หนังสือการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 30000-1608

แผนการจัดการเรยี นรู้

มุ่งเนน้ ฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา พลศึกษาเพอ่ื งานอาชพี รหสั วิชา 3000-1608 ท.ป.น. (0-2-1)

หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้ันสงู พทุ ธศักราช 2560

จดั ทำโดย

นายอภสิ ิทธิ์ จิตเที่ยง
ครชู ำนาญการ

วทิ ยาลยั เทคนิคร้อยเอด็ อาชีวศกึ ษาจังหวดั ร้อยเอด็
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้

ชื่อวชิ า พลศึกษาเพือ่ งานอาชพี รหสั วชิ า 3000-1608 ท.ป.น. 0-2-1

 ควรอนุญาตใหใ้ ช้การสอนได้
 ควรปรับปรุงเก่ยี วกบั ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ลงช่อื .....................................................
( นางสาวพนติ พร กลางประพนั ธ์)
หัวหนา้ แผนกวชิ า
............../......................../....................

 เหน็ ควรอนญุ าตใหใ้ ช้การสอนได้
 ควรปรบั ปรงุ ดังเสนอ
 อนื่ ๆ ..........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................
(นายจำเนยี ร สมุ าริธรรม)
รองผ้อู ำนวยการฝ่ายวิชาการ

............../......................../....................

 อนญุ าตให้ใชก้ ารสอนได้
 อ่ืน ๆ ..........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .....................................................
(นายสิระพงศ์ ชูวงศเ์ ลิศ)

ผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลยั เทคนิคร้อยเอ็ด
............../......................../....................

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา พลศึกษาเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 3000-1608 เล่มนี้ จัดทำข้ึนเพ่ือใช้

ประกอบการเรียนรู้การสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ของสำนักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

เนื้อหาของแผนการจัดการเรียนรู้ มีดว้ ยกันทง้ั หมด 6 หน่วยการเรียน ประกอบด้วย

หนว่ ยที่ 1 หลักการและทฤษฎที างพลศึกษา 2 สปั ดาห์

หน่วยท่ี 2 สมรรถภาพทางกาย 2 สัปดาห์

หน่วยท่ี 3 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2 สัปดาห์

หนว่ ยที่ 4 การจดั ทำโครงการกีฬาเพอ่ื งานอาชีพ 2 สัปดาห์

หน่วยท่ี 5 วิธกี ารจดั การแขง่ ขันกฬี า 2 สปั ดาห์

หนว่ ยท่ี 6 การจัดการแข่งขันกฬี าสากล 8 สัปดาห์

พร้อมท้ังกจิ กรรม แบบฝึก และแบบทดสอบกอ่ น-หลังเรยี น เพื่อเสรมิ ทักษะความเขา้ ใจแกผ่ ู้เรยี น

หวังเปน็ อย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้วิชาพลศึกษาเพื่องานอาชพี เล่มน้ี จะสามารถให้ความร้แู ละ

เกดิ ประโยชน์แก่ผสู้ อน ผเู้ รยี น ตลอดจน ผู้สนใจศึกษาทั่วไปเป็นอยา่ งดี ขอขอบคุณ ทุกท่านท่เี ก่ยี วข้องท่ีทำให้

แผนการจัดการเรียนรู้สำเรจ็ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี

นายอภิสิทธ์ิ จิตเที่ยง
ผจู้ ัดทำ

สารบัญ หนา้

หลักสตู รรายวิชา.................................................................................................................. ข
หน่วยการเรียนรู้..................................................................................................................
โครงการจดั การเรียนรู้......................................................................................................... ค-ง
สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ........................................................................... จ-ญ
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวชิ า.........................................................................................
หน่วยท่ี 1 หลักการและทฤษฎที างพลศกึ ษา ฎ

1.1 ความหมายของหลกั การและทฤษฎีทางพลศึกษา............................................
1.2 ความสำคัญของหลกั การและทฤษฎีทางพลศึกษา............................................
1.3 ประเภทของหลกั การและทฤษฎีทางพลศกึ ษา……...........................................
หน่วยที่ 2 สมรรถภาพทางกาย
2.1 ความหมายของสมรรถภาพทางกาย................................................................
2.2 ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย...............................................................
2.3 ประเภทของสมรรถภาพทางกาย.....................................................................
2.4 ประโยชน์ของการมสี มรรถภาพทางกาย.........................................................
2.5 ประเภทของการออกกำลงั กาย........................................................................
2.6 ลักษณะของผู้มีสมรรถภาพทางกายทีด่ ี...........................................................
หน่วยที่ 3 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
3.1 ความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย.............................................
3.2 ความสำคญั ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย.............................................
3.3 ประโยชนข์ องการทดสอบสมรรถภาพทางกาย...............................................
3.4 ขอบขา่ ยของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย..................................................
3.5 แบบทดสอบการทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐานนานาชาติ (ICSPFT).
หน่วยท่ี 4 การจัดทำโครงการกีฬาเพอ่ื งานอาชพี
4.1 หลักการเขียนโครงการ...................................................................................
4.2 ประเภทของโครงการ.....................................................................................
หนว่ ยที่ 5 วิธกี ารจัดการแขง่ ขันกีฬา
5.1 หลักการและวิธกี ารจดั การแข่งขนั กีฬา............................................................
5.2 การจดั การแข่งขันแบบพบกันหมด..................................................................
5.3 การจดั การแข่งขนั แบบแพค้ ัดออก...................................................................
5.4 การจดั การแขง่ ขนั แบบผสมผสาน..................................................................
หน่วยที่ 6 การจดั การแข่งขันกีฬาสากล
6.1 ความหมายและความสำคญั การจดั การแขง่ ขนั ..................................................
6.2 ขัน้ ตอนการจัดการแข่งขันกฬี า..........................................................................
6.3 การจดั การแข่งขันกฬี าสากล..............................................................................
6.4 รปู เลม่ นำเสนอการจดั การแขง่ ขัน......................................................................
บรรณานุกรม...........................................................................................................................

หลักสูตรรายวิชา

ช่ือวิชา พลศกึ ษาเพ่ืองานอาชีพ รหัสวิชา 3000-1608
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สัปดาห์ ระดับชัน้ ปวส.

จดุ ประสงค์รายวิชา

1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั พนื้ ฐานเรือ่ งความสมบูรณ์ทางกาย
2. มที กั ษะในการเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายของตนเองและผู้อน่ื
3. ใชก้ ิจกรรมทางพลศึกษาในการจัดทำโครงการเพื่อพฒั นาสขุ ภาพ
4. มีทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหาสถานการณเ์ ฉพาะหนา้
5. มีจติ สาธารณะ คณุ ธรรม จริยธรรม เหมาะสมกับการปฏบิ ัติงานอาชพี

สมรรถนะรายวิชา

1. เล่นกีฬาเพื่อออกกำลงั กายอยา่ งสม่ำเสมอตามหลักการทางพลศึกษา
2. พัฒนาสมรรถภาพทางกายใหส้ ามารถปฏิบัติงานได้ตามลกั ษณะงาน
3. เปน็ ผนู้ ำและมสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรมเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย
4. ปฏิบตั ิงานโดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภัย

คำอธบิ ายรายวิชา

ปฏิบตั เิ กีย่ วกับกิจกรรมทางพลศึกษาหรือเลน่ กีฬา โดยใชห้ ลักการทางพลศกึ ษาเพ่ือ
ส่งเสริมสุขภาพวางแผนแก้ปัญหาด้านสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของตนเองและผู้อ่ืน ส่งเสริม
บคุ ลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์ ภาวะผูน้ ำ และการมนี ้ำใจนักกฬี าใหเ้ หมาะสม ปลอดภัยต่อการทำงานและ
การดำรงชีวติ

หน่วยการเรยี นรู้

ช่ือวชิ า พลศึกษาเพอื่ งานอาชีพ รหัสวิชา 3000-1608
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น ปวส.

หน่วย ช่ือหนว่ ย จำนวน ท่ีมา
ท่ี
คาบ A B C D E F G H I J K L M N O P Q R

1 หลักการและทฤษฎีทางพลศึกษา 4 / / / /

2 สมรรถภาพทางกาย 2/ / / / //

3 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 4 / / //

4 การจัดทำโครงการกีฬาทางพล 4 / / /

ศกึ ษาเพ่อื งานอาชพี

5 วิธกี ารจดั การแขง่ ขนั กฬี า 6/ / //

6 การจดั การแขง่ ขนั กีฬาสากล 16 / / / / / /

รวม 36

หมายเหตุ A = หลักสตู รรายวิชา B = การฝกึ สมรรถภาพทางกาย

C = รวมกฎ กติกา และพนื้ ฐานการเล่นกีฬา D = พลศึกษาเพื่อพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ

E = การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ปฏบิ ัติตนด้านสขุ ภาพ F = สวสั ดิภาพในการเล่นกฬี า

G = กติกาการแขง่ ขันฟุตบอล 5 คน H = การจดั ระดบั คะแนนเป็นตัวอักษร

I = การทดสอบ และ วดั ผลทางพลศึกษา J = การพฒั นาบคุ ลิกภาพ (Personality development)

K = สขุ ภาพตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง L = การทดสอบ และ วัดผลทางพลศึกษา

M = การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจ็บทางการกฬี าและออกกำลงั กาย N = ประวตั ิกีฬาแบดมนิ ตัน

O = ประวตั ิแบดมินตันในประเทศไทย P = ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

Q = ทฤษฎกี ารวดั และ การทดสอบ R = ดัชนีมวลกาย

โครงการจัดการเรยี นรู้

ชื่อวชิ า พลศึกษาเพ่ืองานอาชีพ รหสั วชิ า 3000-1608
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวส.

สัปดาห์ หนว่ ยท่ี/ช่ือหน่วย กิจกรรม/รายการสอน จำนวนคาบ
ที่ 4
1-2 หนว่ ยท่ี 1 กิจกรรมท่ี 1.1 หลักการและทฤษฎีทางพลศกึ ษา 2
หลกั การและทฤษฎที างพลศกึ ษา กจิ กรรมที่ 1.2 แบบฝกึ ปฏิบตั กิ จิ กรรมภาคทฤษฎี
3 หนว่ ยที่ 2 กจิ กรรมท่ี 2.1 สมรรถภาพทางกาย 4
สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมที่ 2.2 ฝึกปฏบิ ัติกิจกรรมภาคสนาม 4
4-5 หน่วยท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 3.1 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมท่ี 3.2 ทดสอบปฏบิ ัตกิ จิ กรรมภาคสนาม ตามสถานี 6
6-7 หน่วยท่ี 4 กิจกรรมที่ 4.1 หลักการเขยี นโครงการ
การจดั ทำโครงการกฬี าทางพล กิจกรรมท่ี 4.2 รปู แบบโครงการ 14
ศกึ ษาเพอื่ งานอาชีพ กจิ กรรมที่ 4.3 การเขยี นโครงการ
กจิ กรรมที่ 4.4 แบบฝกึ การเขียนโครงการ 2
8-10 หนว่ ยท่ี 5 กิจกรรมท่ี 5.1 การจดั การแขง่ ขันแบบพบกันหมด
วิธีการจัดการแข่งขันกีฬา กจิ กรรมท่ี 5.2 การจดั การแขง่ ขนั แบบแพค้ ดั ออก
กจิ กรรมท่ี 5.3 การจัดการแขง่ ขนั แบบผสมผสาน
11-17 หน่วยที่ 6 กิจกรรมที่ 5.4 แบบฝกึ ปฎิบัตทิ ุกการแข่งขัน
การจดั การแขง่ ขนั กฬี าสากล กิจกรรมที่ 6.1 นำเสนอโครงการจดั การแขง่ ขนั กฬี า
กจิ กรรมที่ 6.2 ระเบยี บการแขง่ ขนั กีฬา
18 ทดสอบการเรียนรู้ปลายภาค กิจกรรมท่ี 6.3 การจัดการแข่งขันกฬี าสากล
ทดสอบการเรียนรปู้ ลายภาค วิธีการจัดการแข่งขนั กีฬา

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ

ช่ือวิชา พลศกึ ษาเพ่ืองานอาชีพ รหัสวิชา 3000-1608
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวส.

ชอ่ื เรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 1 หลักการและทฤษฎีทางพลศึกษา
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
1.1 หลกั การและทฤษฎที างพลศึกษา แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎที างพลศกึ ษา
ใบงานท่ี 1 ...
หรือ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
กิจกรรมท่ี 1.1 แบบฝึกปฏบิ ตั กิ ิจกรรมภาคทฤษฎี ดา้ นความรู้

หน่วยท่ี 2 สมรรถภาพทางกาย 1.บอกหลักการและทฤษฎีทางพลศึกษาได้
2.1 ความหมายของสมรรถภาพทางกาย ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ -
2.2 ความสำคญั ของสมรรถภาพทางกาย
2.3 ประเภทของสมรรถภาพทางกายภาพ พอเพยี ง
2.4 ประโยชนข์ องการมสี มรรถภาพทางกาย 1.ผ้เู รยี นสามารถนำเอาหลกั การและทฤษฎที างพลศกึ ษามา
2.5 ประเภทของการออกกำลังกาย ใช้ในการจดั การแข่งขันกฬี าได้เหมาะสม
2.6 ลกั ษณะของผมู้ สี มรรถภาพทางกายทีด่ ี
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
ใบงานที่ 2 ... แสดงความรู้เกี่ยวกบั สมรรถภาพทางกาย
หรอื
กิจกรรมท่ี 2.1 สมรรถภาพทางกาย จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
กจิ กรรมที่ 2.2 ฝกึ ปฏิบัติกจิ กรรมภาคสนาม ดา้ นความรู้

หน่วยท่ี 3 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. บอกประโยชน์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้
3.1 ความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2. สบื ค้นข้อมลู ICSPFT และสรปุ ได้
3.2 ความสำคัญของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
3.3 ประโยชน์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
3.4 ขอบข่ายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย แสดงทักษะในการปฏบิ ตั เิ กีย่ วสมรรถภาพทางกาย
3.5 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐาน จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives)

นานาชาติ (ICSPFT) ดา้ นทกั ษะ
ใบงานที่ 3 ... 1. นักเรียนสามารถนำการทดสอบไปปรบั ปรุงสมรรถภาพทาง
หรอื กาย
กิจกรรมที่ 3 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ -พอเพยี ง
1. นกั เรียนสามารถนำวสั ดเุ หลือใช้มาใช้ประโยชนใ์ นการ
หนว่ ยที่ 4 การจัดทำโครงการกฬี าทางพลศึกษาเพื่อ สรา้ งสมรรถภาพทางกายได้
งานอาชพี
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
4.1 หลกั การเขยี นโครงการ แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ความหมายของสมรรถภาพทาง
4.2 รปู แบบโครงการ
กาย
จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

แสดงความรเู้ กย่ี วกับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)

ดา้ นทักษะ
1. ปฏบิ ัติการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามข้อกำหนดได้

สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)
แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลักการเขยี นโครงการ

จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives)
ด้านความรู้

4.3 การเขียนโครงการ 1. บอกความหมายของหลักการเขยี นโครงการ
4.4 แบบฝึกการเขียนโครงการ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
ใบงานที่ 4 ...
หรือ แสดงความร้เู กยี่ วกบั หลกั การเขียนโครงการ
กจิ กรรมท่ี 4 แบบฝกึ การเขยี นโครงการ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)

หนว่ ยท่ี 5 วิธีการจดั การแขง่ ขนั กีฬา ด้านทักษะ
5.1 การจัดการแขง่ ขันแบบพบกันหมด 1. ฝกึ ปฏบิ ัติการเขียนโครงการได้
5.2 การจดั การแขง่ ขันแบบแพค้ ัดออก
5.3 การจดั การแข่งขันแบบผสมผสาน สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั วธิ ีการจัดการแขง่ ขันกีฬา
ใบงานท่ี 5 ...
หรอื จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives)
กจิ กรรมที่ 5 แบบฝึกปฎิบัตทิ กุ การแข่งขัน ด้านความรู้

หน่วยที่ 6 การจัดการแข่งขันกฬี าสากล 1. บอกความหมายของวธิ ีการจดั การแข่งขนั กฬี า
6.1 นำเสนอโครงการจัดการแข่งขนั กฬี า ดา้ นทกั ษะ
6.2 ระเบียบการแข่งขนั กฬี า
6.3 การจัดการแขง่ ขนั กฬี าสากล 1.ฝกึ ปฏิบัติการจัดการแข่งขันแบบพบกันหมดได้

ใบงานที่ 6 ... 2.ฝกึ ปฏิบัติการจดั การแขง่ ขันแบบแพค้ ดั ออกได้
หรอื 3.ฝกึ ปฏบิ ตั ิการจดั การแข่งขนั แบบผสมผสานได้
กจิ กรรมที่ 6 การบรหิ ารจัดการแขง่ ขันกฬี าสากล
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
แสดงความรเู้ กีย่ วกบั โครงการจัดการแข่งขนั กฬี า

จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance Objectives)
ด้านความรู้

1. บอกระเบียบการแขง่ ขันกีฬา
ด้านทกั ษะ

1.บริหารจดั การแข่งขันกฬี าสากลได้
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ -พอเพียง
1. นักเรยี นบริหารจัดการแขง่ ขนั กฬี าสากลไดอ้ ย่างมคี วาม
ยตุ ิธรรม

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวชิ า

ช่ือวิชา พลศึกษาเพ่ืองานอาชีพ รหัสวิชา 3000-1608
ท.ป.น. 0-2-1 จำนวนคาบสอน 2 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชนั้ ปวส.

