ม คอ 3 สิทธิ มนุษย ชน ตามแนว พระพุทธ ศาสนา

หลักสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาท

Article Sidebar

ม คอ 3 สิทธิ มนุษย ชน ตามแนว พระพุทธ ศาสนา

PDF

คำสำคัญ:

สิทธิมนุษยชน หลักธรรม พระพุทธศาสนาเถรวาท

Main Article Content

ณฤณีย์ ศรีสุข

วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง

จิตสุภา แกมทับทิม

วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง

สุธินี ขำรักษ์

วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง

บทคัดย่อ

                สิทธิมนุษยชน (Human Rights) หมายถึง สิทธิพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ตัง้ แต่เกิดจนกระทัง่ ตาย
สามารถจาแนกได้ครอบคลุมสิทธิ 5 ประการ ได้แก่ สิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สิทธิ
ทางสังคม สิทธิทางวัฒนธรรม ขอบเขตของสิทธิมนุษยชนดังที่กล่าวมาข้างต้นนี้ มีที่มาจาก ปฏิญญาสากลว่า
ด้วยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ (Universal Declaration of Human Rights) ในที่นี้ขออธิบายที่มาของ
บ่อเกิดสิทธิมนุษยชน ในฐานะที่เป็นเอกสารหลักขององค์การสหประชาชาติที่ถือเป็นต้นแบบของการค้มุ ครอง
และสงิ่ เสริมสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ได้นาเสนอหลักการสา คัญของสิทธิมนุษยชน
ไว้ด้วย หลักการนี้ถือเป็นสระสา คัญที่ใช้อ้างอิงความเป็นสากลของสิทธิมนุษยชน ไว้ 6 หลักการ คือ 1) เป็น
สิทธิธรรมชาติ ติดตัวมนุษย์มาแต่เกิด (Natural Rights) 2) สิทธิมนุษยชนเป็นสากลและไม่สามารถถ่ายโอนให้
กันได้ (Universality and Inalienability) 3) สิทธิมนุษยชนไม่สามารถแยกเป็นส่วนๆ ว่าสิทธิใดมีความสาคัญ
กว่าอีกสิทธิหนึ่ง (Indivisibility) 4) ความเสมอภาคและห้ามการเลือกปฏิบัติ (Equality and Non-
Discrimination) 5) การมีส่วนร่วมและการเป็นส่วนหนึ่งของสิทธินั้น (Participation and Inclusion) และ 6)
ตรวจสอบได้และใช้หลักนิติธรรม (Accountability and The Rule of Law)
                พระพุทธเจ้าทรงสัง่ สอนให้สรรพสัตว์ ดาเนินชีวิตเพื่อประโยชน์สุข 3 ระดับ คือ ระดับต้น (ทิฏฐธัม
มิกัตถะ) คือ ประโยชน์ปัจจุบัน ระดับกลาง (สัมปรายิกัตถะ) คือ ประโยชน์เบื้องหน้า และ ระดับสูง (ปรมัตถะ)
คือ ประโยชน์สูงสุดอย่างยิ่ง การปฏิบัติฝึกฝนพัฒนาตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ 3 อย่าง ได้แก่ 1) อัตตัตถประโยชน์ ประโยชน์ส่วนตน 2) ปรัตถประโยชน์ ประโยชน์เพื่อ
ผู้อื่น และ 3) อุภยัตถประโยชน์ ประโยชน์ร่วมกันทัง้ สองฝ่าย
               หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็นแนวปฏิบัติที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของชนหมู่มาก โดย
ไม่มีประมาณ ไม่มีการแบ่งแยกเชื้อชาติ สีผิว ชนชั้นวรรณะ ฐานะทางสังคม ภาษาและศาสนา นอกจากนี้
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาทถือว่าเป็ นหลักธรรมที่ลึกซึ้ง เราสามารถนาหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้กับหลักสิทธิมนุษยชนได้ เนื่องจากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส่งเสริม
สัมพันธ์ และเกี่ยวข้องกับหลักสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การปฏิบัติตามหลักโอวาทปาติโมกซึ่งเป็น
หลักธรรมอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ทาให้มนุษย์รู้จักละจากความชัว่ ทัง้ ปวง ทากุศลให้ถึงพร้อม และ
ทา จิตใจให้บริสุทธิ ์ เมื่อมนุษย์ปฏิบัติตามหลักธรรมดังกล่าว ย่อมทา ให้มนุษย์มีความเมตตาต่อกัน เห็นอกเห็น
ใจซึ่งกันและกัน มีสัมมาทิฐิความเห็นชอบ เป็นผู้มีศีล สมาธิ และปัญญา ปฏิบัติต่อกันโดยเคารพศักดิศ์ รีของ
ความเป็นมนุษย์ ย่อมทาให้สังคมเต็มไปด้วยความสุข สงบ และก่อให้เกิดความสุข ความมัน่ คงปลอดภัยต่อ
ชีวิต ทรัพย์สิน นอกจากน้ยี ังก่อให้เกิดสันติภาพแก่มวลมนุษยชาติ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

