบัญตาราง
1.6 สารบัญภาพประกอบ
2. สว่ นประกอบตอนกลาง (เนื้อเรือง) เป็นส่วนสาคญั ท่สี ดุ ของรายงาน มโี ครงสรา้ งมาตรฐาน 5 บท ประกอบด้วย
2.1 บทท่ี 1 บทนา
2.2 บทที่ 2 เอกสารและรายงานการศึกษาที่เกี่ยวข้อง
2.3 บทที่ 3 วิธดี าเนินการศึกษา
2.4 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา
2.5 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
3. สว่ นประกอบท้าย ประกอบด้วย บรรณานกุ รม ภาคผนวก

phuntira pratoomcho

การเขยี นจดหมายธุรกจิ ทคี วรคานงึ ถงึ

การเขยี นจดหมายธุรกิจ แบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี
กอ่ นการเขยี น กอ่ นการเขียนจดหมายธุรกิจผ้เู ขยี นตอ้ งคานงึ ถงึ เร่ืองตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั ผรู้ บั จดหมาย
1.เขียนถึงใคร เพ่ือจะเลือกใช้คาขนึ้ ตน้ คาลงท้าย ตลอดจนถ้อยคาสานวนให้เหมาะสมกบั ผู้รับจดหมาย
2.เขียนเร่ืองใดบ้าง เพื่อจะได้สื่อสารกันให้ตรงประเด็น และได้สาระครบถ้วนตามต้องการในส่วนนี้ผู้เขียนต้องคิดให้รอบคอบและ

แน่นอนก่อนว่าจะเขียนเรื่องใดบ้าง และต้องหาข้อมูลให้ถูกต้องชัดเจนหากเป็นจานวน วัน เวลา สถานที่ และเง่ือนไขต่าง ๆ
ควรตรวจสอบให้แนช่ ดั เพอ่ื ปอ้ งกนั การคลาดเคล่ือนทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ภายหลัง

3.เขียนทาไม เพือ่ จะได้ระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ลงไปใหช้ ัดเจน แนน่ อน เช่น เพ่ือขอความรว่ มมือ เพื่อแจ้งใหท้ ราบ เพอื่ ใหพ้ จิ ารณา เป็นตน้
4.เขยี นอยา่ งไร เพื่อจะไดก้ าหนดรปู แบบของจดหมายเสยี กอ่ นวา่ ควรใชล้ กั ษณะ อย่างไร ควรมีเน้อื ความก่ตี อน
ขณะทเี ขยี น ขณะที่เขียนจดหมายธุรกจิ ผู้เขยี นควรคานงึ ถึงเรอ่ื งต่าง ๆ คอื
1.ลาดับใจความของจดหมายให้เป็นเหตุเป็นผล คือ ต้องกล่าวถึงสาเหตุให้ชัดเจนก่อนว่าใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือใดแล้วจึง
แจ้งวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้ผู้รบั จดหมายทราบวา่ ต้องการอะไร จากน้ันจงึ เปน็ ขอ้ ความปดิ ทา้ ยที่เหมาะสม กอ่ ให้เกิดความรู้สึกประทบั ใจ
2.รักษารปู แบบให้ถกู ต้อง กล่าวคอื ระมดั ระวังในเร่ืองการจดั ระยะ การแบ่งยอ่ หนา้ การเวน้ ระยะบรรทดั การเวน้ ก้นั หน้า – ก้นั หลัง
3.ใชภ้ าษาให้ถูกต้องสละสลวย คอื การเลือกสรรถ้อยคาให้ตรงตามความหมายทต่ี อ้ งการสะกดคาไดถ้ ูกต้องตามอักขระวิธี ใช้ถ้อยคา
สานวนให้เหมาะสมแก่สถานภาพของผู้รับจดหมาย สร้างใจความท่ีก่อให้เกิดผลการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ และเกิดความรู้สึกในแง่ดี
4.สะอาด เปน็ ระเบยี บ จดหมายท่ีก่อใหเ้ กดิ ความประทบั ใจไมค่ วรมีรอยขดู ลบขีดฆา่ เพราะเป็นการแสดงให้เห็นถงึ ความสะเพรา่
หลังการเขียน ภายหลังการเขียนจดหมายเสร็จแล้วผู้เขียนควรตรวจทานจดหมายท่ีเขียนเสร็จแล้วนั้นซ้าอีกครั้งหนึ่งว่าไม่มี
ข้อบกพร่องใด ๆ หลงเหลอื อย่ทู ้ังน้ีเพ่อื การตอบสนองทน่ี ่าพอใจในการติดตอ่ ธุรกจิ ซ่งึ กันและกนั

phuntira pratoomcho

ความหมายและจดุ ประสงค์ของการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์

ความหมาย
การโฆษณา :เผยแพร่ไปยังสาธารณชน ป่าวร้อง ป่าวประกาศ เช่น โฆษณาสินค้า บริการ หรือกระทาการ

ใด ๆ ใหป้ ระชาชนเห็นหรอื ทราบข้อความ
การโฆษณา (Advertising)
หมายถึง : การเผยแพร่หรือกระทาการโดยวิธีใด ๆ เพ่ือนาสินค้าและบริการโดยมีจดุ มุ่งหมายหลักเพอ่ื จูงใจ

ใหล้ กู คา้ สนใจซื้อสนิ ค้าและบริการนั้น ๆ ปัจจุบันมีหลายช่องทาง เช่น ทางวิทยุ โทรทัศน์ แผ่นป้าย อินเตอร์เน็ต
ฯลฯ การประชาสัมพนั ธ์ (Public Relation)

หมายถึง : การติดต่อสื่อสารเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเข้าใจอันถกู ต้องต่อกัน

จุดประสงค์

1. เพ่ือให้ประชาชนรูจ้ กั สนิ คา้ หรือบริการนัน้ ๆ

2. เพอื่ ใหป้ ระชาชนสนใจสนิ คา้ หรอื บริการนั้น ๆ

3. เพื่อเผยแพร่ความรู้ และข่าวสารของหน่วยงานให้บุคคลทั่วไปได้ทราบเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ ดี

กบั กล่มุ เป้าหมาย

4. เพอ่ื ลดปญั หาความขัดแย้งและเข้าใจผิด

5. เพอ่ื สร้างภาพลกั ษณ์ท่ดี ี phuntira pratoomcho

หลักการเขยี นโฆษณาประชาสมั พนั ธ์

1. เขียนตามความเปน็ จริง phuntira pratoomcho
2. ไมใ่ ชถ้ ้อยคาเสยี ดสี โจมตี หรอื ทบั ถมค่แู ขง่ ทางการ
3. ใชภ้ าษาเหมาะสมและสุภาพ
4. ใชส้ ่วนประกอบอนื ๆ ให้เหมาะสม

phuntira pratoomcho