พุทธิพสิ ัย

พฤติกรรม ความรู้ความจำ
ความเ ้ขาใจ
ช่ือหน่วย ประ ุยก ์ต-นำไปใช้
ิวเคราะ ์ห
สูงก ่วา
ัทกษะ ิพสัย
จิต ิพสัย
รวม

ลำ ัดบความสำ ัคญ

หนว่ ยท่ี 1 20 10 5 5 - 40 20 100 4

หลักการและทฤษฎีทางพลศกึ ษา

หน่วยท่ี 2 20 10 5 5 - 40 20 100 5

สมรรถภาพทางกาย

หน่วยท่ี 3 20 10 5 5 - 40 20 100 5

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

หนว่ ยที่ 4 20 5 5 10 - 40 20 100 3

การจดั ทำโครงการกีฬาทางพลศึกษาเพอื่

งานอาชพี

หน่วยที่ 5 20 5 5 10 - 40 20 100 2

วธิ กี ารจัดการแข่งขันกีฬา

หนว่ ยที่ 6 20 10 5 5 - 40 20 100 1

การจดั การแข่งขันกีฬาสากล

รวม 120 50 30 40 240 120 600

ลำดับความสำคญั 2354 12

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 หนว่ ยท่ี 1

ช่ือวชิ า พลศกึ ษาเพอื่ งานอาชพี เวลาเรยี นรวม18คาบ
ช่อื หน่วย หลกั การและทฤษฎีทางพลศึกษา
สอนครัง้ ที่ 1-2/18

ช่อื เรือ่ ง ความสำคัญของหลักการและทฤษฎีทางพลศึกษา จำนวน 4 คาบ

หวั ข้อเร่อื ง

1. ความหมายหลกั การและทฤษฎีทางพลศกึ ษา

2. จุดมุ่งหมายทางพลศกึ ษา

3. ประเภทของพลศกึ ษา

สาระสำคัญ/แนวคดิ สำคญั

สุขภาพของมนุษย์ในการดำเนินชีวติ ประจำ มีสมรรถภาพเปน็ สงิ่ หน่ึงที่บ่งบอกถึงประสทิ ธภิ าพของตัว

บุคคลนั้นๆ ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายท่ีดี ย่อมเป็นผู้ที่มีคุณภาพในการดำเนินชีวิตที่ดีไปด้วย เพราะจะทำให้

หน้าท่ีการงานที่ทำอยู่เกิดคุณภาพท้ังยังไม่เจ็บป่วยง่าย ดังน้ันสมรรถภาพทางกาย เป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้เพ่ือ

ประกอบกบั พัฒนาสขุ ภาพร่างกาย

สมรรถนะ

แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการและทฤษฎที างพลศึกษา

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

1. บอกความหมายของหลกั การและทฤษฎีทางพลศึกษาได้

2. อธบิ ายความสำคญั ของหลักการและทฤษฎที างพลศึกษาได้

3. บอกจดุ มุ่งหมายทางพลศกึ ษาได้

4. บอกประเภทของหลักการและทฤษฎีทางพลศกึ ษาได้

เนอื้ หาสาระ

หลักการและกระบวนการของพลศึกษา สขุ ภาพและนันทนาการ

สุขศกึ ษา พลศึกษาและนนั ทนาการมีความสำคญั ยิ่งตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เพราะครอบคลุมเร่ืองสุขภาพท่ี
เปน็

พน้ื ฐานจำเป็นต่อชีวิตความเป็นอยูข่ องมนุษย์ การมสี ุขภาพท่ดี นี ัน้ เป็นทม่ี นุษยท์ กุ คนปรารถนา เพราะหาก
มนุษย์

ไดเ้ รียนรู้วิชาการหลกั การตา่ งๆเกยี่ วกับการดแู ลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงเสมอและปฎบิ ัตติ าม ทำใหด้ ำรง
สุขภาพ
สรา้ งเสรมิ และพัตนาคุณภาพชีวิตของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชนใหย้ ่ังยืน

พลศึกษา มงุ่ เน้นให้บคุ คลใชก้ ิจกรรมการเคลอื่ นไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเครื่องมือใน
การ

พัฒนาโดยรวมท้งั ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทงั้ สมรรถภาพ เพอ่ื สขุ ภาพและ
สมรรถภาพ
ทกั ษะกลไกทางพลศกึ ษา

สุขศกึ ษา มงุ่ เนน้ พฒั นาพฤตกิ รรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฎิบัติเกี่ยวกบั สุขภาพควบคู่
ไปกับ

สุขภาวะ หรอื ภาวะของมนษุ ยท์ ่ีสมบรู ณท์ งั้ ทางกาย จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ซ่งึ ทุกคนควรจะได้เรียนรู้
เพ่ือจะได้มีความรู้ ความเข้าใจท่ีถกู มีเจตคติ คุณธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม รวมทั้งมที ักษะปฎบิ ัติด้าน

สขุ ภาพ
เปน็ กจิ นิสยั อนั ส่งผลใหส้ งั คมโดยรวมมคี ุณภาพ
นันทนาการ ม่งุ เนน้ พัฒนาสุขภาพและสขุ ภาพจติ ของคนให้สมบรู ณ์ย่งิ ข้ึน โดยใช้กจิ กรรมและใช้เวลาว่างท่ี
ก่อให้เกิด
คณุ ค่าตอ่ ตัวบุคคล เพ่อื การพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่เี หมาะสมกับตนเองไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
หลกั การ กระบวนการ และจดุ มุ่งหมายของพลศึกษา
พลศึกษาเปน็ การศึกษาแขนงหนงึ่ ท่ใี ชก้ จิ กรรมการเคลอ่ื นไหวทางกายดดยใช้กล้ามเนอื้ ใหญเ่ ปน็ สือ่ กลางเพ่ือ
สง่ เสริม
พฒั นาการด้านคุณธรรม ตลอดจนการเป็นพลเมอื งดดี ว้ ย
กระบวนการพลศึกษา
1.สงั เกต-รบั รู้ โดยดูจากการสาธติ วดิ ที ัศน์ หรอื คลปิ วิดิโอ พรอ้ มทัง้ ฟงั การอธบิ ายเก่ยี วกับความสำคัญ วสั ดุ
อปุ กรณท์ ่ีใช้
ข้ันตอน และวิธกี ารทำสิ่งนัน้ ๆ ทำใหเ้ กิดความเข้าใจตรงกัน
2.ทำตามแบบ โดยการปฎิบัตติ ามข้นั ตอน และวธิ กี ารที่กำหนดไวใ้ ห้ หรอื ฝกึ เปน็ ขน้ั ตอนทีละอยา่ ง
3.ทำเองโดยไม่มแี บบ โดยการปฎิบัตติ ามข้ันตอนโดยไมต่ ้องดตู ัวแบบ
4.ฝึกใหช้ ำนาญ โดยการปฎิบตั บิ ่อยๆ จนเกดิ ความชำนาญ ความคลอ่ งแคล่ว หรือจนเกดิ การกระทำโดย
อตั โนมตั ิ
จดุ มงุ่ หมายของพลศกึ ษา
1.พัฒนาความเจรญิ เติบโตทางด้านร่างกาย

1.1 พัฒนาระบบกล้ามเนอื้ ใหม้ ขี นาดใหญ่ขน้ึ และมีความแข็งแรงมากขึน้
1.2 พัฒนาระบบกระแสโลหิต ทำให้ลดการสะสมของกรดแลคตกิ ซ่ึงทำให้เกดิ การล้าของกลา้ มเน้อื ปวด
เม้ือย
1.3 พฒั นาระบบเสน้ โลหติ ทำใหเ้ สน้ โลหิตมีความหยืดหยนุ่ ตวั ดี
1.4 พฒั นาระบบหวั ใจ ทำให้หัวใจมขี นาดโตขึ้น มึความแขง็ แรงมากขน้ึ อตั ราการเต้นของหัวใจตำ่ ลง
1.5 พฒั นาระบบความดันโลหิต ทำให้ความดนั โลหติ ปกติ(120/80 มิลลเิ มตรปรอท)
1.6 พฒั นาระบบหายใจ ทำใหป้ อดแข็งแรง อตั ราการหายใจต่ำลง
1.7 พมั นาความสมั พันธ์ระหว่างระบบประสาทกบั กล้ามเนอ้ื ทำให้เกดิ ทักษะ (skill)
1.8 พัฒนาระบบยอ่ ยอาหารและระบบขบั ถ่ายใหม้ กี ารทำงานอย่างมีประสทิ ธิภาพ

2.พัฒนาทางดา้ นจิตใจ
เสรมิ สรา้ งความมนี ้ำใจนกั กีฬา เชน่ รูแ้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั รจู้ กั อดทน เสยี สละ ความยุติธรรม ความ

เอื้อเฟอ้ื เผ่อื แผ่
การตรงตอ่ เวลา ความเมตตากรณุ า เปน็ ต้น การเลน่ กีฬาหรอื ออกกำลังกายอยู่เสมอ จะทำให้มสี มรรถภาพ
ทางด้าน
ร่างกายดี สมบรู ณ์ และจติ ใจแจ่มใส
3.พฒั นาทางด้านอารมณ์

การดำเนนิ ชีวติ ในปัจจุบนั เตม็ ไปดว้ ยการแข่งขัน เอารดั เอาเปรยี บ แกง่ แยง่ ชงิ ดชี ิงเดน่ ท้งั สิ่งแวดลอ้ มเป็นพษิ
การจราจรตดิ ขัดทำใหเ้ กดิ ความเคลยี ด การเลน่ กฬี าและออกกำลังกายจะช่วยเสรมิ สร้างสมาธิ การควบคุม
อารมณ์

ความสดชน่ื สนุกสนาน เป็นตน้
4.พฒั นาทางดา้ นสงั คม

กิจกรรมพลศกึ ษา หากอยภู่ ายใต้การจัดและการดำเนนิ การของผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จะส่งเสรมิ ให้
เปน็
บคุ คลทรี่ ว่ มกิจกรรมพลศกึ ษามีความเข้าใจ สามารถปรบั ตนเองให้เขา้ กบั สถานการณ์แวดล้อม และสังคมท่ีอยู่
ได้
เชน่ ดา้ น คุณลกั ษณะประจำตวั จะสง่ เสริมให้เป็นผทู้ ี่มคี วามกลา้ ความคิดรเิ ริ่ม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ความ
อดทน
ความเชือ่ มน่ั ในตวั เองสงู รู้จักยับยั้งชัง่ ใจ สำหรับคุณลักษณะดา้ นสังคม ได้แก่ ความเหน็ อกเหน็ ใจ ความสภุ าพ
ออ่ นโยน
ความร่วมมือ ความซื่อสัตย์สุจรติ เป็นผมู้ ีน้ำใจนักกีฬา เคารพสทิ ธผิ ู้อืน่ รจู้ ักเคารพกฎกติกาการเล่น การเปน็
ผู้นำและ
ผ้ตู ามท่ีดี ซ่ึงคณุ ลกั ษณะเหล่าน้ถี ือวา่ มคี วามสำคัญและความจำเป็นสำหรบั นำไปใช้ในชวี ิตประจำวันซ่ึงเปน็
สังคม
ประชาธิปไตยของเรา
5.พัฒนาทางดา้ นสตปิ ญั ญา

ผู้ทอี่ อกกำลงั กายอยา่ งสม่ำเสมอจะมคี วามสามารถในการแก้ปัญหา มีความสามารถในการคดิ อย่าง
สรา้ งสรรค์
มคี วามสามารถในการเรียนรู้ มคี วามสามารถในการปรับชีวิตเข้ากับเหตุการณ์ต่างๆไดด้ ี มไี หวพริบ

สือ่ การเรยี นรู้

อนิ เทอรเ์ น็ต , เบาะ, นาฬกิ าจับเวลา ,สนามมาตรฐาน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 1-2)

สปั ดาห์ท่ี 1 กิจกรรมท่ี 1.1 หลกั การและทฤษฎีทางพลศกึ ษา
สัปดาห์ท่ี 2 กิจกรรมที่ 1.2 หลกั การและทฤษฎีทางพลศึกษา

การวัดผลและประเมินผล

แบบประเมนิ ผลกจิ กรรมท่ี 2.1
แบบประเมินผลกจิ กรรมท่ี 2.2
แบบทดสอบก่อนเรียน และ หลังเรยี น

งานที่มอบหมาย

แบบฝึกหัด

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเร็จของผู้เรียน

กจิ กรรมท่ี 1.1 หลกั การและทฤษฎที างพลศกึ ษา
กิจกรรมท่ี 1.2 หลักการและทฤษฎที างพลศึกษา

เอกสารอา้ งองิ

กรณี บญุ ชัย. (2540) AAHPERD Health-Related Physical Fitness. กรุงเทพฯ : ภาควชิ าพลศกึ ษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. (เอกสารอดั สำเนา).
การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. (2536). การฝึกสมรรถภาพทางกาย. กรุงเทพฯ : ไทยมติ รการพิมพ์.

บันทกึ หลังการสอน

1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปญั หา
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................... ลงชื่อ...............................................
(...............................................) (นายอภิสิทธ์ิ จติ เท่ียง)
ตวั แทนนักเรยี น ครผู ู้สอน

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 2 หน่วยท่ี 2

ช่อื วิชา พลศึกษาเพ่ือพฒั นาสุขภาพ เวลาเรียนรวม18คาบ
ชื่อหน่วย สมรรถภาพทางกาย
สอนคร้งั ท่ี 3-4/18
ช่อื เร่ือง ความรูค้ วามเข้าใจสมรรถภาพทางกาย
จำนวน 4 คาบ

หวั ขอ้ เรอ่ื ง

1.ความหมายสมรรถภาพทางกาย

2.ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย
3.ประเภทของสมรรถภาพทางกาย

4.ประโยชนข์ องการมสี มรรถภาพทางกาย
5.ประเภทของการออกกำลังกาย
6.ลกั ษณะของผู้มสี มรรถภาพทางกายทด่ี ี

สาระสำคัญ/แนวคดิ สำคญั

สขุ ภาพของมนษุ ย์ในการดำเนนิ ชีวิตประจำ มีสมรรถภาพเป็นสิ่งหนึ่งท่ีบง่ บอกถึงประสทิ ธภิ าพของตัว

บุคคลน้ันๆ ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายท่ีดี ย่อมเป็นผู้ท่ีมีคุณภาพในการดำเนินชีวิตที่ดีไปด้วย เพราะจะทำให้
หน้าท่ีการงานท่ีทำอยู่เกิดคุณภาพทั้งยังไม่เจ็บป่วยง่าย ดังน้ันสมรรถภาพทางกาย เป็นส่ิงท่ีต้องเรียนรู้เพ่ือ

ประกอบกบั พฒั นาสุขภาพร่างกาย

สมรรถนะ

แสดงความรู้เกี่ยวกบั สมรรถภาพทางกาย

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1.บอกความหมายของสมรรถภาพทางกายได้
2.อธบิ ายความสำคัญของสมรรถภาพทางกายได้
3.บอกประเภทของสมรรถภาพทางกายได้
4.บอกประโยชนข์ องการมีสมรรถภาพทางกายได้
5.บอกประเภทของการออกกำลงั กายได้

6.อธิบายลักษณะของผมู้ ีสมรรถภาพทางกายท่ดี ีได้

เน้ือหาสาระ

1.1 ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
คำว่า ” สมรรถภาพทางกาย ” มีผู้เช่ียวชาญได้ให้ความหมายกันไวอ้ ย่างกว้างขวาง ซ่ึงอาจจะกลา่ วโดย

สรุปไดว้ า่ สมรรถภาพทางกาย หมายถึงความสามารถของบุคคล ในอันทจี่ ะใช้ระบบต่างๆของร่างกายประกอบ
กิจกรรมใดๆอนั เก่ียวกับการแสดงออก ซึ่งความสามารถทางร่างกายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ หรอื ได้อย่างหนัก

ติดต่อกัน โดยไม่แสดงอาการเหน็ดเหน่ือยให้ปรากฏและร่างกายสามารถฟื้นตัวสู่สภาพปกติได้ในเวลา
อันรวดเรว็
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของคำว่า “สมรรถภาพทางกาย” ไว้หมายถึง

“ความสามารถ” นักพลศึกษาและนักศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของคำว่า สมรรถภาพทางกาย และ
สมรรถภาพทางกลไก ดงั น้ี

วรศักดิ์ เพียรชอบ (2527 : 98) สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของร่างกายท่ีจะปฏิบัติ
หน้าท่ีประจำในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่มีความเหนื่อยอ่อนจนเกินไป สามารถสงวนและถนอม
กำลังไว้ใชใ้ นยามฉุกเฉนิ และใชเ้ วลาว่างเพือ่ ความสนุกสนานและความบันเทงิ ของตวั เองดว้ ย

คลาร์ค (Clarke,1976:14) กล่าวว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถในการประกอบ

กจิ กรรมประจำวนั ดว้ ยความกระฉับกระเฉง ว่องไว ปราศจากความเหนด็ เหน่อื ย เม่ือยล้า และมีพลังงานเหลือ
พอทจี่ ะนำไปใชใ้ นการประกอบกจิ กรรมบันเทิงในเวลาวา่ ง และเตรยี มพร้อมท่จี ะเผชญิ กบั ภาวะฉุกเฉนิ ไดด้ ี

จอหน์ สัน และสโตรเบอร์ก ( Johnson and Stolberg , 1971 : 9-10 ) กล่าววา่ สมรรถภาพทาง
กายนน้ั เป็นความสามารถในการประกอบกิจกรรมหนักๆ ได้เปน็ อย่างดี และรวมถึงคณุ ลกั ษณะตา่ งๆ ของการ
มีสุขภาพและความเปน็ อยูท่ ด่ี ขี องบคุ คลซง่ึ มีองค์ประกอบต่างๆ ไดแ้ ก่

1. สมรรถภาพของระบบไหลเวียนโลหิตและหายใจ (Cardio –Respiratory Fitness)
2. ความอดทน (Endurance)

