หลักการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ หลักสมรรถนะ

1

    • ทำไมต้องบริหาร
    • การบริหารทรัพยากรบุคคลเกี่ยวข้องกับงาน

ของเราอย่างไร

    • แนวโน้มของการบริหารทรัพยากรบุคคลของ

ภาคราชการในอนาคต

การบริหารทรัพยากรบุคคล

2

เป็นศาสตร์การจัดการเกี่ยวกับบุคคล

ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน เพื่อให้งานบรรลุผลตามเป้าหมายขององค์การ

อย่างมีประสิทธิภาพ และ

สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน

3

วิวัฒนาการการบริหารทรัพยากรบุคคล

Cultural Change

of Human Resources

Personnel Administration

Personnel Management

Human Resources

Focus on

Management

Process

4

การบริหารทรัพยากรบุคคล (แนวเดิม)

สรรหา

พัฒนา

รักษาไว้

ใช้ประโยชน์

พ้นจากงาน

5

เป้าหมาย

วิสัยทัศน์

พันธกิจ

HR Capabilities

การกำหนด

ทิศทางการ

ดำเนินงานของ

บุคคล

HR Alignment

การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ (แนวใหม่)

HR Motivation

6

หลักการบริหารทรัพยากรบุคคล

โลกในศตวรรษที่ 21

  • ทั่วโลกจะกลายเป็น “ตลาดการค้าเพียงแห่งเดียว”
  • การแข่งขันของธุรกิจระดับโลก
  • การสื่อสารโทรคมนาคมระดับโลก
  • การเติบโตของการค้าเสรีระหว่างประเทศ
  • การเข้าสู่ “บริการทางการเงิน” ด้วยระบบอิเลคทรอนิกส์

7

8

คือ

การจัดการธุรกิจ

(Management is Business Management)

ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (1999)

9

กลยุทธ์การจัดการธุรกิจ

    • electronics เป็นโครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure)

จะสร้าง “นวัตกรรมใหม่”

    • การมีทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถสูง

10

องค์กรแบบใหม่

    • ยืดหยุ่นสูง
    • มีความเข้าใจอย่างแท้จริงว่าอะไรคือการบูรณาการ มีการ

เชื่อมโยง กลยุทธ์ คน เทคโนโลยีและกระบวนการ

    • วิสัยทัศน์ทั้งหมดต้องชัดเจน
    • โครงสร้างองค์กรแนวราบ สายบังคับบัญชาสั้น ให้อำนาจ

และความรับผิดชอบแก่ผู้ปฏิบัติงาน

11

ผลกระทบต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

    • การลงทุนจะไหลไปสู่แหล่งแรงงานราคาถูกและสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษ
    • กระบวนการผลิตจะปรับไปสู่การผลิตที่ใช้ทุนและเทคโนโลยีชั้นสูง
    • การจ้างงานจะมีมากขึ้นในงานที่ใช้ทักษะฝีมือและกำลังคนที่มี ความสามารถในการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
    • มีการใช้การจ้างเหมาหรือรับช่วงงานมากขึ้น

12

    • การคัดเลือกพนักงานจะเลือกผู้ที่มีมูลค่าทางปัญญาสูง
    • โครงสร้างค่าตอบแทนและการบริหารค่าตอบแทนเน้นที่ ความสามารถ และมุ่งเน้นในผลงานที่เป็นธุรกิจหลักขององค์กร
    • จะมีการนำเทคโนโลยีหรือการใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก (Outsourcing) ในงานที่ไม่มีคุณค่าเพิ่มสูงต่อธุรกิจ

ผลกระทบต่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

(ต่อ)...

13

การเรียกร้อง

ในบริการที่ดีขึ้น

แรงผลักดันที่ทำให้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

รัฐธรรมนูญใหม่

งบประมาณ ค่าใช้จ่ายด้านบุคคลที่สูง

สภาพปัญหาของระบบ

ราชการและข้าราชการ

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

14

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

  • บทบาทหน้าที่ชัดเจน
  • เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ชัดเจน
  • ปฏิบัติโดยมืออาชีพที่มีความเป็นกลาง
  • มอบอำนาจการบริหารจัดการ
  • ข้อมูลกว้างขวาง เพรียบพร้อม

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

15

  • ระบบการตรวจสอบข้อมูลจากภายนอก

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

  • เน้นลูกค้า ผู้รับบริการ
  • ใช้กลไกตลาด

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

  • รูปแบบองค์กรเน้นให้เกิด

ความรับผิดชอบสูง

16

    • การบริหารจัดการภาครัฐ เกือบเหมือน

กับภาคเอกชน

    • การกระจายความรับผิดชอบ
    • มุ่งต่อผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ

