ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาการบัญชี ภาษาอังกฤษ

Show

รายละเอียดหลักสูตร

ชื่อไทย : หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
ชื่ออังกฤษ : Bachelor of Accountancy Program 
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : บช.บ.(การบัญชี)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Acc.

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

(1) สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ
(2) สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า หรือ
(3) สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาการบัญชี เข้าศึกษาโดยวิธีเทียบโอนผลการเรียนตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ค่าใช้จ่ายต่อภาคการศึกษา

  • หลักสูตร 4 ปี และ หลักสูตรเทียบโอน ปกติ 13,820 บาท

รูปแบบของหลักสูตร

      • หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี (ภาคปกติ)

    เรียนวันจันทร์ – ศุกร์ (ในเวลาราชการ)

      • หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทียบโอน(ภาคปกติ)

    เรียนวันจันทร์ – ศุกร์ (ในเวลาราชการ)

แนวทางการประกอบอาชีพ

– ผู้ทำบัญชี– ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต– ผู้สอบบัญชีภาษีอากร– ผู้ตรวจสอบภายใน– ผู้ประกอบการ– นักบัญชีบริหาร

– นักบัญชีภาษีอากร– นักวางระบบบัญชี– นักวิชาการตรวจสอบภาษีอากร– นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดิน– นักวิชาการเงินและบัญชี– ที่ปรึกษาทางการเงินและบัญชี– งานด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต Bachelor of Accountancy Program


ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Accountancy Program


ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย) : บัญชีบัณฑิต
ชื่อย่อ (ไทย) : บช.บ.
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Accountancy
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Acc.


อาชีพที่สามารถประกอบได้เมื่อสำเร็จการศึกษา

1. ด้านการทำบัญชี
2. ด้านการสอบบัญชี
3. ด้านบัญชีบริหาร
4. ด้านการภาษีอากร
5. ด้านการวางระบบบัญชี
6. ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีทางการบัญชี
7. ด้านการตรวจสอบภายใน
8. ด้านการให้คำปรึกษาทางการเงินและบัญชี
9. ด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง


จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 140 หน่วยกิต


วัน – เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน

วัน-เวลาราชการปกติ เรียนวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น.
วัน-เวลานอกราชการ เรียนวันเสาร์ถึงวันอาทิตย์ เวลา 08.00-17.00 น.


คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

1. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของกระทรวงศึกษาธิการหรือเทียบเท่า
2. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จากสถาบันที่กระทรวงศึกษาธิการและ ก.พ. ให้การรองรับ
3. มีสุขภาพแข็งแรงไม่เป็นผู้ที่มีโรคติดต่อร้ายแรง ไม่เป็นโรคเรื้อน วัณโรค โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคติดยาเสพติด
และแพทย์มีความเห็นว่ามีสุขภาพเหมาะสมที่จะเข้าศึกษาได้ 4. มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่บกพร่องในศีลธรรมอันดี และพร้อมที่จะปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัยของมหาวิทยาลัย
5. มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย

Post Views: 65

สาขาวิชาการบัญชี

          สาขาวิชาการบัญชี เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เพื่อผลิตผู้ที่มีความรู้ด้านบัญชีให้สามารถคิดวิเคราะห์รายการบัญชี เชี่ยวชาญสารสนเทศ ทางบัญชี มีคุณธรรม จริยธรรม และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับความต้องการบุคลากรด้านบัญชี ทั้งในหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน รวมถึงนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้เพื่อเป็นผู้ประกอบการเองได้

1. ชื่อหลักสูตร

                ชื่อภาษาไทย         :  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการบัญชี
             ชื่อภาษาอังกฤษ      : Diploma in Accounting

2. ชื่อปริญญา

                ชื่อเต็มภาษาไทย         :  ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (การบัญชี)
                ชื่อย่อภาษาไทย          :  ปวส. (การบัญชี)
                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ     :  Diploma in Accounting
                ชื่อย่อภาษาไทย          :  Dip. in Accounting

3. จำนวนหน่วยกิจที่เรียนตลอดหลักสูตร

                จำนวนหน่วยกิจรวมตลอดหลักสูตร     85 หน่วยกิต

4. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • นักบัญชีหน่วยงานเอกชน
  • นักบัญชีราชการ
  • งานการบัญชีสาธารณะหรือว่างานบัญชีส่วนบุคคล
  • รับทำบัญชี
  • รับตรวจสอบบัญชี
  • รับวางระบบบัญชี
  • รับเขียนโปรแกรมบัญชี
  • ที่ปรึกษาภาษีอากร
  • เป็นวิทยากร / ผู้สอน วิชาบัญชี – ภาษีอากร
  • สถาบันอบรมบัญชี-ภาษีอากร
  • ผลิต/จำหน่ายโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป

5. ปรัชญาและความสำคัญ

                 ผลิตผู้ที่มีความรู้ด้านบัญชีให้สามารถคิดวิเคราะห์รายการบัญชี เชี่ยวชาญสารสนเทศ ทางบัญชี มีคุณธรรม จริยธรรม และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

6. วัตถุประสงค์

  • เพื่อผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่มีคุณสมบัติ
    • มีความสามารถทางวิชาการบัญชีแบบครบวงจร ตามมาตรฐานการบัญชี และหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
    • สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรวบรวมข้อมูลทางด้านบัญชีเพื่อการรายงาน
    • ปลูกฝังให้มีความคิดริเริ่ม มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ แก้ปัญหาและตัดสินใจด้วยหลักการและเหตุผล และสามารถประกอบอาชีพอิสระได้
    • ผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนดำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดีภายใต้จิตสำนึกที่รับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม

7. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • แผน ก สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในประเภทวิชา พาณิชยกรรมสาขาวิชาการบัญชี หรือสาขาวิชาพณิชยการสาขางานการบัญชี หรือเทียบเท่า
  • แผน ข สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาอื่นๆ

8. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

  • ให้เป็นไปตามระเบียบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย หรือการคัดเลือกตามวิธีการอื่นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยกำหนด

9. ค่าใช้จ่ายในการศึกษา

              แผน ก ค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย ภาคการศึกษาละ 8,000 บาท รวมตลอดหลักสูตร 36,000 บาท

แผน ข ค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย ภาคการศึกษาละ 8,000 บาท รวมตลอดหลักสูตร 40,000 บาท

10. ระยะเวลาการศึกษา

              ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ปีการศึกษา และใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 4 ปีการศึกษา

เล่มหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการบัญชี 

เข้าสู้เว็บไซต์ สาขาวิชาการบัญชี

สมัครเรียนคลิ๊ก