3. ความแข็งแรง (Strength)
4. ความออ่ นตัว (Flexibililty)
5. สัดสว่ นของรา่ งกายทพ่ี อเหมาะ (Body Composition)

วิริยา บุญ ชัย (2529 : 106) ได้ให้ความหมายของคำว่า “สมรรถภาพทางกลไก” หมายถึง
ความสามารถในการปฏิบัติเบ้ืองตน้ อันได้แก่ การเดนิ การว่ิง การกระโดด การลม้ หลบหลีก การปนี ป่าย การ

ปรับตวั และการแบกของ เป็นต้น
คิวตัน (Curction ,1973 : 35 ) ได้ให้ความหมายของคำว่า สมรรถภาพทางกลไก พอสรุปได้ คือ

สมรรถภาพทางกลไกเป็นสมรรถภาพทางการเคล่ือนไหวเฉพาะสว่ นของร่างกายทีแ่ สดงออกในลักษณะต่าง ๆ

เช่น ความสามารถในการวิ่ง การกระโดด การหลบหลีก การจับ การปีนป่าย การว่ายน้ำ การขี่ม้า การยก
น้ำหนัก โดยรา่ งกายจะตอ้ งทำงานได้เปน็ เวลานาน ๆ ตดิ ต่อกัน สมรรถภาพทางกลไกจึงเป็นความสามารถของ

รา่ งกายที่จะใช้ประสาทการเคล่ือนไหวของกล้ามเน้ือเย่ือ ข้อต่อและยังรวมไปถึง การใช้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ ๆ
ของรา่ งกายในการเล่นกีฬา ตลอดจนการใชท้ ักษะในการทำงาน นอกจากนัน้ ยังรวมถงึ ความสามารถในการทรง
ตวั ความยืดหยุ่น ความคล่องตวั ความเร็ว ความแข็งแรง กำลังและความอดทนดว้ ย

จรวย แก่นวงษ์คำ และอุดมพิมพา (2518 :15) ได้ให้ความหมายของสมรรถภาพทางกลไก หมายถึง
ความสามารถของอวยั วะโดยมคี วามแขง็ แรง สมบรู ณ์ สามารถเคล่อื นไหวในกิจกรรมตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

สรุปได้ว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของร่างกายและจิตใจทสี่ ามารถใชอ้ วัยวะตา่ งๆ ของ
รา่ งกายในการเคลื่อนไหวสอดประสานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยไมเ่ กดิ ความเหนื่อยจนเกนิ ไป คุณภาพของ
การเคลอื่ นไหวมีประสิทธิผล และปลอดภัย

1.2 ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย
ในช่วงชีวิตมนุษย์เราทุกคน มีความปรารถนาอยากให้ตนเองมีสุขภาพพลานามัยเเข็งเเรงสมบูรณ์

ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลายทั้งปวง เหมือนด่ังคำกล่าวทางศาสนาที่ว่าไว้ คือ “ อโรคยาปรมา ลาภา”
แปลว่า ความไมม่ ีโรค เป็นลาภอนั ประเสริฐ ส่งิ ทก่ี ลา่ วมาน้นี ับว่าเป็นเปา้ หมายทส่ี ำคัญอย่างหนึ่งของชีวติ คนเรา
ทกุ คนสขุ ภาพดีสุขภาพร่างกายทเ่ี เขง็ เเรงสมบูรณ์ จำเป็นต้องอาศยั องค์ประกอบพ้ืนฐานหลายดา้ น เชน่ สภาพ

ทางร่างกาย สภาวะทางโภชนาการ สุขนสิ ัยและสุขปฏิบัติ สภาวะทางจติ ใจ สตปิ ัญญาเเละสภาวะทางอารมณ์ท่ี
สดช่ืนเเจ่มใส ซ่ึงความสัมพันธ์ของร่างกายเเละจิตใจนี้ นักพลศึกษาได้มีคำกล่าวถึงเร่ืองน้ีไว้ว่า “

สุขภาพจิตท่ีเเจ่มใส อยู่ในร่างกายที่เเข็งเเรง “ หมายความว่า การที่บุคคลจะมีสุขภาพท่ีสดชื่นเเจ่มใสได้นั้น
จะตอ้ งเป็นบคุ คลท่มี ีรา่ งกายเเขง็ แรงสมบูรณด์ ว้ ย
สมรรถภาพทางกายที่ดี เมอื่ รวมเขา้ กับการมีสุขภาพจิตท่ีปกติ มีการทำงานของระบบตา่ งๆในรา่ งกายที่เป็น

ปกตติ ลอดจนทรรศนะของบุคคลทางด้านคณุ ธรรม หรือศลี ธรรมอันดงี าม จะเป็นผลรวมให้ตัวบุคคลผู้น้นั เปน็
ประชากรทม่ี คี ุณภาพ เป็นท่ีพึงปรารถนาของสงั คมและประเทศชาติ ซ่งึ เปน็ เปา้ หมายสำคัญในการพฒั นา

ทรัพยากรบคุ ลทกุ ระดบั เราสามารถกลา่ วโดยสรปุ ได้วา่ การมสี มรรถภาพทางกายท่ดี ีจะชว่ ยใหเ้ กิดผล 3 ด้าน
ไดเ้ เก่ ด้านร่างกาย ด้านครอบครัว และด้านสังคมประเทศชาติ

กลไกการหายใจ

1.2.1 ผลต่อสขุ ภาพทางร่างกาย
1. ระบบหัวใจ เเละการไหลเวียนโลหิต - หัวใจมีขนาดใหญ่ขึ้น ปริมาณการสูบฉีดโลหิตมีมากข้ึน -

กล้ามเนื้อหัวใจมีความเเข็งเเรงมีประสิทธิภาพในการทำงานมากข้ึน - อัตราการเต้นของหัวใจหรืออัตราชีพจร

ต่ำลง - หลอดเลือดมีความยดื หยุ่นตัวดี - ปรมิ าณของเมด็ เลือดและสารฮโี มโกลบนิ เพิ่มมากขน้ึ
2. ระบบการหายใจ ทรวงอกขยายใหญ่ขึ้น กล้ามเนื้อท่ีช่วยในการหายใจทำงานดีข้ึน - ความจุปอด

เพ่ิมขึ้นเนื่องจากปอดขยายใหญ่ข้ึน การฟอกเลือดทำได้ดีข้ึน - อัตราการหายใจต่ำลง เน่ืองจากปอดมี
ประสทิ ธภิ าพในการทำงานมากขึน้

3. ระบบกลา้ มเนือ้ กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ข้ึน เพราะมีโปรตีนในกล้ามเนื้อมากข้ึนเส้นใยกล้ามเนื้อโต

ขน้ึ - การกระจายของหลอดเลือดฝอยในกล้ามเนื้อมากขึ้น ทำใหก้ ล้ามเนื้อสามารถทำงาน ได้นาน หรือมีความ
ทนทานมากขน้ึ

4. ระบบประสาท การทำงานเกิดดุลยภาพ ทำให้การปรับตัวของอวัยวะต่างๆ ทำได้เร็วกวา่ การรับรู้
ส่ิงเรา้ การตอบสนองทำไดร้ วดเร็วและแม่นยำ

5. ระบบต่อมไร้ท่อ การทำงานของต่อมท่ีผลิตฮอรโ์ มน ซึ่งทำหน้าที่ในการเคลื่อนไหวร่างกายได้เป็น

ปกติ และมปี ระสิทธิภาพ เช่น ต่อมไทรอยด์ ตอ่ มหมวกไต และต่อมในตบั ออ่ นเปน็ ตน้
6. ระบบต่อมอาหารและการขับถ่าย สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้นึ การผลิตพลังงาน

และการขับถา่ ยของเสยี เปน็ ไปได้ด้วยดี
7. รูปร่างทรวดทรงดี มีการทรงตัวดี บุคลิกภาพและอริยาบทในการเคล่ือนไหวสง่างามเป็นท่ี

ประทบั ใจเเก่ผูพ้ บเหน็

8. มภี มู ติ า้ นทานโรคสูง ไม่มกี ารเจบ็ ป่วยงา่ ย ช่วยใหอ้ ายยุ นื ยาว
9. มีสุขภาพจิตดี สามารถเผชิญกับสถานการณ์ที่สร้างความกดดันทางอารมณ์ได้ดี ปรับตัวให้เข้ากับ

ผ้อู ่ืนไดด้ ี มีความสดช่ืนร่าเรงิ อยู่เสมอ
1.2.2 ผลต่อครอบครัวของสมรรถภาพทางกาย

จากการที่สมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดี เป็นผลทำให้ครอบครัวมีความอบอุ่น เป็น

ปกึ แผ่นม่ันคง แต่ละคนตา่ งทำหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
อันจะเป็นการชว่ ยเพ่มิ ฐานะทางครอบครัวไดเ้ ป็นอยา่ งดี ครอบครวั จะมีความสุข

1.2.3 ผลตอ่ สงั คมประเทศชาติของสมรรถภาพทางกาย
เม่ือบุคคลในชาติเปน็ ผู้มสี มรรถภาพทางกายดี ร่างกายแข็งเเรงสมบูรณ์ สามารถประกอบอาชีพของตน

ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ผลผลติ ของชาตกิ ส็ ามารถเพ่ิมขึ้นได้ ประเทศชาติก็เจริญก้าวหน้า การพฒั นาประเทศก็

ดำเนินไปได้ด้วยดี ประเทศมั่นคง อีกด้านหนึ่งถ้าประชาชนมีประสิทธิภาพทางกายดีประกอบกับมี

ความสามารถทางด้านกีฬา เม่ือมีการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศ ยังจะสามารถมีโอกาสได้รับชัยชนะ สร้าง

ชอื่ เสียงให้แก่ประเทศชาตไิ ด้อกี ทางหน่ึงด้วยองคป์ ระกอบสมรรถภาพทางกาย
1.3 ประเภทของสมรรถภาพทางกางกาย

ผทู้ ี่มสี มรรถภาพทางกายที่ดี ส่งผลให้การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ได้มีการ
จำแนกองค์ประกอบสำคญั ของสมรรถภาพทางกาย เป็น 2 ประเภท ดว้ ยกันดังนีค้ อื

1.3.1 สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health – Related Physical Fitness)

ความสามารถของระบบตา่ งๆ ในรา่ งกายประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรีรวทิ ยาด้านต่างๆ ท่ี
ช่วยป้องกันบุคคลจากโรคที่มสี าเหตุจากภาวการณ์ขาดการออกกาลังกาย นบั เป็นปัจจยั หรือตวั บ่งช้ีสำคญั ของ

การมีสุขภาพดี ความสามารถหรือสมรรถนะเหล่านี้ สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพได้ โดยการออกกา
ลงั กายอยา่ งสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพอื่ สุขภาพมีองค์ประกอบ ดังนี้

1. องค์ประกอบของร่างกาย ( Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ประกอบ

ดว้ ย กลา้ มเนื้อ กระดูก ไขมัน และ สว่ นอื่นๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายน้ัน หมายถงึ สัดส่วนปริมาณ
ไขมันในรา่ งกายกับมวลรา่ งกายที่ปราศจากไขมนั โดยการวัดออกมาเป็นเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ขมนั (% fat)

2. ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Cardio respiratory Endurance) หมายถึง
สมรรถนะเชิงปฏิบัตขิ องระบบไหลเวยี นเลือด (หวั ใจ หลอดเลอื ด) และระบบหายใจในการลำเลียงออกซิเจนไป
ยังเซลล์กล้ามเน้ือ ทาให้ร่างกายสามารถยืนหยัดที่จะทางานหรือออกกำลังกายท่ีใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็น

ระยะเวลายาวนานได้
3. ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคล่อื นไหวสูงสุดเทา่ ท่จี ะ

ทาได้ของขอ้ ต่อหรือกลมุ่ ขอ้ ต่อ
4. ความอดทนของกล้ามเน้อื ( Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเน้ือ

มดั ใดมัดหน่งึ หรอื กลุ่มกล้ามเน้ือ ในการหดตัวซา้ ๆ เพื่อต้านแรงหรือความสามารถในการหดตวั คร้งั เดยี วได้เป็น

ระยะเวลายาวนาน
5. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ( Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงที่

กล้ามเน้อื มัดใดมดั หนึง่ หรอื กลุ่มกลา้ มเนอ้ื สามารถออกแรงต้านทานได้ ในช่วงการหดตวั ๑ ครัง้
1.3.2 สมรรถภาพทางกลไก ( Motor Fitness) หรือ สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill –

Related Physical Fitness)

ความสามารถของร่างกายท่ีช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
เลน่ กีฬาได้ดี มอี งคป์ ระกอบ 6 ด้าน ดงั น้ี

1. ความคล่อง ( Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคล่ือนท่ีได้อย่างรวดเร็ว
และสามารถควบคุมได้

2. การทรงตัว ( Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไว้ได้ทง้ั ในขณะอยู่

กบั ทแี่ ละเคลื่อนท่ี
3. การประสานสัมพันธ์ ( Co-ordination) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวได้อย่างราบร่ืน

กลมกลนื และ มีประสทิ ธิภาพ ซึ่งเป็นการทางานประสารสอดคล้องระหวา่ งตา-มอื -เท้า
4. พลังกล้ามเน้ือ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหน่ึงส่วนใดหรือหลายๆ ส่วน

ของร่างกายในการหดตัวเพื่อทางานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ได้เป็นผลรวมของความแข็งแรงและ

ความเรว็ ท่ใี ช้ในชว่ งระยะเวลาสน้ั ๆ เช่น การยนื อย่กู ับที่ กระโดดไกล การทุ่มนา้ หนัก เป็นตน้
5. เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง ( Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการตอบสนองต่อ

ส่งิ เร้าต่างๆ เชน่ แสง เสยี ง สัมผสั
6. ความเร็ว (Speed) หมายถงึ ความสามารถในการเคลื่อนทจ่ี ากทหี่ นึ่งไปยังอกี ท่ีหนง่ึ ได้อย่างรวดเร็ว

1.4 ประโยชน์ของการมีสมรรถภาพทางกายทีด่ ี
1.4.1 ประโยชน์ทว่ั ไป

1. ทาให้ทรวดทรงดี
2. รา่ งกายมคี วามต้านทานโรค
3. ระบบตา่ งๆ ทางานมีประสิทธภิ าพข้ึน
4. การตัดสินใจดขี นึ้
5. มีทกั ษะดขี ึน้
1.4.2 ประโยชนท์ างรา่ งกาย
1. กล้ามเน้อื มีความแขง็ แรง
2. กล้ามเน้อื มีความทนทาน
3. อัตราการเต้นของหวั ใจจานวนครง้ั น้อยลง แต่การสูบฉดี ของหัวใจมีประสทิ ธภิ าพเพ่มิ ขนึ้
4. การควบคุมอณุ หภูมิของร่างกายดีข้ึน
5. ความอ่อนตวั ดขี ้ึน
6. กล้ามเนื้อฉดี ขาดได้ยาก
7. พลงั กล้ามเนือ้ สูงขึน้
8. ความสมั พันธใ์ นการใช้มือใชเ้ ทา้ ดีขึ้น
9. การประกอบกจิ กรรมในแง่ ทุ่ม พ่งุ ขวา้ ง กระโดด มปี ระสิทธิภาพยิ่งขึน้
10. การทรงตวั ดขี น้ึ
1.4.3 ประโยชนต์ ่อครอบครัว
1. ทำใหเ้ ศรษฐกจิ ครอบครัวดขี ึน้
2. ลดรายจา่ ยท่ตี อ้ งใช้จ่ายดา้ นเจ็บป่วย
3. เป็นแบบอย่างใหส้ มาชกิ ในครอบครัวหันมาดแู ลสขุ ภาพ
1.4.4 ประโยชนต์ ่อสังคม ประเทศชาติ
1. ช่วยลดงบประมาณด้านสาธารณสขุ
2. พัฒนาประชากรอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. คณุ ภาพชวี ติ ความเปน็ อยู่ของประชากรในประเทศดขี น้ึ
4. ประชากรที่มีคณุ ภาพทำใหป้ ระเทศชาตพิ ฒั นาในทุกๆด้าน

1.5 ประเภทของการออกกำลงั กาย
ประเภทของการออกกำลังกาย แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคอื
1.5.1 แบง่ จากลักษณะการฝกึ กล้ามเนอื้

1. การฝึกแบบไอโซโทนิค (Isotonic exercise) เป็นการฝึกโดยให้กล้ามเนื้อยืดหด มีน้ำหนัก
ตวั หนาอยู่ตลอดเวลา โดยใหก้ ลา้ มเนอ้ื เคล่อื นไหว เรยี กวา่ การฝกึ แบบไดนามิก

2. การฝึกแบบไอโซเมตริค (Isometric exercise) เป็นการฝึกโดยให้กล้ามเน้ือเกิดการตึงตัว
หรอื เกร็งตัว ไม่มีการเคลอื่ นไหว เช่นการดันผนัง

3. การฝึกแบบไอโซคิเนติค (Isokinetic exercise) เป็นการฝึกแบบผสมผสานกัน เพื่อให้
กลา้ มเน้ือเกรง็ ตัวและรบั ภาวะน้ำหนักต้านทาน การฝึกตอ้ งใช้อุปกรณ์ และมผี ู้ฝึกสอนหรือผูเ้ ชี่ยวชาญคอยดูแล
เช่น การออกกำลงั กายตามฟติ เนส

1.5.2 แบง่ จากลกั ษณะการใช้ออกซเิ จน

1. การฝึกแบบแอโรบิค (Aerobic exercise) คือการฝึกที่ขณะฝึกผู้ออกกำลังกายจะไม่กั้น
หายใจ เพราะตอ้ งการให้ออกซเิ จนเขา้ ส่รู า่ งกายตลอดการฝึก เช่นการเตน้ แอรบ์ คิ ด๊าน การเลน่ ฟุตบอล