และกระบวนการ

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

17

  • แปรรูป/จ้างเหมาให้ภาคอื่นรับงานไป
  • บทบาทและที่มาของภารกิจชัดเจน
  • นำเทคนิคการบริหารของภาคเอกชน

มาปรับใช้

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

  • มีการทำสัญญา (Performance Agreement)

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

18

  • แยกหน่วยนโยบายจากหน่วยปฏิบัติ
  • แยกหน่วยจัดสรรทรัพยากรและผู้ซื้อบริการ

จากหน่วยที่ให้บริการ

  • มีการแข่งขันระหว่างหน่วยให้บริการ

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

  • จัดกลุ่ม/ปรับย้ายภารกิจเพื่อความมี

เอกภาพและประสิทธิภาพ

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

กองทัพหน้า Knowledge Worker

จุดบริการลูกค้า

กลุ่มสนับสนุน

ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายหลัก

  • การบริหารบุคคล
  • งบประมาณ
  • ฐานข้อมูล
  • เทคโนโลยีสารสนเทศ

ฯลฯ

ผู้บริหารระดับสูง

  • กำหนดยุทธศาสตร์
  • จัดสรรทรัพยากร
  • แก้ปัญหา
  • กำกับผลงาน
  • ให้ผลตอบแทนที่

เป็นธรรม

ฝ่ายเสนาธิการ

รูปแบบการจัดองค์กรเพื่อประชาชน

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

ข้าราชการยุคปฏิรูป:มุมมองของนายกรัฐมนตรี

นำเทคโนโลยีมาใช้:

  • E-Government
  • Internet
  • Management

Information System

การสรรหา/จ้างงาน:

  • Lateral Entry
  • Fast track
  • ระบบสอบออก

Culture Change:

  • ทุกภารกิจต้องมีเจ้าภาพ
  • ทำงานเป็นทีม
  • วัฒนธรรมแห่งการช่วยกัน

คนละไม้คนละมือ

  • วัฒนธรรมที่ไร้พรมแดน
  • มุ่งสู่ Outcome มากกว่า Output

พัฒนาบุคลากร:

  • ระดับนักบริหาร:

Modern Management

  • ข้าราชการทั่วไป :

Knowledge Workers

การให้ผลตอบแทน

  • ให้ตามผลงาน

(Performance based)

  • ให้ตามปัญญา ความฉลาด ไม่ใช่ปริญญา

(Pay by wisdom)

ที่มา: สีมา สีมานันท์ “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่” การรถไฟแห่งประเทศไทย 28 พฤษภาคม 2546

21

การบริหารงานทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่

เป็นไปตามระบบ

คุณธรรม

แนวใหม่

พัฒนาคุณภาพชีวิต

คนเก่ง คนดี

เลือกรับราชการ

เป็นไปตาม “แนวนโยบาย

พื้นฐานแห่งรัฐ”

( หมวด 5)

มีเจ้าภาพเรื่องคน

เชื่อมโยงกับทิศทาง

ขององค์การ

22

แกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล

กระจายความรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล

23

ระบบคุณธรรมแนวใหม่ (Redefined Merit Principle)

สรรหา/แต่งตั้งระบบเปิด แข่งขันภายใน/นอกทุกระดับตำแหน่ง

ความเสมอภาคในโอกาสระดับแรกเข้า

สมรรถนะ/ผลงาน/ความประพฤติ

ความรู้ความสามารถ

ความมั่นคง

  • จ้างงานตามผลงาน
  • การพัฒนาคุณภาพชีวิต

(โอกาส/รายได้)

ความมั่นคง

  • จ้างงานตลอดชีพ
  • รายได้สม่ำเสมอ

ความเป็นกลางทางการเมืองในการคุ้มครองระบบคุณธรรม

ความเป็นกลางทางการเมืองในระบบราชการ

เดิม

ใหม่

24

การใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรบุคคล

กำหนดโครงสร้าง

ระบบการจูงใจ

ให้รางวัล

ตอบแทน

จูงใจ

สรรหา

พัฒนา

วางแผนกำลังคน สรรหา แต่งตั้ง

โยกย้าย สับเปลี่ยนหมุนเวียน

กำลังคน

วางแผนพัฒนา

บุคคล สอนงาน

พัฒนาทีมงาน

พัฒนาสายอาชีพ

ออกแบบโครงสร้าง

องค์การ หน้าที่ความ

รับผิดชอบ ออกแบบระบบงาน ระบบ

บริหารจัดการ

ระบบ วิธี

ประเมินผล

ตัวชี้วัด

ความสำเร็จ