การให้ความรู้เกี่ยวกับสินค้า

 ความรู้เกี่ยวกับสินค้า (product knowledge) ผลิตภัณฑ์ (product) คือวัตถุดิบ (raw material) ที่ได้จากธรรมชาติ จากพืชและสัตว์ อาทิ ผักใบเขียว ผลไม้ เนื้อสัตว์ทุกประเภท เช่น เนื้อหมู ไก่ ปลา และเมื่อได้วัตถุดิบมาแล้วจะนำมาผ่านกรรมวิธีการผลิตด้วยมือ (hand made) หรือเครื่องจักรจึงจะออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งเราเรียกผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกรรมวิธีและพร้อมที่จะขายต่อไปว่าสินค้า ซึ่งสินค้าจะมีการจำหน่ายจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคต่อไป โดยจะใช้วิธีการจำหน่ายในรูปแบบต่าง ๆ แต่ก่อนที่จะนำสินค้าไปจำหน่ายพนักงานขายต้องรู้จักสินค้าที่ตนเองจะขาย เนื่องจาพนักงานขายเป็นตัวแทนของผู้ผลิต ดังนั้น พนักงานขายจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต้องทำหน้าที่ในการให้รายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าแก่ผู้ซื้อ นอกจากนี้แล้วพนักงานขายต้องสามารถบอกจุดดีจุดด้อยของสินค้าได้ ทั้งสภาพที่ซ่อนเร้นของสินค้า ตลอดจนวิธีการผลิตสินค้า วิธีใช้ เพื่อให้ผู้ซื้อเกิดความเข้าใจในสินค้าและตัดสินใจซื้อสินค้าในต่อมา ดังนั้นพนักงานขายจึงควรมีความรู้เกี่ยวกับสินค้า เพื่อให้พนักงานขายเองปฏิบัติงานขายอย่างได้ผล ทราบข้อเท็จจริงของสินค้า จนสามารถบอกลูกค้าถึงประโยชน์ต่าง ๆ ที่ได้รับจากการซื้อสินค้า อีกทั้งช่วยในการตอบคำถามของผู้ซื้อ เพื่อสร้างความมั่นใจในการขายแก่ตัวพนักงานขายเอง ดังนั้นสิ่งที่พนักงานขายควรรู้เกี่ยวกับสินค้ามีดังต่อไปนี้ คือสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
            2) สินค้าที่มีการเปรียบเทียบ (shopping goods) เป็นสินค้าที่มีราคาแพงแต่มีความคงทนถาวร ไม่จำเป็นต้องมีการซื้อบ่อยครั้ง โดยผู้ซื้อก่อนซื้อสินค้าประเภทนี้มักจะทำการเปรียบเทียบสินค้าหลาย ๆ ยี่ห้อหลาย ๆ ร้านตลอดจนคุณลักษณะของสินค้าแต่ละยี่ห้อ รวมถึงความเหมาะสมก่อนตัดสินใจซื้อสินค้า สินค้าประเภทนี้มักเป็นสินค้าที่สามารถอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ซื้อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า ตู้เย็น เป็นต้น
            3) สินค้าที่เจาะจงซื้อ (specilty goods) คือสินค้าที่ผู้ซื้อมีความพอใจในสินค้าเป็นพิเศษ เวลาซื้อจะระบุยี่ห้อของสินค้า มีความศรัทธาในตรายี่ห้อ (brand loyalty) สูง โดยไม่ยอมรับในสินค้ายี่ห้ออื่น ๆ มาใช้ทดแทน และใช้สินค้ายี่ห้อนั้นเพียงยี่ห้อเดียว
            4) สินค้าไม่เสาะแสวงซื้อ (unsough goods) คือสินค้าที่ผู้ซื้อไม่มีความต้องการซื้อ อาจเนื่องจากไม่เห็นความจำเป็นในการซื้อหรือไม่ทราบว่ามีสินค้าชนิดนั้น หรือไม่ทราบว่าตนมีความต้องการ หรือราคาแพง หรือทั้งหมดที่กล่าวมา จึงทำให้สินค้าประเภทนี้ขายสินค้าได้ยาก บางครั้งสินค้าประเภทนี้อาจเป็นสินค้าใหม่ที่เพิ่งมีการวางตลาด ดังนั้นในการขายสินค้าประเภทนี้ผู้ขายจำเป็นต้องมีกลวิธีในการส่งเสริมการขาย โดยโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เพื่อผู้ซื้อรู้จักสินค้า ทั้งหาช่องทางที่จะวางขายในตลาดอย่างทั่วถึง ประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของสินค้าที่มีต่อผู้ซื้อ ตลอดจนเข้าถึงตัวผู้บริโภคอาจใช้วิธีการสาธิต สำหรับสินค้าประเภทนี้ได้แก่ สารานุกรม การประกันภัยประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
        2. สินค้าอุตสาหกรรม (industrial goods) คือ สินค้าที่หน่วยธุรกิจซื้อใช้เพื่อทำการผลิตสินค้า แบ่งได้ 3 กลุ่มใหญ่
             1) วัตถุดิบและชิ้นส่วน (material and part) เป็นสินค้าที่ใช้ในการผลิต โดยจะนำไปผ่านกระบวนการผลิต เพื่อผลิตออกมาเป็นสินค้าประเภทอื่น ซึ่งอาจจะนำไปแปรรูป หรือคงรูปเดิมไว้เหมือนเดินก็ได้
             2) สินค้าทุน (capital goods) คือ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ช่วยในการผลิตเป็นถาวรวัตถุที่มีการติดตั้ง เช่น เครื่องจักรในกระบวนการผลิต อุปกรณ์สำนักงาน เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน
             3) วัสดุใช้สอยและบริการ (supplies and service) คือ สินค้าที่มิได้นำไปใช้ในการผลิตโดยตรง แต่ช่วยให้เกิดความสะดวกในการผลิต หรือทางธุรกิจ เช่น วัสดุสำนักงาน วัสดุในการบำรุงรักษาซ่อมแซม แรงงานในการผลิต เป็นต้น
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
0
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
1
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
2
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
3
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
4
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
5
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
6
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
7
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
8
        1. สินค้าผู้บริโภค (consumer goods) หรือสินค้าสำหรับอุปโภคบริโภค (consumption goods) คือ สินค้าที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่ออุปโภคบริโภคเอง อาจเป็นสินค้าที่เกี่ยวกับของใช้ภายในบ้าน หรือสินค้าอุตสาหกรรม สำหรับสินค้าผู้บริโภค สามารถแบ่งออกได้อีก 4 ชนิด
9
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
0
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
1
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
2
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
3
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
4
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
5
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
6
             1) สินค้าสะดวกซื้อ (convenience good) คือ สินค้าที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีการซื้อบ่อยครั้งหาซื้อได้ตามร้านค้าปลีก ร้านขายของเบ็ดเตล็ดที่อยู่ใกล้บ้าน โดยผู้ซื้อมักเจาะจงยี่ห้อที่ใช้อยู่เป็นประจำ แต่ก็อาจเปลี่ยนยี่ห้อได้ หากไม่มียี่ห้อที่ผู้ซื้อสินค้าต้องการ สินค้าสะดวกซื้อ ได้แก่ แป้ง สบู่ ยาสีฟัน กระดาษชำระ หนังสือพิมพ์ ไม้ขีดไฟ เป็นต้น
7