2. การฝึกแบบแอนแอโรบิค (Aerobic exercise) คือการฝึกที่ขณะทำการออกกำลังกายผู้ฝึก

จะกล้ันหายใจชว่ งสนั้ ๆ จะไม่ต้องการออกซเิ จนเข้าส่รู า่ งกาย เชน่ วงิ่ ระยะส้นั วา่ ยน้ำระยะสน้ั เปน็ ตน้
1.6 ลักษณะของการมสี มรรถภาพทางกายดี

1.6.1 ผูม้ ีสมรรถภาพทางกายดียอ่ มจะทาใหร้ ่างกายได้มกี ารเจรญิ เตบิ โตได้อย่างเต็มท่ี กล้ามเนื้อต่างๆ

ของร่างกายเตบิ โตไดส้ ัดส่วน มีความแขง็ แรง ทนทาน สามารถทางานต่างๆ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
1.6.2 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดจี ะเปน็ ผู้ทบี่ คุ ลกิ ลกั ษณะดี สง่าผ่าเผย สามารถเคลือ่ นไหวไดด้ ้วยความสง่า

งาม คล่องแคล่ว กระฉบั กระเฉง
1.6.3 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดีจะเป็นผู้ท่มี ีสุขภาพดี ถ้าอย่ใู นวัยศึกษาเล่าเรยี นจะสามารถตรากตรำ มี

สมาธใิ นการศึกษาเลา่ เรยี นไดด้ ี

1.6.4 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดีในวัยเด็กจะทาให้เด็กคนนน้ั เป็นผทู้ ี่มีความกระตือรอื ร้น มีความเช่อื ม่ัน
ในตนเองสูง

1.6.5 ผู้ท่ีมีสมรรถภาพทางกายดีย่อมจะควบคุมนา้ หนกั ของตนเอง เพราะได้ออกกาลังกายอยู่เปน็ ประจา
การควบคุมน้าหนักตัวด้วยวิธีลดอาหารอย่างเดียวน้ัน เป็นวิธีท่ีไม่ถูกต้อง แต่ควรจะเป็นการควบคุมด้วยการ
ออกกาลงั กาย และควบคมุ อาหารควบคูก่ นั ไป

1.6.6 ผู้มีสมรรถภาพทางกายดี ย่อมจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานประสานกันระหว่างระบบ
ไหลเวียนโลหติ กบั ระบบหายใจ ซงึ่ จะเป็นการป้องกันโรคหัวใจเส่ือมสมรรถภาพได้เป็นอย่างดี ปัจจุบนั น้ีเชื่อว่า

วิธีปอ้ งกนั โรคนกี้ ด็ ว้ ยการออกกาลังกายเปน็ ประจา เพอ่ื ให้มสี มรรถภาพทางกายดีนั่นเอง
1.6.7 ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายดี ย่อมทาให้กล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกายมีสมรรถภาพดีด้วย โดยเฉพาะ

กลา้ มเนื้อหลงั ตอนล่างถา้ กล้ามเนอื้ น่มี สี มรรถภาพดแี ลว้ จะช่วยในการปอ้ งกันโรคปวดหลงั เม่ือมีอายุมากข้ึนได้

ด้วย

สื่อการเรยี นรู้

อนิ เทอร์เน็ต , เบาะ, นาฬกิ าจบั เวลา ,สนามมาตรฐาน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 3-4)

สปั ดาห์ที่ 3 กิจกรรมท่ี 1.1 สมรรถภาพทางกาย
สปั ดาห์ท่ี 4 กิจกรรมท่ี 1.2 ฝึกปฏบิ ัตกิ ิจกรรมภาคสนาม

การวัดผลและประเมนิ ผล

แบบประเมนิ ผลกจิ กรรมท่ี 2.1

แบบทดสอบก่อนเรยี น และ หลงั เรียน

งานท่มี อบหมาย

แบบฝึกหัด

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน

กิจกรรมที่ 1.1 สมรรถภาพทางกาย
กจิ กรรมที่ 1.2 ฝกึ ปฏิบตั ิกจิ กรรมภาคสนาม

เอกสารอา้ งองิ

กรณี บุญชัย. (2540) AAHPERD Health-Related Physical Fitness. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ (เอกสารอดั สำเนา).

การกฬี าแหง่ ประเทศไทย. (2536). การฝึกสมรรถภาพทางกาย. กรุงเทพฯ : ไทยมติ รการพมิ พ.์

บนั ทึกหลงั การสอน

1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาที่พบ
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................... ลงชอ่ื ...............................................
(...............................................) (นายอภิสทิ ธิ์ จิตเทีย่ ง)

ตัวแทนนกั เรยี น ครผู ู้สอน

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 หนว่ ยที่ 3

ชอื่ วิชา พลศึกษาเพื่อเพ่อื งานอาชพี เวลาเรยี นรวม36คาบ
ชื่อหน่วย แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายภาพ
สอนครั้งที่ 5/18
ช่ือเร่ือง การทดสอบสมรรถภาพทางกายภาพ
จำนวน 2 คาบ

หวั ขอ้ เร่อื ง

1. ความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
2. ความสำคัญของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

3. ประโยชน์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
4. ขอบขา่ ยของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

5. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐานนานาชาติ (ICSPFT)

สาระสำคญั /แนวคดิ สำคญั

สมรรถภาพทางกาย เป็นส่ิงสำคัญของมนุษย์ ซึ่งแต่ละกิจกรรมต่างๆ หรือการทำงานใดๆ จะใช้
องคป์ ระกอบ ของสมรรถภาพทางกาย เปน็ ส่วนประกอบสำคัญ ดังน้ันการศกึ ษาถึงการทดสอบสมรรถภาพทาง

กายจึงมีความจำเป็นของมนุษย์ เพื่อใช้แบบทดสอบการวัดสมรรถภาพทางกาย เพ่ือให้เหมาะสมกับงานหรือ
กิจกรรมน้นั ๆ

สมรรถนะ

แสดงความร้เู กยี่ วกบั การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ

1. สามารถบอกความหมายของสมรรถภาพทางกายได้

2. สามารถอธิบายความสำคัญของการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้
3. สามารถอธบิ ายประโยชนข์ องการมสี มรรถภาพทางกายไดด้ ี
4. สามารถบอกขอบขา่ ยของการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้
5. สามารถปฏิบตั ิและอธบิ ายแบบทดสอบ สมรรถภาพทางกายมาตรฐาน ICSPFT ได้ถกู ตอ้ ง

เน้อื หาสาระ

2.1 ความหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย หมายถึง การวัดระดบั ความสามารถของร่างกายหรือสว่ นต่างๆ ของ

ร่างกายท่ีต้องการวัดเพ่ือประเมินระดับความสามารถว่าดีมากน้อยเพียงใดโดยเฉพาะ ความแข็งแรงของ
กล้ามเน้ือ ความทนทานของกล้ามเน้ือ ความเร็ว พลังกล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความคล่องแคล่วว่องไว และ
ความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ด้วยแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศที่
นิยมได้แก่ แบบทดสอบ AAHPERD แบบทดสอบ JASA แบบทดสอบฟิสสิคอล เบสท์ และแบบทดสอบ

ICSPFT
ความหมาย ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness Test) หมายถึง การวัดระดับ

ความสามารถของรา่ งกายหรอื ส่วนต่างของร่างกายที่ต้องการวัดเพื่อประเมินระดับความสามารถว่าดีมากน้อย

เพยี งใดโดยเฉพาะ ความแข็งแรงของกลา้ มเนื้อ ความทนทานของกลา้ มเน้ือ ความเร็ว พลงั กล้ามเนือ้ ความออ่ น
ตัว ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว และความทนทานของระบบไหลเวยี นโลหติ

สมรรถภาพทางกายด้านตา่ งๆ นมี้ ีความจาเปน็ และสำคญั แตกต่างกันออกไปตามแตช่ นดิ

กฬี า ฉะนั้นการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา กเ็ พอ่ื วเิ คราะห์ปจั จยั ต่างๆ นาผลทไ่ี ด้ไปปรับปรุง

รปู แบบในการพัฒนานกั กฬี าตอ่ ไป
2.2 ความสำคัญของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( Physical Fitness Test) มีจุดประสงค์เพื่อทราบถึงสมรรถภาพของผู้เข้า
ทดสอบว่ามีสมรรถภาพอยู่ในระดับใด ซึ่งแบบของการทดสอบสมรรถภาพมีอยู่หลายแบบ แต่ละแบบจะมี
เกณฑ์ปกติ (Norms) สามารถนำ ไปเปรียบเทียบกับสมรรถภาพท่ีผ้เู ข้ารบั การทดสอบได้ ผลจากการทดสอบจะ

นำไปประเมินสถานภาพของรา่ งกายและความกา้ วหน้า ถ้าผเู้ ขา้ รบั การทดสอบนั้นมีโปรแกรมการเสริมสรา้ งสม
รถภาพทางกายที่เหมาะสม และมีการทดสอบสมรรถภาพก่อนและหลังการเข้าฝึกตามโปรแกรมการเสริมสรา้ ง

สมรรถภาพทางกาย ผู้ทดสอบจะทราบถึงการเปล่ียนแปลงว่าสมรรถภาพด้านใดที่มีการพัฒนาขึ้นหรือยัง
บกพร่องอยู่ ซึ่งเป็นประโยชนอ์ ย่างยิ่งในการเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายตอ่ ไป

2.3 ประโยชนข์ องการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

2.3.1 ทาใหท้ ราบระดับความสามารถของตนเองหรือผทู้ ีถ่ กู ทดสอบวา่ ระดบั สมรรถภาพทางกายท่ี
ทดสอบน้ันอยู่ในระดับดีมากน้อยเพยี งเม่ือเทยี บเกณฑม์ าตรฐาน

2.3.2 ทาใหท้ ราบถงึ การพัฒนาของสมรรถภาพทางกายและสามารถนาไปปรบั ประยกุ ตโ์ ปแกรมการ
ฝกึ หรอื การออกกาลังกายได้

2.3.3 สมรรถภาพทางกายเปน็ ตัวช้ีวัดอีกดา้ นในการคดั เลอื กนักกฬี าของผูฝ้ ึกสอน

2.3.4 ระดับสมรรถภาพทางกายที่ได้จากการทดสอบจะเป็นตัวกำหนดหรือข้อพิจารณาในการเลือก
กจิ กรรมการออกกาลงั กายเพือ่ สขุ ภาพ

2.4 ขอบขา่ ยของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
เพื่อเปน็ การทาความเข้าใจทีง่ า่ ยและพิจารณาใหง้ ่ายขน้ึ การแบ่งขอบข่ายการทดสอบสมรรถภาพทาง

กายท่ชี ัดเจนจะทาให้ผู้ฝึกสอนกฬี าสามารถมองภาพชดั เจนมากข้นึ ดงั ท่ี กองวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพล

ศึกษา ไดแ้ บ่งขอบข่ายการทดสอบสมรรถภาพทางกายไวด้ งั น้ี
2.4.1 การทดสอบโครงสร้างของรา่ งกาย เชน่ อายุ เพศ น้าหนกั ส่วนสงู เสน้ รอบวงอวยั วะตา่ งๆ และ

จานวนเปอรเ์ ซ็นตไ์ ขมนั ใต้ผิวหนงั
2.4.2 การทดสอบสมรรถภาพกล้ามเนอ้ื เชน่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้อื ความทนทานของกลา้ มเน้ือ

พลงั กล้ามเนือ้ ความเร็ว ความคลอ่ งแคล่ววอ่ งไว เป็นตน้

2.4.3 การทดสอบสมรรถภาพแอโรบคิ เป็นการวัดความสามารถในการในการใช้ออกซิเจนสูงสดุ ของ
รา่ งกาย หรือการทดสอบความทนทานของระบบไหลเวยี นเลอื ดและหัวใจ เชน่ การวงิ่ ระยะไกล การทดสอบดว้ ย

จักรยาน การทดสอบก้าวข้ึนลงม้านง่ั เปน็ ต้น
2.4.4 การทดสอบสมรรถภาพแอนแอโรบิค เป็นการวัดความสามารถในการในการไม่ใช้ออกซิเจน

ร่างกายขณะออกกาลังกาย หรือเป็นการวัดความทนทานของกล้ามเนื้อที่มีต่อกรดแลคติกท่ีเกิดจาก

กระบวนการเผาผลาญพลังงานของร่างกายโดยไม่ใช้ออกซิเจน เช่น การว่ิงทดสอบความเร็วระยะส้ัน การ
ทดสอบดว้ ยจกั รยาน เปน็ ต้น

2.5 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติ (ICSPFT)
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีนิยมใช้กันและเป็นที่ยอมรับจากประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกว่าเป็น

แบบทดสอบท่ีเหมาะสมสำหรับผู้สนใจท่ัวไปและสามารถทดสอบด้วยตนเองได้ คือ แบบทดสอบสมรรถภาพ

ทางกายมาตรฐานนานาชาติ ใช้ชือ่ ยอ่ ว่า ICSPFT ( International Committee Standard of Physical
Fitess Test )ใช้วดั สมรรถภาพทางกายโดยท่วั ไป ประกอบด้วยแบบทดสอบยอ่ ย 8 รายการ ได้แก่

1. ว่ิงเร็ว 50 เมตร (50 Meter Sprint)
2. ยืนกระโดดไกล (Standing Board Jump)

3. แรงบบี ของมือ ( Grip Strength)
4. ลุก – นั่ง 30 วินาที ( 30 Second Sit Up)
5. ดงึ ข้อ งอแขนหอ้ ยตัว (Pull Up)
6. วง่ิ เกบ็ ของ ( Shuttle Run)
7. นงั่ งอตัว/งอตวั ไปขา้ งหน้า ( Trunk Forward Flexion)
8. วง่ิ ระยะไกล (วิ่ง 1,000 เมตร 800 เมตร) ( Long Distance Run)

2.5.1 ว่ิงเร็ว 50 เมตร
เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ “เข้าท่ี” ให้ผู้ทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหน่ึงชิดเส้นเริ่ม

(ไมต่ ้องย่อตวั ในทา่ ออกวิ่ง) เม่ือไดย้ ินหรอื เหน็ สญั ญาณปล่อยตัวใหผ้ เู้ ข้าทดสอบวิ่งใหเ้ ร็วท่ีสุดจนผ่านเส้นชัยควร
ให้ทดสอบ 2 ครง้ั

ผู้จับเวลา 1 คน อาจจับเวลาทีเดียว 2 คนได้โดยใช้นาฬิกาจับเวลา 2 เรือน มือละข้างหรือ
นาฬิกาจับเวลาที่มีเข็มแยกเวลา บันทึกเวลาเป็นวินาทีและทศนิยม 1 ตำแหน่ง (ตำแหน่งแรกของเศษวินาที)
บันทึกเวลาทด่ี ีทีส่ ุดจากการทดสอบ 2 คร้งั ดูจากคะแนนตารางท่ี 2.1

เพศ ตารางที่ 2.1 คะแนนว่งิ 50 เมตร หญิง (วนิ าที)
ชาย (วนิ าที)
อายุ
คะแนน 15 16 17 18 15 16 17 18

10 7.6 7.0 7.0 7.1 9.0 8.7 8.8 8.4
9 7.8 7.1 7.1 7.4 9.2 8.9 9.1 9.0
8 8.0 7.2 7.3 7.7 9.5 9.2 9.5 9.5
7 8.2 7.4 7.4 7.9 9.8 9.4 9.8 10.0
6 8.4 7.5 7.5 8.1 10.0 9.6 10.2 10.5
5 8.6 7.6 7.7 8.3 10.3 9.9 10.6 11.0
4 8.8 7.8 7.8 8.5 10.6 10.1 11.0 11.5
3 9.0 7.9 7.9 8.8 10.8 10.3 11.4 12.0
2 9.1 8.0 8.0 9.0 11.0 10.5 11.7 12.6
1 9.2 8.1 8.2 9.2 11.2 10.6 12.0 13.1
0 9.4 8.3 8.4 9.5 11.5 10.9 12.4 13.6

2.5.2 ยนื กระโดดไกล
ผู้จัดลำดับผู้เข้าทดสอบอธิบายวิธีการกระโดดให้ผู้เข้าทดสอบยืนปลายเท้าท้ังสองชิดเส้นเร่ิม

ซ้อมเหว่ียงแขนทั้งสองไปข้างหน้าพร้อมกับก้มตัว เม่ือได้จังหวะเหว่ียงแขนไปข้างหน้าอย่างแรง พร้อมกับ
กระโดดด้วยเท้าท้ังสองไปขา้ งหน้าให้ไกลท่ีสุด วัดระยะโดยใช้ไม้ T จากจุดท่ีเส้นเท้าลงบนพ้ืนถึงเส้นเริ่ม ถ้าผู้
เข้าทดสอบเสยี หลังหงายหลัง ก้นหรือมือแตะพื้นให้ทดสอบใหม่

บันทึกระยะทางที่ทำได้เป็นเซนติเมตร เอาระยะที่ไกลท่ีสุดจากการทดสอบ 2 คร้ัง ดูคะแนน
จากตารางที่ 2.2

ตารางที่ 2.2 คะแนนยืนกระโดดไกล

เพศ ชาย (เซนตเิ มตร) หญงิ (เซนตเิ มตร)

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
212 209 215 225 169 174 171 164
10 208 207 212 222 167 171 167 160
9 205 205 210 219 165 167 163 156
8 201 203 207 215 162 163 158 152
7 197 201 204 212 159 159 154 148
6 193 199 202 208 157 155 150 144
5 189 197 199 204 154 151 145 140
4 185 194 196 200 150 147 141 136
3 180 192 193 196 147 143 136 132
2 175 189 190 192 143 139 131 128
1 170 186 187 188 139 135 127 124
0

2.5.3 แรงบีบของมอื

ให้ผ้ทู ดสอบใช้มือถูหรือสมั ผัสผง Magnesium เพ่ือกนั ลื่นแล้วจับเคร่ืองมือวดั ใหเ้ หมาะสมท่ีสุด
โดยใช้น้วิ มอื ข้อท่ีสองรับน้ำหนกั ของเครือ่ งมือวัด ยืนตรง ปลอ่ ยให้แขนห้อยขา้ งลำตวั ห่างลำตัวเล็กนอ้ ยพร้อม

แล้ว ให้ออกแรงบีบมือจนสดุ แรง ระหว่างบีบมือห้ามให้มือหรือเครื่องวดั ถกู ส่วนใดของร่างกายและห้ามเหว่ียง
เครือ่ งมือหรอื โน้มลำตวั เพ่ือช่วยออกแรงบบี ทำการทดสอบกบั มอื ทงั้ สองขา้ ง ๆ ละ 2 ครงั้

บันทกึ คร้ังท่ที ำได้มากท่ีสุดของแต่ละขา้ งไว้ ดูจากคะแนนตารางท่ี 2.3

ตารางท่ี 2.3 คะแนนแรงบบี ของมือ

เพศ ชาย (กก.) หญิง (กก.)