ฉบับ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (2020): มกราคม - เมษายน 2563

บท

บทความวิชาการ

References

ขุ.จู. (ไทย) 30/673/261-262.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ประยุตฺโต). การสร้างสรรค์ประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, 2535
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธวิธีแก้ปัญหาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย, 2536
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: บริษัทนามมีบุ๊คส์
พับลิเคชัน่ ส์ จา กัด, 2546
ศราวุฒิ ประทุมราช. สิทธิมนุษยชน : รวบรวมสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่สา คัญ.
กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการประสานงานองค์กรสิทธิมนุษยชน (กปส.) และมูลนิธิฟรีดริด เอ
แบร์ท (FES), 2544
เสน่ห์ จามริก. พุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร: สา นักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ, 2545
แสง จันทร์งาม. ประทีบธรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ธีระการพิมพ์, 2544
อลงกรณ์ พลบุตร. เอกสารวิชาการส่วนบุคคล หัวข้อ หลักสิทธิมนุษยชน เรื่อง เหลียวหลังแลหน้าสิทธิ
มนุษยชน. กรุงเทพมหานคร: สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ)
อุดมศักดิ ์ สินธิพงษ์. สิทธิมนุษยชน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สา นักพิมพ์วิญญูชน จา กัด, 2550

หลักสิทธิมนุษยชน มีอะไรบ้าง

สิทธิเด่น ๆ ที่ระบุไว้ในปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน สิทธิต่อชีวิต เสรีภาพและความปลอดภัยของบุคคล การศึกษา เสรีภาพทาง ความคิด มโนธรรมและศาสนา เสรีภาพแห่งความคิดเห็น การแสดงออก การมีงานท า การ แสวงหาและได้รับการลี้ภัย ในประเทศอื่น (เป็นต้น)

พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนอย่างไร

หลักธรรมที่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในพระพุทธศำสนำ เป็นแนวปฏิบัติที่ถือได้ว่ำเป็นไปเพื่อ ประโยชน์สุขของชนหมู่มำกโดยไม่มีประมำณ ไม่แบ่งแยกเชื้อชำติ ฐำนะทำงสังคม ภำษำและศำสนำ เช่น หลักศรัทธำ ควำมเชื่อ หลักกรรม หลักเบญจศีลและเบญจธรรม เป็นต้น จัดเป็นหลักกำรปฏิบัติที่ มีจุดมุ่งหมำยเพื่อประโยชน์สุขแก่ผู้ปฏิบัติ ซึ่งมีอยู่หลำย ...

สิทธิมนุษยชนให้ความสําคัญกับเรื่องใด

สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียม กัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่ง 9. ราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ

สิทธิมนุษยชนตามแนวพระพุทธศาสนาที่เด่นที่สุดคืออะไร

สิทธิมนุษยชนในพระพุทธศาสนา ได้แก่ สิทธิที่ตนเองจะพึงได้รับจาก การกระทำของตนเอง ที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขของกฎแห่งกรรม กฎแห่งกรรมคือกฎของธรรมชาติ ที่เป็นทั้งฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว ถ้าเป็นฝ่ายดีเรียกว่ากุศล ถ้าเป็นฝ่ายชั่วเรียกว่าอกุศล กุศลและอกุศลนี้เองที่เป็นสิทธิมนุษยชนในพระพุทธศาสนา เป็นผลของการกระทำที่ผู้กระทำแล้วจะต้องได้ ...