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
43 46 48 48 33 33 34 35
10 41 44 46 47 32 32 33 34
9 39 42 44 45 30 30 31 32
8 35 38 39 40 27 27 28 29
7 31 33 35 36 23 24 24 25
6 29 31 33 35 21 23 23 24
5 27 29 31 33 20 21 22 22
4 26 28 30 32 19 20 21 21
3 24 26 28 30 17 18 19 20
2 20 21 23 25 15 16 17 18
1 19 20 22 24 14 15 16 17
0

2.5.4 ลกุ นั่งใน 30 วนิ าที

จัดผู้เข้าทดสอบเป็นคู่ ให้ผู้เข้าทดสอบคนแรกนอนหงายบนเบาะ เข่างอต้ังเป็นมุมฉาก
ปลายเท้าแยยกห่างกันประมาณ 30 ซม. ประสานนิ้วมอื รองทา้ ยทอยไว้ ผูเ้ ข้าทดสอบคนที่ 2 คุดเข่าท่ปี ลายเท้า

ของผู้เข้าทดสอบคนแรง (หันหน้าเข้าหากัน) มือทั้งสองกำและกดข้อเท้าไว้ให้ข้อเท้าติดพื้นเม่ือผู้ให้สัญญาณ
บอก “เร่ิมต้น” พร้อมกบั จับเวลา ผู้เข้าทดสอบลกุ ข้ึนนั่งแล้วกม้ ศีรษะลงไประหว่างหัวเข่าท้ังสอง แล้วกลับลง
นอนในท่าเดิมจนนิ้วมือจรดเบาะจึงกลับลุกขึ้นใหม่ ทำเช่นน้ีติดต่อกันไปอยา่ งลวดเร็วใหไ้ ดจ้ ำนวนครัง้ มากทสี่ ุด

ภายในเวลา 30 วนิ าที
บนั ทกึ จำนวนครั้งท่ีทำถกู ตอ้ งใน 30 วินาที ดูคะแนนจากตารางที่ 2.4

ตารางที่ 2.4 คะแนนลุกนัง่ ใน 30 วินาที

เพศ ชาย (ครั้ง) หญงิ (คร้ัง)

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
23 24 24 25 16 14 17 16
10 22 23 23 24 15 13 16 15
9 21 22 22 23 14 12 15 14
8 20 21 21 22 13 11 13 13
7 19 20 20 21 12 10 12 12
6 18 19 19 20 11 9 11 11
5 17 18 18 19 10 8 9 9
4 15 17 17 18 9 7 8 8
3 14 16 16 17 7 6 7 7
2 13 15 15 16 6 5 5 5
1 12 14 14 15 5 4 4 4
0

2.5.5 ดงึ ข้อ งอแขนหอ้ ยตวั

1. ดึงข้อชายอายุ 12 ปขี ้นึ ไป จัดระดับราวเดีย่ วให้สงู พอท่เี ม่ือเข้าทดสอบห้อยตวั จนสดุ แลว้ เท้า
ไมถ่ งึ พื้น ให้ผ้เู ข้าทดสอบใช้มือถกู ก้อนหรือผล Magnesium carbonate เพ่ือกันลื่นแล้วยืนบนม้ารองจับราวใน

ท่าคว่ำมือห่างกันเท่าช่วงไหล่ เอาม้ารองออกแล้วให้ผู้เข้าทดสอบปล่อยตัวจนแขน ลำตัว และขา เหยียดตรง
เป็นทา่ เร่ิมต้น เกร็งแขนดึงตวั ขึ้นจนคางอยู่เหนือราวแล้วกลับสู่ท่าเริ่มต้น ทำติดตอ่ กันไปให้ได้จำนวนครั้งมาก
ทส่ี ุด ห้ามแก่วงเท้า หรือเตะขา ถา้ หยุดพกั ระหว่างคร้ัง (ข้ึน-ลง) นานเกินกว่า 3-4 วินาที หรอื ไม่สามารถดึงขึ้น

ใหค้ าวพน้ ราวได้ 2 คร้ังตดิ กนั ให้ยุติการทดสอบ
บันทกึ จำนวนครัง้ ท่ีดงึ ได้อย่างถูดต้องและคางพน้ ราว ดจู ากคะแนนตารางที่ 2.5

2. งอแขนห้อยตัว สำหรับชายอายุตำ่ กวา่ 12 ปี และหญิง จัดม้ารองเท้าใกล้ราวเด่ียวให้สูงพอ
เม่ือผู้เข้าทดสอบยืนตรงบนม้า คางจะอยู่เหนือราวเล็กน้อย ให้จับราวด้วยท่าคว่ำมือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่
และแขนงอเต็มที่ เม่ือให้สัญญาณเริ่ม (พร้อมกับเอาม้าออก) ผู้เข้าทดสอบต้องเกร็งข้อแขน และดึงตัวไว้ในท่า

เดิมใหน้ านที่สดุ ถา้ คางต่ำลงถงึ ราวใหย้ ตุ ิการทดสอบ
บันทึกเวลาเปน้ วนิ าทีจาก “เรมิ่ ” จนค้างต่ำลงถึงราว ดูคะแนนจากตารางท่ี 2.5

ตารางที่ 2.5 คะแนนดงึ ข้อชายและงอแขนหอ้ ยตัวหญิง

เพศ ชาย (ครงั้ ) หญงิ (วินาที)

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
12 13 13 13 19.2 30.8 18.3 28.1
10 11 12 12 12 17.6 28.4 16.9 25.6
9 10 11 11 11 16.0 26.0 15.5 23.1
8 9 10 10 10 14.4 23.6 14.1 20.6
7 8 9 9 9 12.7 21.2 12.7 18.1
6 7 8 8 8 11.0 18.8 11.3 15.6
5 6 7 7 7 9.3 16.4 9.9 13.1
4 5 6 6 6 8.3 14.0 8.5 10.6
3 4 5 5 5 7.3 11.6 7.1 8.1
2 3 4 4 4 6.3 9.2 5.7 5.6
1 2 3 3 3 5.3 6.8 4.3 3.1
0

2.5.6 วิ่งเก็บของ
วางไม้ทั้งองท่อนกลางวงที่อยู่ชิดเส้นปลายทาง ผ้เู ข้าทดสอบยืนใหเ้ ท้าข้างใดข้างหน่ึงชดิ เส้นเริ่ม

เม่ือได้ยินสัญญาน “เข้าท่ี” เมื่อพร้อมแล้วผู้ปล่อยตัวสั่ง “ไป” ให้ผู้ทดสอบวิ่งไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1
ท่อนแล้วว่ิงกลับมาวางในวงกลมหลงั เส้นเริม่ กลบั ตัวว่ิงไปหยบิ ไม้อีกท่อนหน่งึ ว่ิงกลับมาวางในวงกลมหลงั เส้น
เริม่ วิ่งผ่านเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไมเ่ ขา้ วงกลมตอ้ งเร่ิมใหม่

บนั ทึกเวลาต่งั แต่ “ไป” จนถึงท่อนไมท้ อ่ นท่ี 2 อ่านละเอียดถึงทศนยิ มอันดบั แรกของวินาทีเอา
เวลาทด่ี ีท่ีสุดจากการทดสอบ 2 ครั้งดูคะแนนจากตารางท่ี 2.6

ตารางท่ี 2.6 คะแนนวงิ่ เกบ็ ของ

เพศ ชาย (วินาที) หญิง (วินาท)ี

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
10.7 10.5 10.7 10.2 12.3 11.8 11.7 11.7
10 10.9 10.7 10.9 10.4 12.5 12.0 11.9 12.0
9 11.2 10.9 11.1 10.6 12.7 12.2 12.2 12.2
8 11.5 11.2 11.3 10.8 12.9 12.4 12.4 12.4
7 11.7 11.4 11.6 10.9 13.1 12.6 12.6 12.6
6 12.0 11.6 11.8 11.0 13.2 12.8 12.8 12.9
5 12.3 11.8 12.0 11.2 13.4 13.0 13.1 13.1
4 12.5 12.0 12.2 11.4 13.6 13.3 13.3 13.3
3 12.7 12.2 12.5 11.7 13.8 13.5 13.5 13.6
2 12.9 12.4 12.7 12.0 14.0 13.7 13.7 13.8
1 13.1 12.6 12.9 12.3 14.2 14.0 13.9 14.00
0

2.5.7 นง่ั งอตัว/งอตวั ไปขา้ งหน้า
ใหผ้ ู้เขา้ ทดสอบนัง่ เหยียดขาตรง เท้าท้ังสองชดิ กันและตงั่ ฉากกับพืน้ ฝ่าเทา้ จรดแกนกลางของท่ี

ต่ังไม้วัด เหยียดแขนตรงขนานกับพ้ืนและค่อย ๆ ก้มตัวลงไปข้างหน้าใช้ปลายน้ิวมือดันแกนที่วัดเลื่อนไป
ข้างหน้า ใหม้ อื อย่เู หนือระดบั ไมว้ ัดจนไมส่ ามารถกม้ ตอ่ ไปห้ามโยกตัวหรอื งอตวั แรง ๆ

บันทึกระยะเซนติเมตร ถ้าเหยียดเลยปลายเท้าบันทึกค่าเป็น “บวก” ถ้าไม่ถึงปลายเท้าให้ค่า

เปน็ “ลบ” ใชค้ า่ ทด่ี ที ่ีสุดจากการทดสอบ 2 ครั้ง ดูคะแนนจากตารางท่ี 2.7

ตารางท่ี 2.7 นัง่ งอตัว/งอตัวไปขา้ งหน้า

เพศ ชาย (เซนติเมตร) หญงิ (เซนตเิ มตร)

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
12.8 16.0 14.2 10.0 12.1 13.5 12.7 14.4
10 11.7 15.1 13.7 9.5 11.3 11.3 12.0 13.4
9 10.6 14.2 13.2 9.0 10.5 11.7 11.3 12.4
8 9.5 13.3 12.7 8.5 9.7 10.8 10.6 11.4
7 8.4 12.4 12.2 8.0 8.9 9.9 9.9 10.4
6 7.4 11.5 11.7 7.5 8.1 9.0 9.2 9.6
5 6.4 10.6 10.2 7.0 7.3 8.1 8.5 8.8
4 5.7 9.7 9.7 6.5 6.5 7.2 7.8 8.0
3 4.4 8.8 9.2 6.0 5.7 6.3 7.1 7.2
2 3.4 7.9 8.7 5.5 4.9 5.4 6.4 6.4
1 2.4 7.0 8.2 5.0 4.1 4.5 5.7 5.6
0

2.5.8 วงิ่ ระยะไกล (วงิ่ 1,000 เมตร 800 เมตร)
ผู้ทดสอบชายวง่ิ 1,000 เมตร

ผู้ทดสอบหญงิ วงิ่ 800 เมตร
เมื่อปล่อยตัวให้สัญญาณ “เข้าที่” ผู้เข้าทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหน่ึงชดเส้นเร่ิม
เมอ่ื พรอ้ มแล้วปล่อยตวั ส่ัง “ไป” ให้ผู้เข้าทดสอบว่ิงไปตามเส้นทางกำหนดพยายามใช้เวลาให้น้อยท่สี ดุ ควร

รักษาความเรว็ ให้คงทีถ่ ้าไมส่ ามารถทนความเหนือ่ ยไดอ้ าจหยดุ เดินแล้ววงิ่ ต่อ หรอื เดนิ ไปจนครบระยะทาง
บนั ทกึ เวลาอย่างละเอียดเปน็ นาทีและวินาทีมที ศนยิ ม 2 ตำแหน่งดูคะแนนจากตารางท่ี 2.8

ตารางที่ 2.8 วิ่งระยะไกล (วง่ิ 1,000 เมตร 800 เมตร)

เพศ ชาย (นาที) หญิง (นาท)ี

อายุ 15 16 17 18 15 16 17 18
คะแนน
3.95 3.84 3.75 3.77 5.06 5.04 5.15 5.71
10 4.27 4.15 4.07 4.10 5.44 5.41 5.56 5.18
9 4.59 4.46 4.39 4.42 5.81 5.77 5.96 5.56
8 5.24 5.09 5.04 5.08 6.57 6.52 6.78 5.95
7 5.88 5.71 5.68 5.73 7.32 7.26 7.60 6.73
6 6.16 6.02 6.00 6.06 7.70 7.63 8.01 7.51
5 6.52 6.33 6.32 6.38 8.07 8.00 8.41 8.90
4 6.53 6.34 6.33 6.39 8.08 8.01 8.42 8.29
3 6.99 6.34 6.34 6.40 8.10 8.05 8.47 8.30
2 7.00 6.33 6.35 6.41 8.12 8.08 8.52 8.35
1 7.01 6.32 6.36 6.42 8.14 8.11 8.57 8.40
0

สอื่ การเรยี นรู้

แบบทดสอบ

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 3)

สปั ดาห์ที่ 1 กิจกรรมท่ี 2 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

การวัดผลและประเมินผล

แบบประเมนิ ผลกิจกรรมท่ี 3
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และ หลังเรยี น

งานท่มี อบหมาย

แบบฝึกหดั

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเร็จของผูเ้ รียน

กจิ กรรมที่ 3 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

เอกสารอา้ งองิ

พูลศกั ด์ิ ประถมบุตร. (2532). การทดสอบและวดั ผลทางพลศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.์
วริ ิยา บญุ ชัย. (2529). การทดสอบ และ วัดผลทางพลศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ .

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................... ลงชือ่ ...............................................
(...............................................) (นายอภิสทิ ธ์ิ จิตเที่ยง)

ตัวแทนนักเรยี น ครูผ้สู อน

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 4 หน่วยที่ 4

ชื่อวิชา พลศึกษาเพอ่ื งานอาชพี เวลาเรยี นรวม36คาบ
ชอ่ื หนว่ ย การเขียนโครงการการแขง่ ขันกีฬา
สอนครั้งท่ี 6-7/18
ชื่อเรือ่ ง โครงการการแขง่ ขันกฬี า
จำนวน 4 คาบ

หวั ข้อเรือ่ ง

1. หลักการเขียนโครงการการแข่งขันกีฬา
2. ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการการแขง่ ขนั กีฬา

สาระสำคญั /แนวคิดสำคญั

การเสริมสร้างสุขภาพและสมรรถภาพทางกายท่ีดีของมนุษย์น้ันคือ การออกกำลังกายอย่างถูกต้อง

เหมาะสม ดังน้ันการออกกำลังกายอยา่ งถูกต้อง ขัน้ ตอน และวิธกี ารจึงเป็นปัจจัยสำคัญ ท่ีช่วยส่งเสริมสุขภาพ
และสมรรถภาพ ท้ังทำให้เกิดการพัฒนาในทุกๆด้าน โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของเด็ก และวัยรุ่น ซ่ึงช่วย

พัฒนาท้งั รา่ งกาย อารมณ์ สังคม ส่วนการรู้จักหาค่าดชั นมี วลกาย เป็นเรื่องสำคญั ในการมาประกอบคิดคำนวณ
ประเมนิ ค่าของรปู ร่างเป็นอยา่ งดี

สมรรถนะ

แสดงความรู้เก่ียวกบั การออกกำลงั กายเพอ่ื สุขภาพและกาหาดชั นมี วลกาย

จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ

1. สามารถบอกขน้ั ตอนการเขยี นโครงการกฬี าได้

2. สามารถอธบิ ายระเบยี บการแขง่ ขนั กีฬาได้
3. สามารถจัดการแขง่ ขันกฬี าสากลได้

เนือ้ หาสาระ

การเขียนโครงการ

สว่ นประกอบของการเขียนโครงการ
1. สว่ นนำ หมายถึง ส่วนทจี่ ะบอกข้อมูลเบ้อื งตน้ ของโครงการโดยให้รายละเอยี ดเกยี่ วกับชือ่

โครงการ ผ้ดู ำเนินโครงการ หรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ความเปน็ มาของโครงการ วตั ถุประสงค์ ดังน้ันส่วนนำจึง

ตอ้ งเขียนใหล้ ะเอียดเพ่อื มงุ่ หมายให้ผอู้ ่าน และบุคคลท่ีทำงานร่วมกนั หรอื ผ้ทู มี่ ีหนา้ ทตี่ ดั สินใจอนมุ ัติใหท้ ำ
โครงการมีความเข้าใจพื้นฐานเปน็ เบอ้ื งต้นกอ่ นทจ่ี ะอ่านรายละเอยี ดของโครงการตอ่ ไป ดงั น้นั ผเู้ ขียนจงึ ตอ้ งมี

ความระมัดระวงั ในเรือ่ งการใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ งได้ใจความ เพอื่ ม่งุ ช้ปี ระเดน็ สำคัญของโครงการใหช้ ัดเจน
2. สว่ นเน้ือหา หมายถึง ส่วนท่ีบอกสาระสำคัญของโครงการโดยใหร้ ายละเอียดเกย่ี วกบั

วิธีดำเนนิ การหรอื ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิอย่างละเอยี ด ถ้าขนั้ ตอนการทำงานมีความสลบั ซับซ้อนมากเท่าใด ผู้เขียน

ตอ้ งพยายามเรยี งลำดบั ขนั้ ตอนการทำงานอยา่ งมรี ะบบและเขยี นแยกเปน็ ตอนๆเพ่ือไม่ทำใหผ้ ู้อา่ นสับสน ท้ังนี้
ถ้าเป็นโครงการระยะยาว อาจเขียนตารางแสดงเวลาการทำงานไวด้ ้วย

3. สว่ นขยายความ หมายถึง ส่วนประกอบต่างๆทีบ่ อกรายละเอียดเกีย่ วกับกลมุ่ เป้าหมาย ซึ่งเปน็
กลมุ่ บุคคลที่ไดร้ บั ผลจากการดำเนนิ โครงการ บอกกำหนดระยะเวลา กรณที ่ีเป็นโครงการระยะสัน้ ตอ้ งแสดง
ตารางเวลาดำเนนิ โครงการ สถานที่ งบประมาณค่าใชจ้ ่าย รวมทัง้ โครงการซึ่งอาจจะเปน็ งบประมาณรวมหรือ

แจกแจงคา่ ใชจ้ ่ายอย่างละเอยี ดก็ได้ และส่วนของประโยชน์หรอื ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั จากการดำเนนิ การตาม
โครงการนั้นๆ ถ้าเป็นโครงการท่จี ดั เกยี่ วกบั การอบรมสัมมนาตอ้ งมีตารางเวลา หรือกำหนดการประชุมไวด้ ้วย

ส่วนขยายความเหลา่ นเ้ี ป็นสว่ นท่ีสำคญั เช่นเดียวกบั ส่วนนำ เพราะจะขยายความให้บคุ คลที่ดำเนินการรว่ มกัน
เขา้ ใจรายละเอยี ดกระจา่ งขน้ึ และผู้มหี นา้ ที่ตดั สินใจอนมุ ตั ิให้ทำโครงการใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลประกอบการตดั สินใจได้

ดยี ่งิ ขนึ้ เม่อื ไดท้ ราบว่าผลทจ่ี ะไดร้ บั นั้นเปน็ ประโยชน์อยา่ งไร และงบประมาณค่าใช้จ่ายจดั สรรใหไ้ ด้หรอื ไม่

อยา่ งไร
ประเภทของการเขียนโครงการ

โครงการแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี
1. การเขยี นโครงการแบบดงั้ เดมิ หรอื การเขยี นโครงการแบบประเพณนี ยิ ม (Conventional
Method) เปน็ โครงการท่ีนำมาใช้ต้งั แต่แรกจนถงึ ปัจจบุ นั รายละเอยี ดของโครงการจะแจกแจงตามหวั ข้อท่ี

กำหนดไว้ ไดแ้ ก่ ชอ่ื โครงการ ชอ่ื บคุ คลหรือหนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
ระยะเวลาดำเนนิ การ สถานท่ดี ำเนนิ การ วธิ ีดำเนนิ การ งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ และการประเมินผล

2. การเขียนโครงการเชงิ เหตุผล หรือการจัดทำโครงการแบบเหตุผลเชงิ ตรรกวทิ ยา (Logical Framework
Method) เป็นโครงการทีม่ รี ายละเอยี ดเปน็ ขน้ั ตอนเปน็ เหตุเป็นผลสมั พนั ธ์กนั และประสานกันท้งั ในแนวต้งั และ
แนวนอน ขององคป์ ระกอบท่เี ป็นโครงสร้างพื้นฐาน

รปู แบบหรือหัวข้อในการเขยี นโครงการข้างตน้ อาจจะมีหัวข้อและรายละเอียดแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะหรือ
ประเภทของโครงการ บางโครงการมรี ายละเอียดมาก บางโครงการมีรายละเอียดนอ้ ย บางโครงการอาจต้อง

เพิ่มเติมหวั ขอ้ ที่มีความสำคัญเขา้ ไป เชน่ โครงการทางดา้ นวิชาการ อาจตอ้ งมกี ารเพ่มิ หัวขอ้ เอกสารอ้างอิง เปน็
ตน้ ทง้ั น้แี ล้วแต่ผู้เขียนโครงการจะพยายามจัดทำขึน้ หรือยดึ ถอื โดยมงุ่ หวงั ให้ผ้อู ่านโครงการหรอื ผปู้ ฏิบตั ิตาม
โครงการมคี วามชดั เจนและเขา้ ใจโดยงา่ ยที่สดุ เพื่อความเข้าใจที่ชดั เจนในเรือ่ งของรปู แบบ หรือโครงสร้างใน

การเขียนโครงการโดยละเอียด
1. ชื่อโครงการ

การตั้งช่ือโครงการต้องมคี วามชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง เป็นท่เี ขา้ ใจได้โดยง่ายสำหรบั ผู้นำ
โครงการไปใช้หรือผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องกบั โครงการ ชือ่ โครงการจะบอกใหท้ ราบว่าจะทำสิ่งใดบ้าง โครงการทจี่ ดั ทำ
ข้นึ น้นั ทำเพื่ออะไร ชือ่ โครงการโดยทว่ั ไปควรจะต้องแสดงลกั ษณะงานทตี่ ้องปฏิบตั ิ ลักษณะเฉพาะของ

โครงการ และจุดมุ่งหมายของโครงการ เชน่ โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการวางแผนเขียนโครงการ โครงการ
ขยายพนั ธพ์ุ ืชเชิงธุรกิจเปน็ ต้น นอกจากน้ีการเขยี นโครงการบางโครงการ นอกจากจะมีชอ่ื โครงการแล้ว ผู้เขียน

โครงการอาจระบชุ ื่อแผนงานไว้ด้วย ทัง้ นี้เพื่อใหเ้ กดิ ความชัดเจนมากยงิ่ ขนึ้ และเปน็ การแสดงใหเ้ ห็นว่า
โครงการที่กำหนดข้ึนอยู่ในแผนงานอะไร สามารถสนับสนนุ และสอดคลอ้ งกบั แผนงานน้นั ได้หรือไม่ มากน้อย
เพียงใด การระบุระดับแผนงานทำให้มองเห็นภาพในมมุ กว้างมากข้นึ และช่วยป้องกนั ปัญหาการทำโครงการท่ี

คดิ แบบแยกส่วนไดใ้ นระดบั หน่งึ
2. หน่วยงานที่รบั ผิดชอบโครงการ

การเขยี นโครงการจะตอ้ งระบุหนว่ ยงานทร่ี ับผิดชอบในการจัดทำโครงการนน้ั ๆ โดยจะตอ้ งระบุ
หน่วยงานตน้ สงั กัด ทจ่ี ดั ทำโครงการ พรอ้ มทั้งระบุถงึ หน่วยงานท่ีมีอำนาจในการอนมุ ัติโครงการ เหตุทตี่ ้องมี
การระบุหน่วยงานทร่ี ับผิดชอบโครงการน้นั กเ็ พ่ือสะดวกต่อการติดตามและประเมินผลโครงการในกรณีทเ่ี ป็น

โครงการความรว่ มมือระหว่างหนว่ ย การเขยี นหนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบกต็ ้องระบุหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ
3. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

โครงการทุกโครงการจะตอ้ งมผี ู้ทำโครงการรับผิดชอบดำเนนิ งาน ตามโครงการทเ่ี ขียนไว้ไม่ว่าตนเอง
จะเป็นผเู้ ขยี นโครงการน้ัน หรอื ผ้อู น่ื เปน็ ผู้เขียนโครงการกต็ าม จะต้องระบุผู้รับผดิ ชอบโครงการนั้นๆ ให้ชัดเจน
ว่าเปน็ ใคร มีตำแหน่งใดในโครงการนนั้ เช่น นายประสงค์ ตนั พชิ ัย มีตำแหนง่ เป็นหวั หนา้ โครงการขยายพันธ์ุ

พชื กต็ อ้ งระบุตำแหน่งในโครงการนนั้ ไปดว้ ย สว่ นตำแหน่งอ่ืนๆ รองลงมาในโครงการอาจจะเขียนรวมๆ ว่าเป็น
ผรู้ ว่ มโครงการ หรอื จะระบตุ ำแหนง่ หนา้ ที่ทีร่ บั ผิดชอบจริงในโครงการดว้ ยก็จะมคี วามชัดเจนยิง่ ขนึ้ เช่น นายนิ

รนั ดร์ ยง่ิ ยวด มีตำแหน่งเปน็ เลขานกุ ารของโครงการขยายพันธุ์พืช เปน็ ต้น

4. หลกั การและเหตุผล

หลักการและเหตุผล เป็นส่วนสำคญั ท่ีแสดงถงึ ปญั หาความจำเป็นหรือความต้องการท่ีตอ้ งมีการจัดทำ
โครงการข้ึนเพื่อแกป้ ัญหา หรอื สนองความตอ้ งการขององค์การ ชุมชน หรือทอ้ งถิน่ นั้นๆ ดังนน้ั ในการเขยี น

หลกั การและเหตุผลผเู้ ขียนโครงการจำเปน็ ต้องเขียนแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ปัญหาหรอื ความต้องการ พรอ้ มทง้ั ระบุ
เหตุผลและข้อมูลท่ีเกยี่ วข้องกับโครงการเพื่อสนับสนุนการจัดทำโครงการอย่างชดั เจน นอกจากนี้อาจต้อง
เชือ่ มโยงใหเ้ หน็ วา่ โครงการทเี่ สนอนีส้ อดคล้องกบั แผนกลยุทธ์ แผนยุทธศาสตร์ หรอื นโยบายของชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ

องค์การ หรือหน่วยงานเจ้าของโครงการและเป็นการวางรากฐานไปสสู่ ภาพทีพ่ งึ ประสงคใ์ นอนาคตขององคก์ าร
หรือหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั โครงการที่ไดจ้ ดั ทำขนึ้

5. วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมาย
โครงการทกุ โครงการจำเป็นต้องมวี ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายเป็นเครื่องชแ้ี นวทางในการดำเนนิ งาน

ของโครงการ โดยวตั ถุประสงคจ์ ะเปน็ ข้อความทแี่ สดงถงึ ความต้องการทจี่ ะกระทำส่งิ ตา่ งๆ ภายในโครงการให้

ปรากฏผลเปน็ รปู ธรรม ซง่ึ ขอ้ ความทใ่ี ช้เขียนวัตถุประสงค์จะตอ้ งชัดเจนไม่คลุมเครือ สามารถวดั และ
ประเมนิ ผลได้ โครงการแต่ละโครงการสามารถมวี ัตถุประสงคไ์ ด้มากกวา่ 1 ข้อ ลักษณะของวตั ถปุ ระสงคข์ น้ึ อยู่

กบั ระดับและขนาดของโครงการ เชน่ ถ้าเปน็ โครงการขนาดใหญ่ วตั ถุประสงคก์ จ็ ะมลี ักษณะที่กว้างเป็น
ลักษณะวัตถปุ ระสงค์ทว่ั ไป หากเปน็ โครงการขนาดเล็ก สามารถลงปฏิบตั กิ ารในพนื้ ที่เป้าหมายหรอื ปฏิบัติงาน
ในลกั ษณะที่แคบเฉพาะเร่อื งเฉพาะอยา่ ง วัตถปุ ระสงคก์ ็จะมลี กั ษณะเฉพาะ หรือโดยทัว่ ไปจะเรียกวา่

วตั ถุประสงค์เฉพาะถงึ อยา่ งไรก็ตามการเขียนวตั ถุประสงคใ์ นโครงการแต่ละระดับ แตล่ ะขนาดจะต้องมี
ความสมั พนั ธ์สอดคลอ้ งกนั วตั ถุประสงคข์ องโครงการยอ่ ย จะต้องสมั พนั ธ์และสอดคล้องกบั วตั ถุประสงคข์ อง

โครงการขนาดใหญ่
การเขียนวตั ถุประสงค์ควรจะตอ้ งคำนึงถงึ ลักษณะทีด่ ี 5 ประการ หรอื จะต้องกำหนดขึ้นด้วยความฉลาด
(SMART) ซง่ึ ประชุม (2535) ไดอ้ ธบิ ายความหมายไว้ดังนี้

S = Sensible (เป็นไปได้) หมายถงึ วัตถุประสงค์จะตอ้ งมคี วามเป็นไปได้ ในการดำเนนิ งานโครงการ
M = Measurable (วัดได)้ หมายถงึ วัตถุประสงค์ทดี่ จี ะต้องสามารถวดั และประเมนิ ผลได้

A = Attainable (ระบุสงิ่ ทต่ี อ้ งการ) หมายถึง วัตถปุ ระสงค์ที่ดีต้องระบุสง่ิ ทีต่ อ้ งการดำเนินงาน อย่างชัดเจน
และเฉพาะเจาะจงมากท่ีสดุ
R = Reasonable (เป็นเหตุเป็นผล) หมายถึง วตั ถุประสงคท์ ด่ี ีตอ้ งมคี วามเป็นเหตุเปน็ ผลในการปฏิบตั ิ

T = Time (เวลา) หมายถงึ วตั ถุประสงค์ท่ีดีจะต้องมีขอบเขตของเวลาทีแ่ น่นอนในการปฏบิ ัติงาน
การเขียนวัตถุประสงคข์ องโครงการมีลักษณะเป็นวัตถปุ ระสงค์เชิงปฏิบัติการที่สามารถแสดงใหเ้ หน็ ถึงแนวทาง

ในการปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งชดั เจนและเขา้ ใจงา่ ยดังนนั้ การเขยี นวัตถุประสงคจ์ ึงควรใช้คำ ทแ่ี สดงถึงความตัง้ ใจ
และเป็นลักษณะเชงิ พฤติกรรมเพอ่ื แสดงให้เหน็ ถงึ การดำเนนิ งานโครงการ เช่นคำวา่ อธิบาย พรรณนา
เลอื กสรร ระบุ สร้างเสริม ประเมินผล ลำดบั แยกแยะ แจกแจง กำหนดรปู แบบ และแกป้ ญั หา เปน็ ตน้ ดงั

ตัวอยา่ งการเขยี นวตั ถุประสงค์โครงการ เช่น
- เพื่อให้สามารถอธบิ ายถึงวิธกี ารเขยี นโครงการได้

- เพื่อให้สามารถเลือกสรรวธิ กี ารอันเหมาะสมในการพัฒนาคณุ ภาพนิสิตฝึกสอน
- เพื่อให้สามารถระบุขน้ั ตอนในการเตรยี มโครงการสอนเกษตรได้
- เพือ่ ให้สามารถจำแนกแยกแยะข้อดีและข้อเสียของการฝึกงานเกษตรภายในฟารม์

นอกจากนยี้ งั มคี ำทคี่ วรหลีกเลยี่ ง ในการใชเ้ ขยี นวัตถุประสงคข์ องโครงการ เพราะเปน็ คำทม่ี คี วามหมายกวา้ ง
ไม่แสดงแนวทางการปฏิบัตใิ ห้บรรลุวัตถุประสงค์ ยากตอ่ การวัดและประเมินผลการดำเนนิ งานได้ คำดงั กล่าว

ได้แก่คำว่า เข้าใจ ทราบ ค้นุ เคย ซาบซ้งึ ร้ซู ้ึง เชอ่ื สนใจ เคยชิน สำนึก และยอมรบั เป็นตน้ ดังตวั อยา่ ง
ประโยค ต่อไปนี้

- เพ่อื ให้เข้าใจถึงการดำเนินงานโครงการ

- เพ่ือให้สามารถทราบถึงความเปน็ มาของปัญหาการปฏิบตั ิการ
- เพอื่ ให้เกดิ ความซาบซงึ้ ในพระศาสนา

สำหรบั การเขยี นเป้าหมาย ต้องเขยี นให้ชดั เจนเพื่อแสดงใหเ้ ห็นผลงานหรือผลลพั ธ์ทีร่ ะบคุ ณุ ภาพ หรอื ปริมาณ
งานที่คาดว่าจะทำให้บังเกิดข้นึ ในระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้ ซึ่งการกำหนดผลงานอาจกำหนดเปน็ ร้อยละ หรือ
จำนวนหนว่ ยทแ่ี สดงปริมาณหรอื คุณภาพต่างๆ เช่น โครงการปลูกขา้ วโพดฝกั ออ่ น เปา้ หมาย คอื ได้ผลผลติ

ขา้ วโพดฝักอ่อนคุณภาพชัน้ ท่ี 1 จำนวน 10 ตนั หรือโครงการอบรมการขยายพนั ธุ์พชื เป้าหมาย คือ เม่อื สน้ิ สุด
โครงการ ผ้ทู ่เี ข้ารบั การอบรมรอ้ ยละ 80สามารถขยายพนั ธพุ์ ชื ได้อย่างถูกวิธี เปน็ ต้น

6. วธิ ีดำเนนิ การ
วิธีดำเนนิ การเป็นงานหรือกิจกรรมที่กำหนดขึ้น เปน็ ข้ันตอนตามลำดับกอ่ นหลงั เพือ่ ใช้ปฏิบัติใหบ้ รรลตุ าม
วตั ถุประสงคข์ องโครงการ วธิ กี ารดำเนนิ การจึงนำวัตถุประสงคม์ าจำแนกแจกแจงเป็นกจิ กรรมยอ่ ยหลาย

กิจกรรม โดยจะแสดงใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนต้ังแต่ต้นจนจบกระบวนการวา่ มีกจิ กรรมใดทจ่ี ะตอ้ งทำเพอื่ ให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ ซงึ่ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้จะนำไปอธิบายโดยละเอยี ดในสว่ นของแผนการปฏบิ ตั งิ านหรือปฏิทิน

ปฏิบตั ิงานอีกครง้ั หนง่ึ
7. แผนการปฏบิ ัติงาน
การเขียนแผนปฏบิ ัติงานเปน็ การนำเอาข้ันตอนต่างๆ ในการดำเนินงานมาแจกแจงรายละเอยี ดใหผ้ ู้ทำโครงการ

สามารถลงมอื ปฏบิ ตั ิงานได้ โดยจะเขยี นรายละเอียดแต่ละงานทตี่ ้องทำ มีใครเป็นผรู้ บั ผิดชอบในงานน้นั บ้าง
จะทำเมอื่ ใด และมวี ิธกี ารในการทำอย่างไร และเพอื่ ให้แผนปฏบิ ตั ิงานสามารถดไู ด้โดยงา่ ย และเป็นเครอ่ื งมือ

ในการควบคุมโครงการ จงึ เขยี นเป็นแผนภูมแิ ทง่ หรือแผนภูมขิ องแกนท์
8. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
ระยะเวลาในการดำเนนิ งานโครงการเป็นการระบรุ ะยะเวลาตัง้ แต่เร่ิมตน้ โครงการจนกระทง่ั ถึงเวลาสิ้นสุด

โครงการว่าใช้เวลาทั้งหมดเท่าใดโดยแสดงให้เห็นจดุ เร่ิมตน้ และสิ้นสุดของโครงการโดยระบุ วันเดือน ปี ที่
เริ่มทำและส้ินสุด ถ้าหากเปน็ โครงการระยะยาว และมีหลายระยะกต็ ้องแสดงช่วงเวลาในแต่ละระยะของ

โครงการนั้นดว้ ยเพื่อใชเ้ ปน็ รายละเอยี ดประกอบการพิจารณา อนุมัติโครงการ
9. งบประมาณและทรพั ยากรที่ตอ้ งใช้
งบประมาณและทรพั ยากรท่ตี ้องใช้เปน็ การระบุถึงจำนวนเงนิ จำนวนบคุ คล จำนวนวสั ดุ

ครุภณั ฑ์และปจั จัยอน่ื ๆ ที่จำเป็นตอ่ การดำเนนิ โครงการนนั้ ๆ หลักในการกำหนดงบประมาณและทรัพยากร
ในการเสนองบประมาณเพื่อดำเนินงานโครงการนนั้ ผูว้ างโครงการควรคำนึงถึงหลักสำคญั 4 ประการในการ

จดั ทำโครงการ โดยจะต้องจดั เตรียมไวอ้ ยา่ งเพียงพอและจะต้องใชอ้ ย่างประหยัด หลักการในการจัดทำ
โครงการดงั กลา่ วไดแ้ ก่
1. ความประหยดั (Economy) การเสนองบประมาณโครงการจะต้องเป็นไปโดยมีความประหยัด ใช้ทรัพยากร

ทุกอย่างใหค้ ้มุ ค่าที่สดุ และได้คณุ ภาพของผลงานดที ่ีสุด
2. ความมีประสทิ ธิภาพ (Efficiency) โครงการทกุ โครงการจะตอ้ งมีคณุ ค่าเปน็ ท่ยี อมรบั และทกุ คนมีความพงึ

พอใจในผลงานทีเ่ กิดข้นึ โดยใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด ประหยดั ท่ีสุด และได้รับผลตอบแทนคุ้มค่า
3. ความมปี ระสทิ ธผิ ล (Effectiveness) โครงการทกุ โครงการจะต้องดำเนินงานเป็นไปตามวตั ถุประสงค์และ
เป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ นำผลทีเ่ กดิ ขน้ึ เทยี บกบั วัตถุประสงค์ท่ตี ้ังไว้หากไดต้ ามวตั ถุประสงค์ทต่ี ้งั ไว้กถ็ อื วา่ มี

ประสทิ ธผิ ล
4. ความยุตธิ รรม (Equity) การจัดสรรทรัพยากรทกุ ชนิด หรอื การใช้จา่ ยทรพั ยากรจะต้องเป็นไปตามเกณฑท์ ี่

กำหนดไว้ ทงั้ น้เี พื่อใหท้ ุกฝา่ ยปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื งคลอ่ งตัว และมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ

หลกั การในการจดั ทำงบประมาณโครงการและจดั สรรทรัพยากร โครงการดงั กล่าวบางคร้งั เรยี กว่า 4E'S ซึง่

เป็นหลกั สำคัญของการบริหารงานโดยทัว่ ไปหลกั การหน่งึ
นอกจากน้คี วรทจี่ ะระบแุ หล่งทม่ี าของงบประมาณและจำนวนทรัพยากรอ่ืนๆ ที่ตอ้ งใช้ควรระบแุ หล่งทีม่ าของ

งบประมาณและทรพั ยากรดว้ ย เช่น จากงบประมาณแผ่นดนิ งบประมาณเงินรายไดข้ องหนว่ ยงาน งบประมาณ
จากการช่วยเหลอื ของต่างประเทศ งบประมาณจากการบริจาคของหนว่ ยงานหรือองคก์ รเอกชน นอกจากน้ีอาจ
เปน็ งบประมาณที่ได้จากการเกบ็ ค่าลงทะเบยี นของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ซ่งึ งบประมาณในลักษณะหลังนมี้ ักนิยม

ใชก้ ับโครงการฝึกอบรมเป็นสว่ นใหญ่ และเปน็ โครงการท่สี ามารถดำเนนิ การได้โดยงา่ ย เนื่องจากไมต่ ้องพึ่งพา
งบประมาณจากภายนอก

10. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
ในส่วนนีจ้ ะแสดงถึงการตดิ ตาม การควบคมุ การกำกับ และการประเมนิ ผลโครงการเพือ่ ให้โครงการบรรลุถงึ
วตั ถปุ ระสงค์ที่ไดก้ ำหนดไว้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ผู้เสนอโครงการควรระบุวธิ ีการทใ่ี ชใ้ นการควบคุม และ

ประเมนิ ผลโครงการไว้ใหช้ ดั เจน ทัง้ นี้อาจจะตอ้ งระบุบคุ คลหรอื หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบในการประเมินโครงการ
พร้อมทั้งบอกรูปแบบการประเมนิ ผลโครงการ เช่นประเมินกอ่ นดำเนนิ การ ขณะดำเนนิ การ หลังการ

ดำเนนิ การ หรือจะระบุเวลาชดั เจนว่าจะประเมนิ ทกุ ระยะ 3 เดอื น เป็นตน้
11. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
สว่ นนจี้ ะเปน็ การบอกถึงวา่ เม่ือโครงการทที่ ำสิ้นสุดลง จะมีผลกระทบในทางที่ดีทคี่ าดว่าจะเกิดขึ้นโดยตรงและ

โดยอ้อม โดยระบุใหช้ ัดเจนว่าใครจะไดร้ บั ผลประโยชนแ์ ละผลกระทบน้นั ไดร้ บั ในลกั ษณะอย่างไร ทั้งในเชิง
ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ

นอกจากสว่ นประกอบทง้ั 11 รายการที่ไดก้ ล่าวแล้ว การเขยี นโครงการแบบประเพณนี ิยมยังอาจมี
ส่วนประกอบอน่ื ๆ อีกเช่น
1. หน่วยงานท่ใี ห้การสนับสนนุ หมายถึง หน่วยงานท่ีให้ความรว่ มมอื หรือให้งบประมาณสนบั สนนุ ในการ

ดำเนนิ งานเพื่อใหโ้ ครงการบรรลุวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนดไว้
2. ผูเ้ สนอร่างโครงการ หมายถึงผเู้ ขยี นและทำโครงการขึ้นเสนอใหผ้ ู้มีอำนาจในการพจิ ารณาอนมุ ตั โิ ครงการ ใช้

ในกรณีทผี่ ้ทู ำโครงการไม่ไดเ้ ป็นผูเ้ ขียนโครงการเอง
3. เอกสารอา้ งองิ หมายถงึ เอกสารทเ่ี ป็นแหลง่ ค้นควา้ อา้ งอิงในการทำโครงการในเรือ่ งนน้ั และใช้สำหรับศึกษา
คน้ คว้าเพิ่มเติมเมื่อผู้ปฏบิ ัติโครงการเกดิ ข้อสงสัย

ปญั หาในการเขยี นโครงการ
ในการเขยี นโครงการน้ันเปน็ การกำหนดกิจกรรมตา่ งๆ หรือกจิ กรรมท่จี ะทำในอนาคตโดยอาศยั ข้อมูลต่างๆ ทม่ี ี

อยใู่ นปัจจุบันเป็นตวั กำหนดกิจกรรมในโครงการ เมอ่ื เป็นเช่นนหี้ ากเปน็ โครงการทีด่ ียอ่ มนำมาซ่ึงคณุ ภาพและ
ประสทิ ธภิ าพของหน่วยงาน โครงการบางโครงการเมอื่ เขยี นข้ึนมาแลว้ ไมส่ ามารถนำไปใช้ปฏบิ ัตไิ ด้ เนอื่ งจาก
ปญั หาต่างๆ ซึ่งสามารถสรปุ ได้ดังน้ี

1. ขาดบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถทีแ่ ท้จริงในการเขยี นโครงการ โครงการจำนวนไม่น้อยทเี่ ขยี นข้ึน โดย
บุคคลทไี่ มม่ ีความรคู้ วามสามารถในเรอื่ งนั้น ขาดข้อมลู ที่มีความเป็นจริง หรือขาดขอ้ มูลที่จะตอ้ งใชจ้ ริง ผู้เขยี น

โครงการเขยี นโครงการโดยไดร้ ับการมอบหมายจากผบู้ งั คับบัญชาผลจากการเขียนโครงการในลักษณะน้จี ะทำ
ให้เกิดปญั หาแก่ผปู้ ฏบิ ัติโครงการในการจะนำเอาโครงการไปปฏบิ ัติให้เกิดเป็นผลไดอ้ ย่างมีคุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพ

2. ระยะเวลาท่ใี ช้ในการเขยี นโครงการ หลายโครงการประสบปญั หาเกย่ี วกบั การจัดทำโครงการในระยะอนั สัน้
ทำให้ไม่สามารถที่จะศกึ ษาข้อมูลพน้ื ฐานต่างๆ ทีเ่ ก่ียวข้องได้อยา่ งละเอียด ข้อมูลบางชนดิ ขาดการวิเคราะหท์ ีด่ ี

พอ เมอ่ื เขยี นโครงการข้ึนมาแลว้ จงึ ขาดความชดั เจนของข้อมูล จงึ เป็นปัญหายุง่ ยากในการนำเอาโครงการไป
ปฏบิ ตั ิ

3. ขาดวัตถุประสงคท์ ีช่ ดั เจน ในการเขียนโครงการบางโครงการขาดวตั ถปุ ระสงค์ท่ีชัดเจนในการเขียนโครงการ
เป็นผลใหเ้ กิดความยงุ่ ยากต่อการตรวจสอบ ควบคุมและตดิ ตามการดำเนนิ งาน และมผี ลสบื เนอ่ื งถึงการ
ประเมนิ ผลโครงการดว้ ย
4. การเขียนโครงการเป็นเรอ่ื งของอนาคต ทอ่ี าจมีความไมแ่ น่นอนเกดิ ขึ้น อันเปน็ ผลมาจากตัวแปรต่างๆ ที่
ผู้เขียนโครงการไมส่ ามารถควบคุมได้ เช่น ภยั ธรรมชาตติ ่างๆ หรือเหตกุ ารณ์ทีไ่ ม่คาดคิด ได้แก่ การเมือง
เศรษฐกิจ สิ่งต่างๆ เหลา่ น้ลี ้วนมผี ลกระทบตอ่ การดำเนินงานท้งั ส้นิ และเป็นส่งิ ทีไ่ มส่ ามารถควบคุมได้ จงึ เป็น
ปัญหาอย่างสำคญั ของการเขียนโครงการ
5. ขาดการสนบั สนนุ จากผู้บรหิ ารองค์การ ในบางครง้ั การเขียนโครงการ แมจ้ ะเขยี นดีเพียงใด หากผูบ้ รหิ าร
ไม่ให้ความสนใจขาดการสนบั สนุนในเรื่องงบประมาณ และทรพั ยากรต่างๆท่ีจำเป็นตอ่ การทำโครงการอยา่ ง
เพยี งพอ ยอ่ มจะสรา้ งปญั หาใหแ้ ก่การดำเนินโครงการไดเ้ ชน่ เดียวกนั
6. ขาดการประสานงานและรว่ มมือจากผมู้ ีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง โครงการบางโครงการจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งมีการ
ประสานงานกบั องคก์ รหรือหนว่ ยงานอน่ื ๆ เพ่ือให้โครงการทีท่ ำอยูบ่ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทต่ี ้ังไว้ โครงการท่จี ะ
สำเร็จได้จะต้องไดร้ บั ความรว่ มมือจากองค์กรหรอื หน่วยงานทมี่ สี ่วนเกีย่ วข้องในการปฏบิ ตั ติ ามโครงการด้วย
หากขาดการประสานงานและรว่ มมอื จากผ้มู ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งแลว้ กจ็ ะทำใหเ้ กดิ ปัญหาในการทำโครงการ โครงการ
ดงั กลา่ วก็บรรลวุ ัตถุประสงคไ์ ด้ยากหรอื อาจจะไม่บรรลุวัตถปุ ระสงคก์ ็ได้

ส่ือการเรียนรู้

แบบฝึก

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 4)

สัปดาห์ที่ 1 กิจกรรมที่ 4.1 หลกั การเขยี นโครงการ
กิจกรรมท่ี 4.2 แบบฝกึ การเขยี นโครงการ

การวดั ผลและประเมนิ ผล

กิจกรรมที่ 4.1 การเขียนโครงการ
กิจกรรมที่ 4.2 แบบฝกึ การเขยี นโครงการ

งานทม่ี อบหมาย

แบบฝึกโครงการ

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสำเร็จของผู้เรียน

กิจกรรมที่ 4.1 การเขยี นโครงการ
กิจกรรมที่ 4.2 แบบฝึกการเขยี นโครงการ

เอกสารอ้างองิ

Barrow, Harold M. and McGee, Rosemary. (1997). A Practical Approach to
Measurement in Physical Education. Philadelphia : Lee & Febiger.

Baumgartner,Ted A. and Jackson, Andrew S. (1982). Measurement for Evalution in
Physical
Education. Dubuque, lowa : Wm. C. Brown Publishers.

บันทึกหลงั การสอน

1. ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้
.................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแกป้ ญั หา
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................... ลงช่ือ...............................................
(...............................................) (นายอภิสิทธิ์ จิตเทย่ี ง)

ตัวแทนนกั เรียน ครูผ้สู อน

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 หนว่ ยที่ 5

ชื่อวิชา พลศกึ ษาเพือ่ งานอาชพี เวลาเรียนรวม18คาบ
ชื่อหน่วย วิธีจัดการแข่งขัน
สอนคร้ังท่ี 8-10/18
ช่ือเรอ่ื ง รปู แบบวิธีจดั การแข่งขนั
จำนวน 6 คาบ

หัวข้อเรอ่ื ง

1. หลักการและวธิ จี ัดการแขง่ ขัน
2. วธิ จี ัดการแข่งขนั แบบพบกนั หมด
3. วธิ ีจดั การแขง่ ขันแบบแพค้ ัดออก

4. วธิ ีจัดการแขง่ ขนั แบบผสมผสาน

สาระสำคญั /แนวคดิ สำคัญ

การออกกำลังกาย และการเล่นกีฬา อาจได้รบั อุบัติเหตุ หรือบาดเจ็บโดยไม่ได้แก้ แต่การบาดเจ็บจะ
มากหรอื นอ้ ย การปฐมพยาบาลอยา่ งถกู วธิ ีกจ็ ะทำให้หายปกติ หรืออยา่ งน้อยก็ลดอันตรายได้ อาการต่างๆ ของ
การปฐมพยาบาล การบาดเจ็บทางการกีฬา หรอื ออกกำลังกาย ทีถ่ ูกวธิ ีก็จะทำใหส้ ามารถกลบั มาสกู่ ารเล่นกีฬา
ไดต้ ่อไป

สมรรถนะ

แสดงความรู้เกย่ี วกบั การปฐมพยาบาลภาวะบาดเจบ็ ทางการกีฬาและการออกกำลังกาย

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

1. สามารถอธบิ ายวิธีการจัดการแขง่ ขนั ในรปู แบบตา่ งๆได้
2. สามารถจดั การแขง่ ขันในรปู แบบต่างๆได้

เนือ้ หาสาระ

ส่ือการเรยี นรู้

แบบทดสอบ

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 8-10)

สัปดาห์ที่ 8 กจิ กรรมท่ี 5.1 แบบฝึกการจัดการแขง่ ขนั แบบพบกนั หมด
สัปดาห์ท่ี 9 กิจกรรมท่ี 5.2 แบบฝึกการจดั การแขง่ ขนั แบบแพ้คัดออก

สปั ดาห์ท่ี 10 กิจกรรมที่ 5.3 แบบฝึกการจดั การแขง่ ขันแบบผสมผสาน

การวดั ผลและประเมนิ ผล

กิจกรรมที่ 5.1 แบบฝึกการจัดการแข่งขนั แบบพบกนั หมด
กิจกรรมที่ 5.2 แบบฝกึ การจดั การแขง่ ขนั แบบแพ้คดั ออก

กิจกรรมที่ 5.3 แบบฝกึ การจัดการแขง่ ขนั แบบผสมผสาน
แบบทดสอบก่อนเรยี น และ หลังเรยี น

งานที่มอบหมาย

แบบฝกึ หัด

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน

กจิ กรรมท่ี 5.1 แบบฝึกการจัดการแขง่ ขันแบบพบกนั หมด

กิจกรรมที่ 5.2 แบบฝึกการจัดการแข่งขนั แบบแพค้ ดั ออก
กจิ กรรมท่ี 5.3 แบบฝกึ การจดั การแขง่ ขนั แบบผสมผสาน

สาระเนือ้ หา

วิธกี ารจดั การแขง่ ขนั

ชนิดของการแขง่ ขนั
วิธกี ารจดั การแขง่ ขนั แบบแพ้คัดออก
การแข่งขนั ตามวธิ ีนี้ จะจัดสำหรบั กีฬาทีเ่ ป็นรายบคุ คล เช่น มวย, ยโู ด, เทนนิส, กรีฑา เป็นตน้ หรอื
เปน็ ทมี เชน่ ฟตุ บอล, รักบฟ้ี ตุ บอล, บาสเกตบอล, วอลเลยบ์ อล, ตะกร้อ เป็นตน้ ก็ได้ แต่นิยมจดั รายบคุ คล
มากกว่าทีมผ้เู ข้าแขง่ ขนั จะถกู จดั ให้ทำการแข่งขันกบั ใครหรอื ทีมใดกไ็ ด้ ทงั้ นแี้ ลว้ แตก่ ารเสี่ยง โดยเขียน
หมายเลขเท่ากบั จำนวนผู้เข้าแขง่ ขันลงในกระดาษ ม้วนใสก่ ระป๋อง เขยา่ ใหค้ ละกนั แล้วให้ผู้แทนหรือกรรมการ
หยบิ ขนึ้ ทีละช้ิน ใครได้หมายเลขไหนกจ็ ดั เข้าตามตาราง วิธีการจดั การแข่งขันแบบแพค้ ัดออก ไดแ้ ก่
1.1 การแขง่ ขันแบบแพค้ ร้ังเดยี วคดั ออก ( Single Elimination )
หลักท่ี1 ถ้าจำนวนผู้เข้าแข่งขันเป็นกำลังสองของสอง ( Power of two) คือ 21, 22, 23, 24,...2n
ไดแ้ ก่ 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128….. ก็จัดเข้าคู่ได้เลย ใครแพ้ก็คัดออก ใครชนะก็เลน่ ต่อไป ในรอบทีเ่ หลือ 8 ทีม
สุดทา้ ย เรยี กวา่ รอบกอ่ นรองชนะเลิศ ( Quarter -Final ) ถ้าเหลือ 4 ทีมสดุ ท้ายเรียกวา่ รอบรองชนะเลิศหรือ
รอบตัดเชือก ( Semi – Final ) รอบท่ีเหลือ 2 ทีมสุดท้าย เรียกว่า รอบชิงชนะเลิศ ( Final ) ใครชนะในรอบน้ี
กถ็ อื วา่ เป็นผชู้ นะเลิศ(Championship ) และคนแพก้ ็เปน็ ผูร้ องชนะเลศิ ( Runner – Up )

ตัวอยา่ ง ถ้ามีผเู้ ข้าแข่งขัน 8 ทีม

ตามตารางน้ี หมายเลข 8 เปน็ ผู้ชนะเลิศ หมายเลข 4 เป็นรองชนะเลศิ

หลักท่ี 2 ถา้ จำนวนผเู้ ขา้ แขง่ ขันไมเ่ ป็นกำลงั สองของสอง ถึงแมจ้ ะเป็นเลขคู่เชน่ 6, 12, 8 เป็นต้น ก็
ตามจะต้องหาบาย ( Bye ) ซึ่งหมายความวา่ ผเู้ ข้าแขง่ ขันทไี่ ด้บาย ไมต่ อ้ งทำการแข่งขันในรอบแรกวิธีหา
บาย ตวั อย่าง ถ้ามผี เู้ ข้าแขง่ ขัน 11 ทีม จะจัดเข้าพวก 2 กำลงั 3 คอื 8 กไ็ ม่ได้เพราะเกิน จำต้องจัดเขา้ พวก 2

กำลัง 4 คือ 16 ซึ่งขาดไป 5 ทมี เพราะฉะนัน้ 5 ทีมนี้จะได้บาย โดยไมต่ อ้ งทำการแข่งขนั ในรอบแรก การ
จัดบายเขา้ ตารางเพอื่ ความสะดวก ถา้ บายเป็นจำนวนคู่ ใหจ้ ัดไวข้ า้ งบนสดุ ครึง่ หน่ึง ข้างลา่ งสุดครงึ่ หนึง่ ถา้ มี
จำนวนค่ีใหจ้ ัดไวข้ ้างบน น้อยกวา่ ขา้ งล่าง เชน่ มีบาย 5 กจ็ ดั ไวข้ ้างบน 2 ไวข้ ้างล่าง 3 เป็นตน้

ตวั อย่าง ถ้ามผี ู้เข้าแข่งขนั 11 ทีม

ตามตารางน้ี หมายเลข 6 เป็ นผู้ชนะเลศิ หมายเลข 10 เป็ นรองชนะเลศิ

วิธีหาจานวนคร้ัง และ รอบทที่ าการแข่งขนั

- หาจานวนคร้ัง เพ่อื ความสะดวกแก่การกาหนดวนั แข่งขนั จึงควรทราบว่า “จานวนคร้งั ที่เขา้ แข่งขนั

จะน้อยกว่าจานวนผูเ้ ขา้ แข่งขนั อยู่ 1 เสมอ” เช่น มีผูเ้ ข้าแข่งขนั 8 คน ก็มีการแข่งขนั 7 คร้ัง หากมี 11 ทีม ก็

แข่งขนั 10 คร้งั เป็นตน้

- หาจานวนรอบ ให้ดูจากจานวนเต็มของกาลงั สองของสอง คือ “จานวนรอบที่ทาการแข่งขันจะ

เพ่มิ ข้ึน 1 ตามลาดบั ของกาลงั สองของสอง” เช่น

ผแู้ ข่งขนั ไมเ่ กิน 2 คน จะทาการแขง่ ขนั 1 รอบ

ผแู้ ข่งขนั เกิน 2 คนแต่ไม่เกิน 4 คน จะทาการแข่งขนั 2 รอบ

ผแู้ ข่งขนั เกิน 4 คนแต่ไม่เกิน 8 คน จะทาการแข่งขนั 3 รอบ

ผแู้ ข่งขนั เกิน 8 คนแตไ่ ม่เกิน 16 คน จะทาการแขง่ ขนั 4 รอบ

วิธกี ารจัดการแข่งขนั แบบแพ้สองคร้ังคัดออก
การจดั วิธีน้ีเป็ นการให้โอกาสแก่ผูเ้ ขา้ แข้งขันท่ีแพไ้ ปแลว้ ในรอบแรก ได้มีโอกาสแกต้ วั อีกและ
สามารถเขา้ มาแขง่ ขนั ในรอบชิงชนะเลศิ ไดอ้ ีก ซ่ึงอาจมีโอกาสชนะเลิศไดอ้ ีกดว้ ย การจดั แบบน้ีผเู้ ขา้ แข่งขนั
ไดแ้ ข่งขนั อยา่ งนอ้ ยท่สี ุด 2 คร้งั การแข่งขนั จึงตอ้ งใชเ้ วลานานกวา่

ใชห้ ลกั การแบบเดียวกบั แพค้ ร้ังเดียวคดั ออก โดยการแข่งขนั แพ้ 2 คร้ังคดั ออกน้ี จะแบ่งออกเป็น 2
ขา้ ง คือ ขา้ งท่ีแข่งขนั ชนะในแต่ละคู่ จะอย่ทู างขวา ขา้ งท่ีแพจ้ ะอยูข่ า้ งซ้าย แลว้ ดาเนินการแข่งขนั จนเหลือ
ขา้ งละ 1 ทีม คือทีมท่ีเหลือทางขวา ได้แก่ผูช้ นะในฝ่ ายชนะ และทีมท่ีเหลือขา้ งซ้าย คือผูช้ นะในฝ่ ายแพ้
จากน้นั นาผูช้ นะท้งั 2 ฝ่ ายแข่งขนั กนั ถา้ ผชู้ นะในฝ่ายชนะ (ขา้ งขวา) ชนะการแข่งขนั จะเป็นผชู้ นะเลิศไดเ้ ลย
แต่ถา้ ผูช้ นะในฝ่ ายแพ้ (ขา้ งซ้าย) ชนะในการแข่งขนั คะแนนจะเท่ากัน ต่างคนต่างแพ้ 1 คร้ัง ดงั น้ันจะตอ้ ง
จดั การแขง่ ขนั ข้นึ อกี 1 คร้งั เพ่ือช้ีขาดวา่ ใครจะเป็นผูช้ นะเลิศ
ตัวอย่าง ไม่มที ีมบาย จานวนผ้เู ข้าแข่งขนั 8 ทีม

ตัวอย่าง มีทมี เข้าแข่งขัน จานวน 6 ทมี บาย 2 ทีม

การแข่งขนั แบบชมเชย ( Consolation)

เป็นวธิ ีการแข่งขนั แบบเดียวกบั แพ้ 2 คร้ังคดั ออก แต่ต่างกนั อยตู่ รงทฝี่ ่ ายแพซ้ ่ึงอยทู่ างซา้ ยมือเช่นกนั
กแ็ ข่งขนั กนั ระหว่างผูแ้ พ้ เพอื่ หาผชู้ นะเลิศระหว่างผแู้ พด้ ว้ ยกนั และผูช้ นะเลศิ ในหมผู่ ูแ้ พน้ ้ัน ไม่ให้พบกบั ผู้
ชนะเลิศทางขวาอีก ซ่ึงทางขวาเป็นผูช้ นะไปเร่ือยๆ จึงเป็ นผูช้ นะเลิศในการแข่งขนั ท้งั หมด ส่วนผูช้ นะเลิศ
ระหว่างผแู้ พ้ (ทางซา้ ย) ก็เป็นผชู้ นะชมเชย ถา้ จานวนทมี ทตี่ อ้ งมีบายไม่นิยมจดั

ชนะคดั ออก ( Consolation )
จดั อย่างวิธีแพค้ ร้ังเดียวคดั ออก แต่แทนที่จะเป็นผูแ้ พถ้ ูกคดั ออก กลบั เป็ นผูช้ นะถูกคดั ออก เหมาะ
สาหรบั การฝึกซอ้ มกนั มิใหผ้ ฝู้ ึกซ้อมเกียจคร้านในการแข่งขนั คือ ถา้ หากแพจ้ ะตอ้ งทาการแข่งขนั จนถึงท่สี ุด
จนไดเ้ ป็นราชาของผแู้ พ้

วธิ ีการจัดการแข่งขนั แบบพบกนั หมด

เป็ นการแข่งขันท่ีทุกทีมที่เข้าแข่งขันจะต้องพบกันท้ังหมด ไม่ว่าจะเป็ นผูแ้ พห้ รือผูช้ นะก็ตอ้ ง

แขง่ ขนั กบั ทีมอืน่ ๆ ตลอดไปจนครบทกุ ทีม ส่วนการแพห้ รือชนะข้นึ อยกู่ บั คะแนนทีก่ าหนดให้

ชนะได้ 2 คะแนน

เสมอได้ 1 คะแนน

แพไ้ ด้ 0 คะแนน

เม่ือทุกทีมทาการแข่งขนั กนั หมดแลว้ จากคะแนนที่ไดไ้ วจ้ ากการแข่งขนั แต่ละคร้ัง ทีมใดไดค้ ะแนน

มากท่ีสุดกเ็ ป็น “ผชู้ นะเลิศ”

การหาจานวนคร้ังที่ทาการแข่งขัน

หลัก เอาจานวนทีมท่ีเข้าแข่งขันต้ัง คูณด้วยจานวนทีมที่เขา้ แข่งขนั ลบดว้ ยหน่ึง แล้วหารด้วย 2
เทา่ กบั จานวนคร้งั ทท่ี าการแขง่ ขนั

สูตร M = N ( N – 1 )
2

M = Matches คือ จานวนคร้ังทีท่ าการแข่งขัน
N = Number คือ จานวนทมี ทเี่ ข้าทาการแข่งขัน
ตัวอย่าง มีผ้เู ข้าแข่งขนั 12 ทีม
M = 12 ( 12 – 1 ) = 12 * 11 = 132

2 22
= 66 คร้ัง

การแข่งขันแบบพบกนั หมด อาจจดั ได้ 2 แบบคือ
ชายธง ( Column )
เขียนเป็นแถวๆ โดยแถวที่ 1 ให้ทีมที่ 1 เป็นหลกั พบกบั ทุกทีม แถวถดั ไปเร่ิมทีมท่ี 2 เป็ นหลกั พบ
กบั ทกุ ทมี ยกเวน้ ทมี ที่ 1 ส่วนแถวอื่นๆ ก็ทาเช่นเดียวกนั ดงั ตวั อยา่ งทมี ทเี่ ขา้ แข่งขนั ท้งั หมด 6 ทมี

1-2 2-3 3-4 4-5 5-6
1-3 2-4 3-5 4-6
1-4 2-5 3-6
1-5 2-6
1–6

แบบตาราง (Chart)
เราจะทาเป็ นตารางดงั น้ี โดยสมมุติให้มี 6 ทมี คือ ก ข ค ง จ ฉ

การจดั คแู่ บบน้ียงั มปี ระโยชน์อ่นื ๆ อีก คอื
ก การกาหนดวนั ในการแขง่ ขนั และกาหนดคูล่ งสนามแขง่ ขนั
ข บนั ทกึ ผลการแข่งขนั
ก. การกาหนดวนั ในการแข่งขนั และการกาหนดคู่ลงสนามแขง่ ขนั มีหลกั การในการจดั อยู่ 2 แบบ
คอื
แบบท่ี 1 จานวนทีมท่ีเขา้ แข่งขนั ก่ีทีมกแ็ ขง่ เสร็จภายในเทา่ น้นั วนั เช่น 7 ทีม กจ็ ะเสร็จภายใน 7 วนั 8
ทมี ภายใน 8 วนั

ตัวอย่าง 7 ทมี แข่งขันภายใน 7 วัน

หลกั การลงวนั แข่งขนั
แถวที่ 1 ลงวนั แขง่ ขนั วนั ที่ 1, 2, 3,… ใหค้ รบทุกช่อง เรียงแถวใหม่ ตอ้ งเริ่มดว้ ยตวั เลขทีม่ ากกวา่ ช่อง
อยบู่ นหน่ึงแต่ไม่เกินวนั แข่งขนั ถ้าเกินวนั แข่งขนั ให้เริ่มวนั ที่ 1 ใหม่ฉะน้นั ตามตารางจะเขียนไดด้ งั น้ี (ดงั
ตวั อยา่ งวนั ท่ี 3)
วนั ท่ี 3 ก-ง ข-ค จ-ช
วนั ท่ี 4 ก-จ ข-ง ฉ-ช
แบบที่ 2 จานวนทีมที่เขา้ แข่งขนั เป็นเลขคู่ จดั วนั แข่งให้นอ้ ยกว่าจานวนทีมอยู่ 1 วนั เช่น 8 ทีม จดั
ใน 7 วนั
ตวั อย่าง 8 ทมี แข่งขนั ภายใน 7 วนั

หลกั การจดั
ตอนแรกเหมอื นแบบท่ี 1 ต้งั แต่แถวที่ 2 ช่องสุดทา้ ยจะมจี านวนมากกวา่ เลขตวั แรกของแถวบนอยู่ 1
ข. การบนั ทึกผลของการแขง่ ขนั ตารางแสดงผเู้ ขา้ แข่งขนั 8 ทีม

วิธีการจดั การแข่งขันรวมกนั หรือผสม
เป็นวิธีการนาเอาแบบการแข่งขนั วิธีต่างๆ มารวมกนั เน่ืองจากจานวนทีมที่เขา้ แข่งขนั มีจานวนมาก
จานวนวนั แข่งขนั มาก ฉะน้นั ถา้ จดั แบ่งออกเป็นสาย รอบแรกให้แต่ละสายแข่งกนั แลว้ คดั เอาผูช้ นะเลิศ หรือ
รองชนะเลิศ มาสายละทมี หรือสองทีม แลว้ จดั แขง่ ขนั ในรอบที่ 2 เพื่อหาทีมชนะเลิศ วิธีจดั การแข่งขนั แบบ
น้ี ไดแ้ ก่

1. แบบพบกนั หมดตามดว้ ยพบกนั หมด ( League follow by league )
2. แบบพบกนั หมดตามดว้ ยแพค้ ดั ออก ( League follow by Knock-out )
3. แบบแพค้ ดั ออกตามดว้ ยแพค้ ดั ออก ( Knock-out follow by knock-out )
4. แบบแพค้ ดั ออกตามดว้ ยพบกนั หมด ( Knock-out follow by league

ตัวอย่าง มีผเู้ ขา้ แข่งขนั 16 ทมี จดั แข่งขนั แบบพบกนั หมดตามดว้ ยแพค้ ดั ออก ( แบบท่ี 2 )

รอบที่ 1 จดั แบ่งสายพบกันหมด ผ้ชู นะเลิศในแต่ละสาย

สายท่ี 1 มีทีม จดั 1-2 2-3 3-4 3

1, 2, 3, 4 1-3 2-4

1-4

สายที่ 2 มีทีม จดั 5-6 6-7 7-8 8

5, 6, 7, 8 5-7 6-8

5-8

สายท่ี 3 มีทมี จดั 9-10 10-11 11-12 10

9, 10, 11, 12 9-11 10-12